eco165

Page 1


openbooks


พิมพ์ครั้งที่ 1 กุมภาพันธ์ 2553 เศรษฐธรรม รวมบทปาฐกถากีรตยาจารย์ แห่งเศรษฐศาสตร์ธรรมศาสตร์ เลขมาตรฐานสากลประจําหนังสือ 978-974-8233-93-2 ราคา 200 บาท บรรณาธิการบริหาร ภิญโญ ไตรสุริยธรรมา

สํานักพิมพ์ openbooks 286 ถนนพิชัย แขวงถนนนครไชยศรี เขตดุสิต กรุงเทพฯ 10300 โทรศัพท์ 0-2669-5145-6 โทรสาร 0-2669-5146 www.onopen.com email: onopenon@yahoo.com จัดจําหน่าย บริษัท เคล็ดไทย จํากัด 117-119 ถนนเฟื่องนครตรงข้ามวัดราชบพิธ กรุงเทพฯ 10200 โทรศัพท์ 0-2225-9536-40 โทรสาร 0-2222-5188

บรรณาธิการ สิทธิกร นิพภยะ บรรณาธิการเล่ม กิตติพงศ์ สนธิสัมพันธ์ พนิต วัฒนกูล ออกแบบปกและรูปเล่ม นุสรา ประกายพิสุทธิ์ ข้อมูลทางบรรณานุกรมของสำ�นักหอสมุดแห่งชาติ National Library of Thailand Cataloging in Publication Data เศรษฐธรรม : รวมบทปาฐกถากีรตยาจารย์แห่งเศรษฐศาสตร์ธรรมศาสตร์.-- กรุงเทพฯ : โอเพ่นบุ๊กส์, 2553. 288 หน้า. 1. เศรษฐศาสตร์--รวมเรื่อง. I. ชื่อเรื่อง. 330 ISBN 978-974-8233-93-2


สารบัญ หน้า 4 :: คำ�นำ� หน้า 8 :: Official Intervention in Forward Foreign Exchange Market and the Financial Loss for the Case of the Bank of Thailand in the 1997 Currency Crisis — รศ.ดร.สุพจน์ จุนอนันตธรรม หน้า 62 :: จุดยืนของพุทธเศรษฐศาสตร์กับปัญหาความยากจน (ความทุกข์) — ศ.ดร.อภิชัย พันธเสน หน้า 98 :: การใช้พลังงานกับเศรษฐกิจไทย — ศ.ดร.พรายพล คุ้มทรัพย์ หน้า 150 :: เศรษฐศาสตร์ว่าด้วยความทุกข์ — ศ.ดร. ปราณี ทินกร หน้า 238 :: นโยบายการคลังเพื่อความมั่นคง — รศ.ดร.ภาณุพงศ์ นิธิประภา


4

คำ�นำ�

เนื่ อ งในโอกาสครบรอบ 60 ปี ข องการสถาปนาคณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิ ท ยาลั ย ธรรมศาสตร์ คณะมี ค วามภู มิ ใ จเป็ น อย่ า งยิ่ ง ที่ ไ ด้ ร วบรวมผลงานอั น ทรงคุ ณ ค่ า ของกี ร ตยาจารย์ ... อาจารย์ ผู้เป็นเกียรติแห่งคณะเศรษฐศาสตร์และแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ตั้ ง แต่ ปี 2543 จนถึ ง ปั จ จุ บั น คณะเศรษฐศาสตร์ มี อ าจารย์ ที่ได้รับการยกย่องเป็นกีรตยาจารย์แห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ สาขา สังคมศาสตร์ จำ�นวน 6 ท่าน คือ รองศาสตราจารย์ ดร.สุพจน์ จุนอนันตธรรม ศาสตราจารย์รังสรรค์ ธนะพรพันธุ์ ศาสตราจารย์ ดร.อภิชัย พันธเสน ศาสตราจารย์ ดร.พรายพล คุม้ ทรัพย์ ศาสตราจารย์ ดร.ปราณี ทินกร และรองศาสตราจารย์ ดร.ภาณุพงศ์ นิธิประภา ทุกท่านมีความเป็นครู มีผลงานวิชาการโดดเด่น ก่อให้เกิดประโยชน์ตอ่ ประเทศและวงการวิชาการ สังคมศาสตร์ของไทยอย่างต่อเนือ่ ง ทัง้ ยังมีจดุ ยืนทีม่ นั่ คง คือ “เศรษฐธรรม” เป็นนักเศรษฐศาสตร์ทเี่ น้นการใช้ประโยชน์แห่งศาสตร์เพือ่ ความจริง ความ ถูกต้อง และความเป็นธรรม ศาสตราจารย์ ดร.ป๋วย อึง๊ ภากรณ์ เคยกล่าวถึง “เศรษฐธรรม” หรือ ธรรมะทางเศรษฐกิจ ธรรมะทางเศรษฐกิจที่ส�ำ คัญคือความเป็นธรรม ซึ่ง เศรษฐธรรม :: รวมบทปาฐกถากีรตยาจารย์แห่งเศรษฐศาสตร์ธรรมศาสตร์


