เอกสารประกอบพิธีหล่อเทียน เนื่องในวันเข้าพรรษา

Page 7

๖I

การเข้าพรรษาของพระสงฆ์ตามพระวินัยปิฎก ตามพระวินัย พระสงฆ์รูปใดไม่เข้าจ่าพรรษาอยู่ ณ ที่แห่งใดแห่งหนึ่ง พระ พุทธองค์ทรงปรับอาบัติแก่ พระสงฆ์รูปนั้นด้วยอาบัติทุกกฎ และพระสงฆ์ที่อธิษฐาน รับค่าเข้าจ่าพรรษาแล้วจะไปค้างแรมที่อื่นไม่ได้ แต่ถ้าหากเดินทางออกไปแล้วและไม่ สามารถกลับมาในเวลาที่ก่าหนด คือ ก่อนรุ่งสว่าง ก็จะถือว่าพระภิกษุรูปนั้น "ขาด พรรษา" และต้ องอาบั ติทุ กกฎเพราะรับ ค่ านั้ น รวมทั้ง พระสงฆ์ รูป นั้ นจะไม่ไ ด้รั บ อานิสงส์พรรษา ไม่ได้อานิสงส์กฐินตามพระวินัย และทั้งยังห้ามไม่ให้นับพรรษาที่ขาด นั้นอีกด้วย

ประเภทของการเข้าพรรษาของพระสงฆ์ การเข้าพรรษาตามพระวินัยแบ่งได้เป็น ๒ ประเภท คือ ปุริมพรรษา (เขียนอีกอย่างว่า บุริมพรรษา) คือ การเข้าพรรษาแรก เริ่ม ตั้งแต่วันแรม ๑ ค่​่า เดือน ๘ (ส่าหรับปีอธิกมาส คือ มีเดือน ๘ สองหน จะเริ่มในวัน แรม ๑ ค่​่า เดือน ๘ หลัง) จนถึงวันขึ้น ๑๕ ค่​่า เดือน ๑๑ หลังจากออกพรรษาแล้ว พระที่อยู่จ่าพรรษาครบ ๓ เดือน ก็มีสิทธิที่จะรับ กฐิน ซึ่ง มีช่วงเวลาเพียงหนึ่งเดือน นับตั้งแต่วันแรม ๑ ค่​่า เดือน ๑๑ ถึงขึ้น ๑๕ ค่​่า เดือน ๑๒ ปั จ ฉิ ม พรรษา คื อ การเข้ า พรรษาหลั ง ใช้ ในกรณี ที่ พ ระภิ ก ษุ ต้ อ งเดิ น ทางไกลหรือมีเหตุสุดวิสัย ท่าให้กลับมาเข้าพรรษาแรกในวันแรม ๑ ค่​่า เดือน ๘ ไม่ ทัน ต้องรอไปเข้าพรรษาหลัง คือวันแรม ๑ ค่​่า เดือน ๙ แล้วจะไปออกพรรษาในวัน ขึ้น ๑๕ ค่​่า เดือน ๑๒ ซึ่งเป็นวันหมดเขตทอดกฐินพอดี ดังนั้นพระภิกษุที่เข้าปัจฉิม พรรษาจึง ไม่ มีโอกาสได้รับ กฐิน แต่ ก็ได้พ รรษาเช่นเดียวกั บพระที่ เข้าปุ ริมพรรษา เหมือนกัน


Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.