20180417 amatar ar2017 th

Page 46

44

รายงานประจ�ำปี 2560

รองลงมาเป็นกิจการกลุม่ อิเล็กทรอนิกส์อจั ฉริยะ โดยหากจ�ำแนกตามพืน้ ที่ จะพบว่าอยูใ่ นพืน้ ที่ EEC คือ ฉะเชิงเทรา ชลบุรี และระยอง จ�ำนวน 259 โครงการคิดเป็นมูลค่าเงินลงทุน 310,337 ล้านบาท ในขณะทีค่ ณะกรรมการส่งเสริมการลงทุนได้สรุปรายงานว่าโครงการทีย่ นื่ ขอรับการส่งเสริมการลงทุนในปี 2560 มีจ�ำนวนทั้งสิ้น 1,456 โครงการนั้น ประกอบด้วยโครงการที่ลงทุนจากต่างประเทศ 100% จ�ำนวน 502 โครงการ คิดเป็น เงินลงทุน 111,320 ล้านบาท เป็นโครงการร่วมลงทุนระหว่างไทยและต่างประเทศ จ�ำนวน 474 โครงการ คิดเป็นเงินลงทุน 379,040 ล้านบาท และโครงการที่ลงทุนจากไทย 100% จ�ำนวน 480 โครงการ คิดเป็นเงินลงทุน 151,620 ล้านบาท โดยญี่ปุ่นเป็นประเทศที่มีปริมาณเงินลงทุนในการยื่นขอส่งเสริมสูงที่สุด รองลงมาคือ สิงคโปร์ และอันดับที่สาม คือ จีน มีปริมาณเงินลงทุนในการยื่นขอส่งเสริมคิดเป็น ร้อยละ 47, 14 และ 10 ของมูลค่าการลงทุนจากต่างชาติทั้งหมด ตามล�ำดับ หากพิจารณาในแง่ของจ�ำนวนโครงการญีป่ นุ่ มีจำ� นวนโครงการทีย่ นื่ ขอรับการส่งเสริมมากทีส่ ดุ คิดเป็นร้อยละ 31 ของโครงการลงทุนจากต่างชาติทั้งหมด อีกทั้งส�ำนักข่าว U.S. News & World Report ซึ่งเป็นส�ำนักข่าวที่เผยแพร่ข่าว ความเห็น และผลการจัดอันดับ ต่างๆ ที่ได้รับความนิยมและมีอิทธิพลต่อชาวอเมริกัน ได้เผยแพร่ผลการจัดอันดับจากผลการส�ำรวจความเห็นของคนทั่ว โลกราว 21,000 คน โดยไทยได้รับการจัดอันดับให้ครองแชมป์อันดับ 1 จากทั้งหมด 80 ประเทศทั่วโลก “ประเทศที่เหมาะ สมส�ำหรับการเริ่มธุรกิจ” โดยต่อเนื่องเป็นปีที่สอง โดยเหตุผลหลักมาจากการที่กระทรวงพาณิชย์ได้ลดขั้นตอนการจด ทะเบียนจัดตั้งธุรกิจของไทยและลดค่าใช้จ่ายของผู้ประกอบการลง นอกจากนี้ ไทยยังได้รับการจัดอันดับ “เป็นประเทศที่ น่าลงทุน” เป็นอันดับที่ 8 จาก 25 ประเทศทั่วโลก รายงานผลการจัดอันดับดังกล่าวถือเป็นอีกสัญญาณหนึง่ ทีย่ นื ยันมุมมองของต่างชาติวา ่ ประเทศไทยได้ปรับปรุง สภาพแวดล้อมให้เอื้อต่อการลงทุนตามนโยบายประเทศไทย 4.0 ของรัฐบาล เรื่องนี้ถือว่ามีความส�ำคัญต่อการดึงดูดนัก ลงทุนต่างชาติให้เข้ามาท�ำธุรกิจในไทยเป็นอย่างยิ่ง ผลการจัดอันดับนี้ก็ยังสอดคล้องกับผลการจัดอันดับความยากง่ายใน การประกอบธุรกิจ (Ease of Doing Business: EoDB) ของธนาคารโลก ประจ�ำปี 2561 เมื่อวันที่ 1 พฤศจิกายน 2560 ที่จัดไทยอยู่ในอันดับดีขึ้นจากเดิมอยู่ที่อันดับ 46 ในปี 2560 เป็นอันดับที่ 26 จาก 190 ในปี 2561