5

คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ได้ทำ�หน้าที่นี้มาตลอด 60 ปี ผลงานของกีรตยาจารย์ทุกท่านเป็นประจักษ์พยานในความข้อนี้ บทความของรองศาสตราจารย์ ดร.สุพจน์ จุนอนันตธรรม กีรตยาจารย์แห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ สาขาสังคมศาสตร์ ประจำ�ปี 2543 กล่าวถึงบทบาทของธนาคารแห่งประเทศไทยในช่วงวิกฤตเศรษฐกิจปี 2540 ในการแทรกแซงตลาดอัตราแลกเปลี่ยนล่วงหน้า และประมาณการ ความสูญเสียทางการเงินจากการแทรกแซงดังกล่าว บทความชิ้นนี้จึง บันทึกประวัติศาสตร์หน้าสำ�คัญของเหตุการณ์ และเป็นบทเรียนของการ บริหารเศรษฐกิจมหภาคของประเทศไทย ศาสตราจารย์ ดร.อภิชัย พันธเสน กีรตยาจารย์แห่งมหาวิทยาลัย ธรรมศาสตร์ สาขาสั ง คมศาสตร์ ประจำ � ปี 2545 ให้ มุ ม มองเรื่ อ ง ประชาธิปไตยกับการขจัดความยากจนจากจุดยืนของพุทธเศรษฐศาสตร์ ซึ่งมองความยากจนว่ามีความหมายลึกซึ้งกว่าการไม่มีเงิน ความยากจน จึงมีความหมายใกล้เคียงกับความทุกข์ และความสุขที่แท้จริงคือการ มีปัญญา การแก้ปัญหาความยากจนจึงต้องระดมทรัพยากรจากทุกภาค ส่วน ทั้งรัฐ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น สถาบันทางศาสนา ปัญญาชน และปราชญ์ชาวบ้าน มิใช่เพื่อให้เกิดรายได้ที่เพียงพอ แต่เพื่อให้เกิดทาง สายกลางในการดำ�รงชีวิต สมดุลกับสภาพแวดล้อมและระบบนิเวศ และ สร้างระบบเศรษฐกิจที่ไม่ทำ�ลายตัวมนุษย์เอง ศาสตราจารย์ ดร.พรายพล คุ้ ม ทรั พ ย์ กี ร ตยาจารย์ แ ห่ ง มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ สาขาสังคมศาสตร์ ประจำ�ปี 2547 ได้วิเคราะห์ การใช้พลังงานกับความสัมพันธ์ทางเศรษฐกิจในสองทศวรรษที่ผ่านมา บทวิเคราะห์ได้สรุปบทเรียนเรื่องการพึ่งพาพลังงานนำ�เข้า ความเข้มข้น ของการใช้พลังงาน และการใช้พลังงานในสาขาเศรษฐกิจต่างๆ ของไทย งานชิ้ น นี้ ชี้ ว่ า การใช้ พ ลั ง งานตอบสนองต่ อ ราคาอย่ า งสู ง ผลจากการ วิเคราะห์นำ�ไปสู่การเสนอแนะแนวทางในการกำ�หนดนโยบายเพื่อความ ยั่งยืนด้านพลังงานของประเทศ คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิ สุพทจน์ยาลัจุยนธรรมศาสตร์ อนันตธรรม


6

ศาสตราจารย์ ดร.ปราณี ทินกร กีรตยาจารย์แห่งมหาวิทยาลัย ธรรมศาสตร์ สาขาสังคมศาสตร์ ประจำ�ปี 2550 ได้เปลี่ยนมุมมองการ วิเคราะห์ปญ ั หาเศรษฐกิจ โดยมองจากมุมของความทุกข์แทนทีจ่ ะมองจาก มุมของความสุขอย่างทีท่ ฤษฎีเศรษฐศาสตร์ได้นำ�เสนออยูท่ วั่ ไป บทความนี้ วิเคราะห์นโยบายเศรษฐกิจมหภาค โดยเฉพาะในด้านการเจริญเติบโตการ รักษาเสถียรภาพทางเศรษฐกิจ และการจ้างงาน ว่าควรจะเป็นเช่นไร บท สรุปชีว้ า่ นโยบายบางเรือ่ งยังส่งผลไม่ทวั่ ถึงผูท้ กุ ข์ยาก และนโยบายมหภาค ที่มุ่งลดความทุกข์ในด้านหนึ่ง อาจสร้างความทุกข์ที่รุนแรงกว่าในอีก ด้านหนึ่ง ในขณะที่บทปาฐกถาของกีรตยาจารย์ท่านแรกของคณะเศรษฐศาสตร์เขียนขึ้นจากเหตุวิกฤตเศรษฐกิจไทยปี 2540 บทปาฐกถาของ กีรตยาจารย์ท่านล่าสุด มีที่มาจากเหตุวิกฤตเศรษฐกิจโลก ปี 2551-2552 ซึ่งมีผลกระทบต่อเศรษฐกิจไทย รองศาสตราจารย์ ดร.ภาณุพงศ์ นิธิประภา กีรตยาจารย์แห่ง มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ สาขาสังคมศาสตร์ ประจำ�ปี 2551 วิเคราะห์ นโยบายการคลังเพื่อความมั่นคงทางเศรษฐกิจในช่วงวิกฤตเศรษฐกิจ ว่าจะสามารถก่อให้เกิดความยั่งยืนในการฟื้นตัวของเศรษฐกิจได้หรือไม่ มีนโยบายทางเลือกอื่นที่ดีกว่านี้หรือไม่ และผลกระทบของการใช้งบ ประมาณเพื่อกระตุ้นเศรษฐกิจเป็นอย่างไร บทปาฐกถาชี้ว่า ความสำ�เร็จ ของการกระตุ้นเศรษฐกิจอยู่ที่การสร้างความเชื่อมั่น ซึ่งขึ้นอยู่กับวินัย ทางการคลัง ประสิทธิภาพ และความเป็นธรรม ทั้งนี้ ผลกระทบสุดท้าย ของการใช้นโยบายการคลังเพื่อกระตุ้นเศรษฐกิจคือ ภาระภาษีที่จะกลับ สู่ประชาชน บทสรุปจากผลงานของกีรตยาจารย์ทงั้ 5 ท่านคือปัญหาเศรษฐกิจ มิอาจจบสิ้น ปัญหาความทุกข์ ความยากจน และความผิดพลาด ยังคง วนเวียนอยู่ แต่ในอีกด้านหนึ่ง การหาทางออกควรยึดเป้าหมายหลัก คือ ปัญญา ประสิทธิภาพ และความเป็นธรรม เศรษฐธรรม :: รวมบทปาฐกถากีรตยาจารย์แห่งเศรษฐศาสตร์ธรรมศาสตร์


7

คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิ ท ยาลั ย ธรรมศาสตร์ หวั ง เป็ น อย่างยิ่งว่า ผลงานอันทรงคุณค่าของกีรตยาจารย์ทุกท่าน นอกจากจะ เป็นการจารึกประวัตศิ าสตร์เศรษฐกิจไทยและแนวคิดของนักเศรษฐศาสตร์ ชั้นครูในช่วงเวลาหนึ่ง ยังเป็นตัวอย่างให้นักเศรษฐศาสตร์ไทยรุ่นหลัง ตระหนั ก ถึ ง บทบาทในการรั ก ษาและสื บ ทอด “เศรษฐธรรม” เพื่ อ ให้ เศรษฐศาสตร์เป็นศาสตร์ที่ก่อประโยชน์แก่สังคมอย่างสร้างสรรค์ สืบค้น ความเป็นจริงให้ปรากฏอย่างเป็นระบบ และชี้แนวทางเพื่อความถูกต้อง และความเป็นธรรมในสังคมอย่างแท้จริง ด้วยจิตคารวะ

