เอกสารประกอบการจัดโครงการเล่าขานประวัติศาสตร์ “บรมพุทธาราม ย้อนรำฤกวันวารย่านป่าตอง”

Page 11

๔I

ตรีณิศก ลงมือทามุก ๖ เดือน ๒๔ วันสาเร็จ พระราชทานช่ า งผู้ ไ ด้ ท าการมุ ก ทั้ ง ปวง เสื้อผ้ารูปพรรณทองเงินและเงินตราเป็นอันมาก เลี้ยงวันแล ๒ เพลา ค่ า เลี้ ย งมิ ไ ด้ คิ ด เข้าในพระราชทานด้วย คิดแต่บาเหน็จประตู หนึ่งเป็นเงินตรา ๓๐ ชั่ง...”๗ ใน พ.ศ.๒๔๙๙ กรมศิ ล ปากร ได้ ท าการขุ ด แต่ ง โบราณสถาน วั ด บร ม พุทธารามเพื่อตรวจค้นหาหลักฐานเดิม ซึ่งได้พบกระเบื้ อ งเคลื อ บจ านวนมาก จนถึ ง มาในปี พ.ศ.๒๕๒๔-๒๕๒๖ วิ ท ยาลั ย ครู พระนครศรี อ ยุ ธ ยายื่ น ความประสงค์ ต่ อ กรมศิ ล ปากรเพื่ อ บู ร ณะพร ะอุ โ บสถบางส่ ว น ได้ แ ก่ พื้ น พระอุ โ บสถ ฐาน ชุ ก ชี พระประธาน มุขโถงหน้าหลัง และบันไดขึ้นลงทางทิศเหนือและทิ ศ ใต้ ๘ และต่ อ มาใน ปี พ.ศ.๒๕๓๓ วิ ท ยา ลั ย ครู พระน ครศรี อ ยุ ธ ยาได้ ป รั บ ปรุ ง ภู มิทั ศ น์ ข องวั ด บร ม พุทธารามอีกครั้ง โดยในปั จ จุ บั น วั ด บรมพุ ท ธารามเป็ น โบราณสถานขึ้ น ทะเบี ย น ประกาศในร าชกิ จ จา นุ เ บกษาเล่ มที่ ๖๐ ตอน ที่ ๓๙ ลงวั น ที่ ๓๐ กั น ย าย น พ.ศ.๒๔๘๖

ตาแหน่งที่ตั้งในผังเมือง วัดบรมพุทธารามตั้ง อยู่ ภ ายในเกาะเมื อ งพระนครศรี อ ยุ ธ ยาทางด้ า นใต้ ในบริเวณย่านป่าตอง ซึ่งเป็นพื้นที่สาคัญทางเศรษฐกิจเพราะเป็นย่านตลาดขายของสด เช้ า -เย็ น ต าแหน่ ง ของวั ด ตั้ ง อยู่ ร ะหว่ า งคลองฉะไกรน้ อ ยและถนนหลวงหรื อ ถนนป่าตอง ซึ่งเป็นเส้นทางหลักของเมืองที่จะมุ่งตรงไปยังประตูชัย ประตู เ มื อ งส าคั ญ ทางทิศใต้ของเกาะเมืองพระนครศรีอยุธยา

คณะกรรมการจัดพิมพ์เอกสารทางประวั ติศาสตร์ วั ฒ นธรรม และโบราณคดี ส านั ก นายกรัฐมนตรี, ประชุมจดหมายเหตุสมัยอยุธยาภาค ๑, หน้า ๕๗. ๘ ชมรมโบราณคดีและประวัติศาสตร์ท้องถิ่น วิทยาลัยครูพระนครศรีอยุ ธ ยา, สามร้ อ ยเจ็ ด สิบปีบรมพุทธาราม (วิทยาลัยครูพระนครศรีอยุธยา, ๒๕๓๓). หน้า ๑๕-๑๖.


Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.