2. ภาวะเศรษฐกิจโลก กองทุนการเงินระหว่างประเทศ (International Monetary Fund: IMF) คาดว่าเศรษฐกิจโลกในปี 2560 จะ ขยายตัวร้อยละ 3.7 เพิม่ ขึน้ จากปี 2559 ทีข่ ยายตัวร้อยละ 3.2 เนือ่ งจากภาพรวมเศรษฐกิจโลกฟืน้ ตัวดีขนึ้ เศรษฐกิจหลาย ประเทศขยายตัวเพิ่มขึ้นจากปี 2559 ในช่วงแรกของปี 2560 เศรษฐกิจของประเทศต่างๆ ขยายตัวได้ค่อนข้างต�่ำ แต่ค่อยๆ ปรับตัวดีขึ้นตามการฟื้นตัวของเศรษฐกิจโลก และการส่งออกที่ขยายตัวตามความต้องการสินค้าในตลาดโลกที่เพิ่มมากขึ้น ซึ่งส่งผลให้ภาคการผลิตของแต่ละประเทศปรับตัวเพิ่มขึ้นเมื่อเทียบกับปีก่อน และอัตราการว่างงานยังคงอยู่ในระดับต�่ำ โดยภาพรวมเศรษฐกิจของโลกยังคงขยายตัวแม้วา่ เศรษฐกิจของหลายๆ ประเทศจะชะลอตัวจากปี 2558 ก็ตาม เช่นในส่วน เศรษฐกิจของประเทศสหรัฐฯ ยังคงขยายตัว โดยปัญหาการว่างงานลดลงอย่างต่อเนื่อง เศรษฐกิจสหภาพยุโรปขยายตัวแต่ ยังคงมีปญ ั หาอัตราการว่างงานอยูใ่ นระดับสูงเช่นเดียวกับปีทผี่ า่ นมา เศรษฐกิจญีป่ นุ่ ขยายตัวเล็กน้อย เศรษฐกิจประเทศจีน ยังคงชะลอตัวต่อเนื่อง ฯลฯ จากความเชื่อมั่นต่อการฟื้นตัวของเศรษฐกิจและการเงินภายในประเทศ ส่งผลให้ในช่วง ปลายปี 2560 บางประเทศมีการปรับขึ้นอัตราดอกเบี้ยนโยบาย โดยธนาคารกลางของเกาหลีใต้มีมติปรับขึ้นอัตราดอกเบี้ย นโยบายสู่ระดับร้อยละ 1.50 จากระดับร้อยละ 1.25 (เป็นการปรับขึ้นอัตราดอกเบี้ยครั้งแรกในรอบ 6 ปี นับตั้งแต่เดือน มิถนุ ายน 2554) และธนาคารกลางสหรัฐฯ ได้มมี ติปรับขึน้ อัตราดอกเบีย้ นโยบายร้อยละ 0.25 จากระดับร้อยละ 1.00-1.25 เป็น ร้อยละ 1.25-1.50 อย่างไรก็ตาม ประเทศต่างๆ ส่วนใหญ่ยังคงรักษาอัตราดอกเบี้ยนโยบายเพื่อรักษาเสถียรภาพ ทางเศรษฐกิจและอัตราเงินเฟ้อให้อยู่ในระดับเป้าหมาย ส�ำหรับแนวโน้มเศรษฐกิจโลกในปี 2561 กองทุนการเงินระหว่าง ประเทศคาดว่าจะขยายตัวที่ร้อยละ 3.9


Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.