รศ.ดร.ปัทมาวดี ซูซูกิ คณบดี

คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิ สุพทจน์ยาลัจุยนธรรมศาสตร์ อนันตธรรม


8

1

Official Intervention in Forward Foreign Exchange Market and the Financial Loss for the Case of the Bank of Thailand in the 1997 Currency Crisis

ปาฐกถาเนือ่ งในโอกาสรับตำ�แหน่งกีรตยาจารย์แห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ สาขาสังคมศาสตร์ ประจำ�ปี 2543 เศรษฐธรรม :: รวมบทปาฐกถากีรตยาจารย์แห่งเศรษฐศาสตร์ธรรมศาสตร์


9

รองศาสตราจารย์ ดร.สุพจน์ จุนอนันตธรรม กีรตยาจารย์แห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ สาขาสังคมศาสตร์ ประจำ�ปี 2543

สุพจน์ จุนอนันตธรรม


10

1. Introduction

The 1997 financial crises (currency and banking; sometimes called the twin crisis) in East and Southeast Asia, together with their severe economic consequences in these countries, have led to substantial literature on the causes, onsets, evolutions, and economic consequences, as well as the appropriate (or inappropriate) policy responses both at the level of the domestic authorities in the crises countries and the international organizations, notably the policy prescriptions as the conditionality for an assistance in the IMF programs. The vast literature attempts to provide a better understanding of the causes and consequences of the economic crisis. Different causes of the crises require, of course, different policy responses. A better understanding is then essential so that and similar future problems can be properly and timely managed at a lower cost. Though it is not the objective of this paper to run through a review of this literature, it is useful to the later analysis of this paper to provide a very short reference to some aspects of their important theoretical analyses. เศรษฐธรรม :: รวมบทปาฐกถากีรตยาจารย์แห่งเศรษฐศาสตร์ธรรมศาสตร์


11

Central to the analysis of the financial crises in East Asia is the cause of speculative attacks on the fixed or semi-fixed exchange rate regimes; for example, Thailand in 1996-1997. There are two general primary explanations of a currency crisis. The first explanation is usually known as the first-generation model. The argument is based on the deterioration in economic fundamentals of an economy leading to a crisis in its external account. In our particular case of Thailand, there were large and long-accumulated current account deficits and hence substantial private external debt financed by relatively large private and short-term portfolio (including bank) finances under the rapid financial liberalization in the capital account. This eventually leads to a currency crisis and its speculative attacks when it is perceived that a large current account deficit can no longer be financed by external sources.1 The second and alternative explanation or the so-called second-generation model is based on the self-fulfilling prophecy. A currency crisis can still occur in a country even without unsound long-term economic fundamentals. But speculators think that the currency is in a crisis. So, they prey on it in an individually rational self-fulfilling expectation that the currency is going to be devalued. The country under attack is then led finally to a lower-level (bad) equilibrium under a possible “multiple equilibria” condition.2 This is See Krugman (1979) who cited the on-going fiscal deficit leading to sustained reserve losses and eventual exchange rate speculation and abandonment of a fixed exchange rate. But, the large annual current account deficit in the case of Thailand, due to a very large private saving-investment gap, was financed principally by private short-term capital inflows, which could potentially and abruptly reverse when private expectations changed. 1

สุพจน์ จุนอนันตธรรม


12

a popular view of many policy makers in crisis countries who also argued that the IMF should provide adequate resources to fight against the predatory attacks on the currency. Though the literature on self-fulfilling expectation primarily leans on an individual rational behavior which may turn out to be herd behavior, all the secondgeneration models also hinge more importantly on some current and expected fundamental weakness. They, however, reject the notion that current levels of traditional economic variables on fundamental weakness were by themselves adequate, using what Furman and Stiglitz called Occam’s razor, to cause with a high probability in the sense of a stochastic model the extent of severity in the recent Asian economic downturns.3 It is thus pertinent to this paper that the speculative attacks See for example Obstfeld (1986, 1996), Sachs, Tornell and Velasco (1996) and Burnside, Eichenbaum and Rebelo (1999). The last work cited here argues that even though governments of Asian countries ran fiscal surpluses or small deficits prior to the crises, the model they present shows that prospective large fiscal deficits associated with implicit bailout guarantees for the failing banking system through the seignorage revenues rather than taxes (especially the case of Thailand and Korea) resulted in a speculative attack on the currencies. 3 See Furman and Stiglitz (1998) for a detailed study of the important causes of the Asian economic crises, which go beyond the self-fulling expectation models. Nevertheless, both Radelet and Sachs (1998) and Furman and Stiglitz (1998) also argued that IMF policy conditionality unintentionally exacerbated the crises. See also the comments (in terms of an ex ante rather than ex-post perspective of IMF policies) on the point of some misguided key elements of the IMF programs by R.N. Cooper on the paper by Radelet and Sachs as well as comments and discussions by other economists including B.P. Bosworth, J. Duesenberry, W. Clien and M. Obstfeld. Fischer (1998) and Dornbusch (2000) joined the debates and defended most of the IMF prescriptions. 2

เศรษฐธรรม :: รวมบทปาฐกถากีรตยาจารย์แห่งเศรษฐศาสตร์ธรรมศาสตร์


13

on the currency and in our particular case on the Thai Baht were not void of the deterioration in both current and expected economic fundamentals. To my mind, the important economic fundamental variables should be interpreted broadly including not only the changing external account of the country (long-running and large current account deficits financed substantially by short-term bank and other forms of portfolio capital inflows under a premature international account liberalization with a fixed exchange rate regime), large accumulated external debt, highly leveraged domestic economy, the relative rapid expansion of non-traded vis-à-vis tradable sector production with its speculative real-estate and stock market bubble and overvaluation of the domestic currency in real terms, but also the expected Thai government’s own perception and policy responses before the economic crisis in Thailand erupted in early July 1997. Having taken the above position, it is then appropriate to concentrate on the narrow aspects of this paper, i.e. the official intervention in the forward foreign exchange market. Since it is presently a well-known fact that the Bank of Thailand prior to the eruption of the crisis on July 2, 1997 had intervened heavily in the foreign exchange market to defend the value of the Baht, I have two objectives. First, I will discuss the primary elements of the forward market (and the swap foreign exchange market) with a particular aim to understand the theoretical potentialities and pitfalls of the official intervention in this market. This theoretical analysis will be done with the case of Thailand’s central bank intervention in the forward and swap market. My analysis on the desirability of the official intervention in the forward market gains much from the literature on this matter in the latter part of the 1950’s and 1960’s when the world was in the adjustable-peg สุพจน์ จุนอนันตธรรม


14

system.4 Second, the paper provides an estimate of the financial loss by the Thai central bank as a result of its heavy intervention which occurred after the Baht was finally floated on July 2, 1997.

