meakong climate change

Page 10

ด้ำนนโยบำย รัฐบำลกัมพูชำได้ให้สัตยำบรรณกับ UNFCCC (United Nations Framework Convention on Climate Change) ตั้งแต่ปี 2538 และร่วมลงนำมในพิธีสำรเกียวโต (Kyoto Protocol) ในปี 2545 อีกทั้งยังได้จัดตั้งสำำนักงำน Cambodian Climate Change Office (CCCO) ภำยใต้กระทรวงสิ่ง แวดล้อม ตั้งแต่ปี 2546 เพื่อทำำหน้ำที่รับผิดชอบกำรดำำเนินงำนของกรอบข้อตกลงของ UNFCCC โดยหนึ่งใน ภำรกิจนั้นก็คือ กำรจัดทำำแผนปฏิบัติกำรปรับตัวของประเทศ นโยบายการปรับตัวของเวียดนาม เวียดนำมเป็นหนึ่งใน 5 ของประเทศที่จะได้รับผลกระทบจำกกำรเปลี่ยนแปลงของภูมิอำกำศมำกที่สุด ของโลก เนื่องจำกเวียดนำมมีพื้นที่ชำยฝั่งทอดยำว จึงต้องเผชิญกับพำยุ ไต้ฝุ่นและควำมแปรปรวนของฝน มำกกว่ำที่อื่น รัฐบำลเวียดนำมได้ให้สัตยำบรรณรับรอง UNFCCC ตั้งแต่ปี 2537 และร่วมลงนำมในพิธีสำร เกียวโตในปี 2545 ซึ่งหน่วยงำนที่รับผิดชอบงำนในด้ำนนี้ คือ กระทรวงทรัพยำกรธรรมชำติและสิ่งแวดล้อม แต่แผนงำนของรัฐบำลส่วนใหญ่มุ่งไปในเรื่องกำรลดกำรปล่อยก๊ำซเรือนกระจก ไม่ใช่กำรปรับตัว แม้ว่ำจะมี ควำมพยำยำมในกำรทำำแผนงำนต่ำงๆ ทีพ่ ูดถึงกำรปรับตัวอยู่บ้ำง จนในปี 2551 จึงได้มีแผนปฏิบัติกำรปรับ ตัวเกิดขึ้น คือ National Target Program to Respond to Climate Change ข้อเสนอแนะต่อนโนบายปรับตัว แม้ว่ำประเทศในลุ่มนำ้ำโขงจะได้รับทุนสนับสนุนจำกองค์กรนำนำชำติในเรื่องกำรปรับตัวจำกหลำย หน่วยงำน แต่กำรดำำเนินงำนก็ยังประสบปัญหำขำดกำรมองในเชิงของภำพรวม ส่วนใหญ่เป็นกำรมองปัญหำ แบบแยกส่วนในลักษณะของภำคเศรษฐกิจต่ำงๆ (sectoral approach) และขำดกำรประสำนงำนระหว่ำงภำค ส่วนต่ำงๆ ที่เกี่ยวข้อง ปัญหำสำำคัญที่พบในเชิงนโยบำยมีอยู่ 2 เรื่อง คือ ประกำรแรก ควรพิจำรณำปัจจัยอื่นๆ ทีท่ ำำให้เกิด กำรเปลี่ยนแปลงและผลกระทบต่อลุ่มนำ้ำและวัฏจักรนำ้ำ เช่น แผนพัฒนำไฟฟ้ำพลังนำ้ำในแม่นำ้ำโขงตอนบน ซึ่ง จะส่งผลอย่ำงมำกต่อกำรเปลี่ยนแปลงทรัพยำกรนำ้ำทั้งในโตนเลสำบและสำมเหลี่ยมปำกแม่นำ้ำโขง ทำำให้ต้องมี กำรพิจรณำวำงแผนเรื่องนี้ไปควบคู่กันกับผลกระทบจำกกำรเปลี่ยนแปลงภูมิอำกำศด้วย รวมทั้งโครงกำร พัฒนำในระดับท้องถิ่น เช่น กำรชลประทำนหรือกำรสร้ำงสิ่งก่อสร้ำงในกำรควบคุมนำ้ำ ที่อำจส่งผลกระทบต่อ กำรไหลของนำ้ำ ก็จำำเป็นจะต้องได้รับกำรศึกษำเพิ่มเติมให้ครอบคลุมด้วยเช่นขึ้น ประกำรที่สอง กำรปรับตัวนั้นเกี่ยวข้องกับปัจจัยด้ำนสังคม เศรษฐกิจ สถำบัน และกำรเมือง ซึ่งต้องมี กำรวำงแผนรับมือทั้งระยะสั้นและระยะยำว และควรต้องพิจำรณำเรื่องกำรปรับตัวว่ำเป็นส่วนหนึ่งของกำร พัฒนำประเทศโดยรวม ไม่ใช่มองว่ำเป็นแค่ปัญหำด้ำนสิ่งแวดล้อม เช่นดังที่รัฐบำลในทั้งสองประเทศมองอยู่ ข้อเสนอแนะของนักวิจัยต่อกำรจัดทำำนโยบำยและยุทธศำสตร์กำรปรับตัวเพื่อรับมือกับกำร เปลี่ยนแปลงของภูมิอำกำศมีอยู่ 6 ข้อดังนี้

หน้ำ 10 จำก 12


Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.