Though the controversy in the policy prescription for the official intervention in the forward market is basically related to the British Sterling, it can be relevant for any other currency in a pegged exchange rate regime. The controversy, referred to as the Jasay-Spraos case for intervention and with the literature that followed, results in an increase in understanding on the potentialities as well as limitations of the official intervention in the forward market under a pegged exchange regime. 4

เศรษฐธรรม :: รวมบทปาฐกถากีรตยาจารย์แห่งเศรษฐศาสตร์ธรรมศาสตร์


15

2. The Forward Market and Interest Rate Parity

Foreign exchange dealing may take place at the spot level or at the forward level. The spot transaction with the spot exchange rate is for immediate or almost immediate (say 2 days) delivery of the currency. The separate forward dealing, in which foreign exchange contracts are made for future delivery, may be of different maturities ranging from, for example, days to months or even years. The most common forward contract is said to run for 9 months. In addition to the outright forward market and for the particular concern of this paper for Thailand, there is also a swap market, which is directly related to the forward market. The foreign exchange swaps are the transactions, which constitute the simultaneous executions of a spot and forward transaction in an opposite direction. The buy-sell swap for the dollar-Baht transaction is a purchase of dollar in the spot market (or selling Baht spot) with a simultaneous sale of dollar in the forward market (selling dollar for Baht in the forward market). สุพจน์ จุนอนันตธรรม


16

The sell-buy swap, on the other hand, is the simultaneous spot and forward transactions in the opposite direction of the buy-sell swap, i.e. selling dollar spot and buying back the dollar forward. It should also be noted that the buy-sell swap for one party of the transaction is the sell-buy swap for the other party. Thus, the forward market together with the swap market is a part of the overall foreign exchange market. The forward market can be then considered to be a set of relationships among commercial banks both domestic and international through which corporations, the non-bank entities and individuals in an economy who wish to do so may buy or sell currencies for future delivery. There are generally four reasons a person or an individual may enter into a forward contract. These are interest arbitrage possibilities, trading risk minimization, speculation and the forward exchange rate arbitrage. A covered interest arbitrage possibility occurs when a difference exists between interest rates in two currencies (countries) which is not offset by the difference in the forward and spot rate, given the relative country risk premium. In this situation, it becomes profitable for an arbitrager to buy the currency of the higher interest rate spot, use that currency obtained to buy a security yielding an interest payment and then covers himself by selling the expected receipt in the forward market. This is called a covered interest arbitrage because the arbitrager protects himself from the possibility of the change in the exchange rate (e.g. devaluation of the higher-interest currency) by entering into a forward contract to sell this currency when the security he has invested matures. เศรษฐธรรม :: รวมบทปาฐกถากีรตยาจารย์แห่งเศรษฐศาสตร์ธรรมศาสตร์


17

As may be expected, the actions of interest arbitragers will tend to drive the price of the forward exchange for the higher interest currency down. This is due to the additional supply of the forward currency. If the spot rate is pegged or supported under the fixed exchange rate regime and the forward rate is flexible as is usually the case without official intervention, the increased demand for the higher-interest-rate currency spot will not be allowed to cause its spot price to rise. Hence, all the adjustment in the foreign exchange market must come from the forward rate. With a given interest rate differential, interest arbitragers will continue to operate under a free international capital mobility, i.e. buying spot to invest and selling forward to cover their foreign exchange risks until the forward rate of the currency is pushed down to a point where the discount from the spot rate is now equal to the interest rate differential. At this point, there is no longer any profitable incentive for arbitragers to move their additional funds. There is a flow equilibrium and it is called the interest parity theory. The theory simply states that the interest rate differential will be reflected, given relative risks of the two currency assets, in the forward rates on various currencies. I must state again that this is only a tendency, i.e. the interest rates in different currencies will tend to equalize. It is because the net capital inflows may not be freely mobile and the net international capital flows may be only a small fraction of the total fund flow crossing the market. Nevertheless, in normal times, the theory does hold basically true. This is especially the case for Thailand, a small open economy, where there was a continuous and large net capital inflow after the capital account and foreign exchange market liberalization in the early 1990s up to 1996. This was especially the case for the establishment สุพจน์ จุนอนันตธรรม


18

in 1993 of the Bangkok International Banking Facilities (BIBFs) to facilitate the growth of international banking activities. BIBFs is an offshore financial market, which enjoyed tax and regulatory advantages to foster Bangkok as a regional financial center. There were also other liberalization measures including a non-resident Baht (local currency) account and gradually relaxing or eliminating restrictions on purchase of foreign exchange by residents as well as transfer of Baht overseas. Thus, there was (and still is) an offshore Baht market linked to the onshore market. The so-called offshore and domestic banking transactions exist side by side locally. Equation (1) below shows the equilibrium in covered interest arbitrage and Figure 1 indicates how effective interest rate equalization operates.

Assuming perfect capital mobility and given transaction costs and relative risk premium of the Thai and U.S. assets, the covered interest arbitrage yields the below equation. เศรษฐธรรม :: รวมบทปาฐกถากีรตยาจารย์แห่งเศรษฐศาสตร์ธรรมศาสตร์


19

Interest Differential in Favor of Foreign Country

Noting that the product of the two small decimals (p and ius) is negligibly small, equation (1) is then a very useful simplification for our analysis. Figure 1 indicates that any point out of the interest rate parity line will result either in an inflow or outflow of funds.

Figure 1. Interest Parity: The Relationship between Interest Rate and Forward Exchange Rate

2 B 1 Arbitrage Outflow 0 Arbitrage Inflow

Transaction Cost Band

C

-1

Interest Parity Line -2

A

-2

-1

0

1

2

Forward Exchange Rate Discount or Premium

สุพจน์ จุนอนันตธรรม


20

Point A, for example, is such a position. Since it is under the interest parity line, an interest arbitrage incentive exists. The interest differential in favor of the foreign country (U.S.) is negative and it is not offset by the forward premium for the dollar. Given the foreign or dollar interest rate there is an incentive for profitable arbitrage inflow into Thailand. If monetary policy is passive and the forward rate is not supported, the large capital inflow will raise domestic liquidity and push down the interest rate in Thailand, a small open economy with an open international capital account as the case in the 1990s before the crisis in 1997. As a matter of fact, the monetary authority of Thailand attempted to sterilize some of the rapid capital inflow. But, sterilized foreign exchange intervention measures were found to be not very effective to the extent that there continued to be confidence in the strength of the local currency. In this situation the dollar forward rate should also increase. The adjustment will tend to take a path toward a point like c where the interest differential tends to fall and be offset by the positive forward rate for the dollar (a dollar premium in the forward market). The covered interest arbitrage equilibrium will then occur at point c. Uncovered interest arbitrage can also occur which means that arbitragers take a short or long position without covering their foreign exchange risks. In this situation, the interest differential in favor of the Baht is offset by its expected future depreciation. Many domestic borrowers in Thailand took their exchange risks by not hedging in the forward market. These activities can then shade into speculation where the asset and liability in a specific currency of a borrower is not equally matched over time. Uncovered interest arเศรษฐธรรม :: รวมบทปาฐกถากีรตยาจารย์แห่งเศรษฐศาสตร์ธรรมศาสตร์


21

bitrage is sometimes called speculator-arbitrage, which is different from pure speculation in the forward market.

สุพจน์ จุนอนันตธรรม


22

3. The Forward Market and Speculation

A second reason that an individual may enter into the forward contract is the possibility of a speculative gain. It is concerned with a currency, which is expected to be altered in value in one way or the other relative to other currencies. When such an expectation occurs, it provides an incentive for an individual to sell or buy forward exchange without covering. In reality, this is the essential definition of a speculator, a person who does not cover his risks. A speculator takes a short or long position in a currency in the forward (or spot) market. Let

F = forward rate in Baht per U.S. dollar say for one year forward contract E(SF) = expected future spot rate in Baht per U.S. dollar one year hence

เศรษฐธรรม :: รวมบทปาฐกถากีรตยาจารย์แห่งเศรษฐศาสตร์ธรรมศาสตร์


23

The expected gain per unit from a forward speculation is the absolute difference between the expected future spot rate and the forward rate or E(SF )-F . If there is an expected revaluation of the domestic currency, the speculator will buy it forward. On the contrary, if there is an expected devaluation of the domestic currency (B), then the speculator will sell the weak domestic currency forward when the expected future spot rate exceeds the prevailing and corresponding forward rate. If devaluation does occur accordingly, the speculator can fulfil his forward contract by purchasing the domestic currency spot at a cheaper price. There will then be a speculative gain. As an example, if a speculator’s expected future spot rate is 33 Baht per dollar and supposes that the dollar forward rate is 27 Baht. The current officially pegged rate is 25.30 Baht per U.S. dollar. The speculator then sells Baht forward at 27 Baht for a future delivery of six months hence hoping to purchase it back at a devalued spot rate of 33 Baht per dollar. If the Baht goes down in value to 33 Baht as expected, there will be a speculative gain of around 6 Baht per dollar. Though the size of the speculation on a domestic currency depends on the balancing of the expected gain per dollar against the risk incurred in the speculation, it is reasonably well-known that under a fixed or pegged exchange rate regime, the change in the official value of a currency is very unlikely to be in a direction other than that expected. Hence, speculators tend to have what is called a one-way speculative option against a weak currency. They tend to have a large speculative profit against a relatively small risk that they will incur any appreciable loss. In our example above, if the expected devaluation does not materialize, then the loss to the speculative sale สุพจน์ จุนอนันตธรรม


24

of the Baht for dollar tends not to be large if the relatively fixed spot rate is not diverging much from the forward rate. The speculator can buy the Baht he sold forward at a rate of not much below 27 Baht, e.g. 26 Baht per dollar which is considered here to be the upper bound of the pegged rate regime. Nevertheless, on certain occasions, the freely fluctuating forward rate may actually diverge substantially from the current pegged spot rate due to a heavy speculation or the official intervention in the foreign exchange market, the loss to the wrong speculation activities in the forward market can then turn out to be substantial as well. In addition to the forward market, speculation can also take place in the spot market. In this situation, the speculator sells the weak Baht spot transferring his funds into a stronger currency say the dollar. After devaluation, he then can convert back to the Baht with a profit. Speculation in the spot market, if substantial, tends to cause the monetary authority to immediately lose its international reserve, which can eventually result in a forced or compelled devaluation, even without an underlying reason to do so. This then is called a self-fulfilling kind of speculation. Nevertheless, a speculative attack on a currency is usually based on an analyzed perception of the prevailing and expected fundamental weakness of that particular currency. This usually occurs for a particular case in the one-way speculation of a weak currency in a pegged exchange rate regime. It is also important to note that in a normal situation where there is no speculative attack say on the normally higher interest rate domestic currency, the net excess demand for the foreign currency in the forward market by interest arbitragers (and also by traders, i.e. importers plus exporters due to a trade deficit) must be offset เศรษฐธรรม :: รวมบทปาฐกถากีรตยาจารย์แห่งเศรษฐศาสตร์ธรรมศาสตร์


25

by the net excess supply of the same currency by the speculators, resulting in the forward rate equilibrium. The higher forward rate for a foreign currency is a reflection of the normally higher interest rate in the domestic currency and the continued trade deficit in the domestic economy. But the situation can change when there is an expected devaluation of the domestic currency giving rise to an increasing forward rate, which goes beyond the interest-parity forward rate. In other words, the domestic currency has a higher discount in the forward market than the interest-parity forward discount. An arbitrager will borrow the domestic currency, say Baht, even at a higher interest rate of 10 per cent. The arbitrager sells Baht spot for dollar. He then invests the borrowed funds in the dollar asset earning a lower interest rate at say 4 per cent and enters into a forward contract selling dollar forward for Baht at a much higher premium for dollar of 12 per cent. Arbitragers then make a profit of approximately 6 per cent. In this situation, the arbitragers and speculators enter the forward foreign exchange market in a different condition as compared to a normal situation above, i.e. with the former buying and the latter selling the weak domestic currency. The problem is that whether funds available to arbitragers or speculators dominate the market. Earlier and traditional analysis tends to indicate that the funds available to arbitragers are more limited as compared to forward exchange speculation. In the forward market speculation, speculators need no funds even though speculators may be required to put up some collateral sufficient for any possible loss. The collateral requirement, is unlikely to put much restrictive limit to the desired level, if any, of speculation especially for large financial institutions, various investment funds and major corporate speculators. If that is the case, the สุพจน์ จุนอนันตธรรม


26

forward rate during the heavy speculation may be pushed up very high, especially under a normally thin foreign exchange market for a developing economy like Thailand. This is usually the case for a short-run and immediate impact of speculation on the forward rate, which is not supported by the central bank intervention. But with the official forward intervention, the situation may be different for the forward rate. I will come back on this point later for the case of the Bank of Thailand in the 1997 currency crisis.

เศรษฐธรรม :: รวมบทปาฐกถากีรตยาจารย์แห่งเศรษฐศาสตร์ธรรมศาสตร์


27

4. Commercial Covering and Speculation

In addition to the pure and speculative arbitrage, the third group of persons using the forward market is the exporters and importers (or traders). International trade is invariably linked to financings (commercial financings). It is known as trader-arbitrage because it involves the domestic and foreign interest rate as well as the two currencies involved in the spot and forward market. Traders may use the forward transactions to protect themselves from the foreign exchange risk. A local importer in Thailand may, as is usually the case, finance his import in dollar (or local import is financed by the country from which the goods originate). He then pays the interest rate in dollar. He can then protect himself from the exchange risk by buying dollar forward. Alternatively, a local importer may finance his trade by borrowing in Thailand, in which he has to pay a local interest rate (in Baht). He can then convert his borrowed Baht into dollar in the spot market for an immediate payment of his commercial obligation. Choosing สุพจน์ จุนอนันตธรรม


28

between these two alternatives of import financing gives rise to an importer interest arbitrage in commercial financing. Similar reasoning can also be applied on the side of a Thai export. An exporter who finances his export locally and expects a dollar receipt, for example, may enter into a forward contract to sell dollar forward. Since the forward rate may not be equal to the spot rate and interest rates differ for different currencies, commercial hedging or covering can be treated just like an additional cost in an international trade transaction. If a trader does not hedge his expected foreign exchange export receipt or import payment, he is considered to take a position and hence enters into a speculation. For example, if a foreign currency he expects to receive is selling at a premium, he may choose not to enter the forward market because market expectations do not indicate an immediate devaluation. Moreover, traders may also lead or lag their payments depending upon their expectations of the future movements in the exchange rates. If the Baht is expected to be devalued, an importer who has a dollar liability and not wanting to be caught up with a dollar (foreign-currency) obligation, will “lead” or accelerate his remittance or import payments. Similarly, an exporter may “lag” or delay his receipt of foreign exchange in expectation of a devaluation of the Baht. Though leading and lagging the commercial payments or remittances is a form of foreign exchange speculation, its extent is very difficult to ascertain.

เศรษฐธรรม :: รวมบทปาฐกถากีรตยาจารย์แห่งเศรษฐศาสตร์ธรรมศาสตร์


29

5. Rationales for Official Intervention

There are two main reasons for the official intervention in the forward foreign markets. These are monetary policy reinforcement and counter-speculative intervention. 5.1 Monetary Policy Reinforcement Keynes (1923), in his Tract on Monetary Reform, was the earliest economist who concerned himself with the theory and practice of the forward foreign exchange market. The process envisioned by him is as follows. When there is a recession or a depression, a low level of the domestic interest rate is desirable in order to promote more investment and other economic activities. However, such a lower domestic interest rate will widen the interest differential in favor of the foreign country, given the foreign interest rate. Interest-sensitive funds will then follow out of the country, tending to raise the domestic interest rate and undoing or moderating the effect of the expansionสุพจน์ จุนอนันตธรรม


30

ary monetary policy. The higher the sensitivity and mobility of the international interest arbitrage flow of fund, the more for the undoing or moderating of the effect the monetary authority attempts to accomplish. When the domestic capital flows out, then the domestic currency will tend to move to a forward premium roughly equal to the interest differential between the two currencies. The domestic interest rate is, for example, lower than the foreign interest by 2 per cent, the domestic currency or Baht will then have a 2 per cent premium in the forward market. At this premium rate for the Baht, domestic arbitragers in Thailand will no longer have any incentive to transfer their funds, either borrowed or owned, abroad because the gain in interest payments will be offset by the loss incurred in purchasing the Baht back in the forward market at a higher price than they will in the spot market. Now, it is suggested that the monetary authority or the central bank intervenes in the forward market by buying Baht forward (or selling dollar forward). This will push the price of Baht to rise in the forward market. The intervention will raise the additional forward exchange cost to the domestic arbitrager outflow and hence helps to reduce the outflow of domestic funds abroad. The domestic central bank can choose as a policy choice to sell the dollar forward in a substantial amount such that the forward discount for the dollar is pushed above 2 per cent. This will cause the domestic interest arbitragers to incur a loss if they invest in dollar assets because the interest gain is more than offset by the loss in the forward cover. Instead, foreign interest arbitragers will disinvest in the dollar assets and invest more in domestic assets in Thailand. By selling dollar spot and investing the Baht in Thailand even at a เศรษฐธรรม :: รวมบทปาฐกถากีรตยาจารย์แห่งเศรษฐศาสตร์ธรรมศาสตร์


31

relatively lower interest rate and simultaneously selling Baht forward at a higher premium, the arbitragers will earn a higher effective rate of return in Thailand than in the U.S. In terms of Figure 1 above the official forward intervention aims to keep the net interest differential below the interest parity line say around point B. This will cause a net capital inflow into the domestic economy and helps to strengthen the domestic expansionary monetary policy. Though the manipulation of the forward market can strengthen the monetary policy for domestic stabilization purposes, it must be understood that such a forward rate policy means a payment of an implicit interest subsidy to foreign arbitragers. Moreover, if the policy is adopted in the situation where there is speculation on the value of the domestic or Baht currency, which pushes the forward rate for the dollar to a high level, the foreign interest subsidy may turn out to be substantial due to a larger intervention required. The higher interest subsidy cost must be traded off with the gain from more employment (less unemployment) in the economy. The higher interest payment also implies that the marginal productivity of capital is lower than that indicated by the interest rate resulting in a relatively and marginally inefficient utilization of domestic resources. 5.2 Counter-speculative Intervention The second reason for official intervention in the forward market is to fight against and deflect a speculative attack on its currency. As explained in the earlier section above, speculation can operate in either the spot or forward market (or in both markets) in an uncovered manner. When a speculator operates in a sport market he must use his own or borrowed fund in order to sell the suspect สุพจน์ จุนอนันตธรรม


32

Baht currency, i.e. he sells Baht and buys dollar spot. The cost of operation in the spot market includes basically the interest rate foregone or the interest rate paid. He hopes, however, to go back to the devalued Baht covering both the opportunity cost (interest cost) and a profit by obtaining more Baht than he borrows or puts up earlier. The speculator can also convert the speculative profit back into dollars. If the speculator does not own the funds and does not want to borrow the local currency or the Baht for speculation, he must operate in the forward market. But in both cases of operation either in the spot or forward market, there are costs that a speculator must accrue if the expected devaluation does not materialize. The cost of spot speculation with the borrowing funds is basically the difference in the interest rate between the two currencies. But the cost in dealing in the forward market when devaluation does not occur becomes greater as the forward rate rises to a higher and higher level or the Baht has a greater discount. Therefore, the greater the forward rate, the more speculators will move into the spot market, putting an immediate pressure on the country’s international reserve. And also, as analyzed above, arbitragers will find it profitable to sell the suspected weak Baht spot and buy them back forward. In this unusually heavy speculative period, both speculators and arbitragers can operate to substantially drain international reserves from the country. Therefore, it has been suggested that in order to lessen the impact, during a speculative attack on a domestic currency, in the spot market and hence on the country’s international reserve, the monetary authority may choose to intervene in the forward market by contracting to buy its own currency in the forward market (buy เศรษฐธรรม :: รวมบทปาฐกถากีรตยาจารย์แห่งเศรษฐศาสตร์ธรรมศาสตร์


33

Baht and sell dollar forward). This will help to prop up the value of domestic currency in the forward market or lessen its forward discount. It will then lower the incentive for arbitragers to sell Baht spot and buy it forward, relieving some of the pressure on the reserve. Also the lower discount rate for the Baht (or a lower forward dollar premium) will essentially subsidize the speculative activity. Such an effort will then reduce the cost to a speculator of operating in the forward market. It is thought that this will induce them away from operating in the spot market helping to reduce (though not totally alleviating) the immediate pressure on reserves that spot sales by speculators can cause. When the forward contract expires, the monetary authority will have to pay the foreign currency (or the dollar in the Thai case) for its own currency or the Baht. If speculators operate under the uncovered or short position, then they will have to buy the Baht they speculate to fulfill their parts of the contracts. Therefore, it is expected that the net change on the official international reserve can well be close to zero, i.e. the monetary authority will pay out the foreign currency but will at the same time collect the foreign currency from the speculators who need to fulfill their contracts. In short, the same amount of the foreign currency will flow in as flown out from the official reserve.

สุพจน์ จุนอนันตธรรม


34

6. Counter-speculative Intervention: Problems

The official interventions in the forward market to staunch a speculative movement against a domestic currency are often a debate. As analyzed above, the mechanical efficacy of this kind of proposal revolves principally around the supposition that speculators selling the weak domestic currency (Baht) forward (either outright forward transaction or through the swap foreign exchange market) will have to buy the domestic currency in order to meet their forward contracts. To do so, they will have to supply the monetary authority with the foreign exchange (dollar) needed to pay off its forward commitments. As a result, the volume of the forward contracts entered into by the monetary authority is of no consequences. In fact, the central bank will even earn some profit because the forward rate in the contract exceeds the pegged spot rate when no change in the exchange rate policy is undertaken. This proposal of forward market intervention is too simplistic and has a number of shortcomings. เศรษฐธรรม :: รวมบทปาฐกถากีรตยาจารย์แห่งเศรษฐศาสตร์ธรรมศาสตร์


35

First, the monetary authority may not know ex ante the precise amount how large of the total speculation is from those holding no domestic currency or without an easy access to it and how much derives from those who do, such as domestic and foreign companies in the country, banks and traders. In the case of the Thai currency crisis in 1997, there was overall recorded data on forward transactions by the Bank of Thailand categorized into on-shore and off-shore transactions. With an open and liberalized foreign exchange and international capital account in the balance of payments since the early 1990’s off-shore transactions in Baht increased rapidly. And in the speculative period during November 1996 up to the Baht floating on July 2, 1997, the total off-shore and on-shore forward and swap outstanding transactions of all maturities by the Bank of Thailand respectively rose from U.S.$ 0.05 billion and U.S. $ 0.8 billion at the end of the November 1996 to as much as U.S.$ 19.77 billion (offshore) and U.S.$ 9.74 billion (onshore) by the end of June 1997. Off-shore speculators like their on-shore counterparts could, of course, easily obtain Baht for their forward commitments until the intervention and restriction by the Bank of Thailand in the foreign exchange market on May 15, 1997. The Thai monetary authority requested (and followed it up later by the legal measures or order) financial institutions in Thailand not to enter into financial dealings with those non-residents without basic proof of normally underlying trade and investment transactions. The main purpose was to cut off the Baht supply to non-residents. Later, there was also a restriction of the transfer of Baht outward after liquidation by non-residents of domestic stock and other financial investment in Thailand. This resulted in a so-called de facto two-tier or separated foreign exสุพจน์ จุนอนันตธรรม


36

change market basically for Baht and U.S. dollar, i.e. off-shore and on-shore market. As a result, the dollar price for Baht diverged from each other in the two foreign exchange markets. With a restricted supply of Baht in the offshore market, the Baht appreciated abruptly in the off-shore market relative to the on-shore rate. The spot rate fixed on Friday 16, 1997 by the Bank of Thailand was, for example, 25.81 Baht per U.S. dollar while the offshore spot rate was 25.1025.50 Baht for the dollar. This offshore spot rate for the dollar did not recover until days later. And the average on-shore spot rate for May and June was 25.85 and 25.81 Baht per dollar as respectively compared to 25.74 and 24.50 Baht a dollar in the off-shore market. The Baht, therefore, tended to have a relatively higher value in the off-shore market until the abolishment of the strict control of the supply of Baht to the off-shore market. It inflicted a substantial loss to those speculators who decided to close their positions which came due. In their settlements, they either borrowed Baht at a very high short-term interest rate from the monetary authority’s permitted supply of Baht from the on-shore market or disinvested their Baht assets at heavy discounts. Speculators being unable to obtain Baht could also roll over the forward contracts, i.e. buying the Baht forward but at a relatively much higher discount. The 7-day forward premium for the dollar, for example, rose to an annualized rate of about 60-80 per cent. But forward liability of the Bank of Thailand in the onshore market continued to increase during May to the end of June 1997 by U.S$ 2.56 billion. On-shore speculation against the Baht, therefore, continued to rise during this two-month period. The second reason to support the official intervention in the forward market (or in the spot market) is that the central bank เศรษฐธรรม :: รวมบทปาฐกถากีรตยาจารย์แห่งเศรษฐศาสตร์ธรรมศาสตร์


37

must not devalue. Nevertheless, with the official intervention resulting in a large build-up of forward contracts, the monetary authority tends to lose its freedom to devalue or adopt a new exchange rate regime. The massive losses that will result in the event of devaluation can then prove to be immediately unacceptable to the central bank as well as the government. The substantial forward obligation may tend to submerge or, to some critiques, hide the pressures building up against the domestic currency. But, the difficulty to keep the large extent of the official forward obligation secret can easily lead to uneasiness in the market resulting in an increase of pressure to a point no manner of official support can hold the par value or the officially fixed rate. Hence, the official intervention in the spot market may be preferable to the forward intervention. This is because the speculative climax occurs relatively more quickly in the spot market and the decision to resolve the problem may also be taken one way or the other in a shorter time period. The third and most important reason that is really required to support the official forward intervention (as well as the spot market intervention) is that the authority is relatively certain that there are no basic reasons for a devaluation. This basically means that there is no fundamental balance of payments problem with an excessive accumulation of the country’s external debt financed by a relatively large short-term inflow of the portfolio investment, and other basic economic and financial weaknesses referred to in the introduction of the paper. The official forward intervention is not undertaken to prolong the adjustment required under the macroeconomic imbalance giving rise to a fundamental external สุพจน์ จุนอนันตธรรม


38

disequilibrium. This means that the actions by speculators have no basic economic grounds to be supported. But, the primary aspect of this matter is that who, the monetary authority or the so-called professional speculator, is right. Speculators under an adjustablepeg exchange rate regime have a good record of assessing when a country is facing an unsustainable external disequilibrium and hence an overvaluation of the real exchange rate. Thus, speculators seem to have almost (even though not always) a sixth sense. Speculation when viewed without passion may actually perform an appropriate service to a country whose monetary authority and or the government may not be willing over a certain period of time to face up to the economic realities. Speculation in the foreign exchange market should, therefore, be taken seriously because it may be an indication that a country’s currency may be overvalued against other currencies given the deteriorating and further prospective macro-economic imbalances as well as other weak economic and financial fundamentals. A timely adjustment with an expenditure-switching policy (exchange rate changes) and expenditure-reducing policy (fiscal or monetary policy changes) are normally required.

เศรษฐธรรม :: รวมบทปาฐกถากีรตยาจารย์แห่งเศรษฐศาสตร์ธรรมศาสตร์


39

7. Empirical Estimates of the Financial Loss of Intervention

The exchange rate regime adopted by the Bank of Thailand had been a basket-peg during November 5, 1984 up to the managed floating exchange rate on July 2, 1997. The central rate was first announced at 27 Baht to the U.S. dollar on the day of the introduction of this regime which was an approximately 17.4 per cent rise in the dollar price against the Baht. Though the Thai discretionary peg system gave the U.S. dollar a dominant weight in the basket, it was originally designed to inject some flexibility in the movement of the exchange rate. The exchange equalization fund, under the law, could change the central rate according to their analysis of the economic and financial conditions of Thailand vis-à-vis its important trading partners. In fact, after the adoption of the basket peg system, the nominal dollar price in terms of Baht was less rigid during the period of November 1984 up to the 1986. The Baht depreciated to approximately 28 Baht per dollar and there were periods; for example, in the early 1990s, สุพจน์ จุนอนันตธรรม


40

in which the Baht appreciated to about 24.50 to 25 Baht per dollar. When there was a new round of no confidence in the viability of the pegged value of the Baht during November 1996 up to the Baht floating on July 2, 1997, the market dollar Baht rate (on-shore exchange rate) fluctuated narrowly between 25.405 and 26.13 Baht to the U.S. dollar with the rate occasionally and marginally pushed up above the upper band set by the exchange equalization fund. Figure 2 shows the movements of total swap transactions both on-shore (panel a) and off-shore (panel b) during December 1996-July 1998 and January 1997-July 1998 respectively. Figure 3 provides comparisons of the total swap or forward on-shore and off-shore transactions in terms of dealings and in terms of settlements of the contracts. The swap transactions are defined to include all forms of forward transactions whether they are the outright forward contracts or the forward transaction associated with the counter spot transaction in a swap dealing. They are all plotted from the figures in Table 1 and Table 4. The data in Table 1 and Table 4 are the difference between the outstanding stock of forward foreign exchange obligations of the Bank of Thailand at the end of each month for the corresponding period of different maturities. The negative entry in Table 1 and Table 4 refers to the Bank of Thailand’s buy-sell swap or outright forward sale of the dollar while the plus sign is the opposite situation, i.e. sell-buy swap or outright forward purchase of the dollar by the central bank. There are a number of observations that can be made from Table 1 and Table 4. First, there were relatively small, as expected, forward foreign exchange activities by the Bank of Thailand in the initial เศรษฐธรรม :: รวมบทปาฐกถากีรตยาจารย์แห่งเศรษฐศาสตร์ธรรมศาสตร์


41

period of November and December 1996. In fact, data on outstanding stock of forward obligation by the central bank in October was only U.S.$0.5 billion for the on-shore market and none for the offshore market. However, forward activities were slowly built up resulting in the overall outstanding liabilities of U.S.$0.85 billion (0.8 for on-shore market plus 0.05 for off-shore market) in November and U.S.$4.89 billion (3.9 billion for on-shore market plus 0.99 billion for off-shore market) in December 1996. In this initial period ending in December 1996, the large part of the monetary authority’s forward obligation was, therefore, much more in the on-shore market relatively to the off-shore market. Second, the forward liability of the Thai monetary authority increased rapidly after the end of 1996 to U.S.$8.87 billion (5.91 billion for on-shore and 2.96 billion for off-shore) and U.S.$12.19 billion (5.63 billion for on-shore and 6.59 billions for off-shore) respectively in January and February 1997. The extent of the overall forward intervention tended to be stabilized temporarily in the months of March and April with the end-of-the-month total forward liability by the central bank of an approximate outstanding amount of 13-14 billion dollars. The heaviest attack on the Baht and the large and rapid net private capital outflow occurred during May 1997. Out of the estimated negative net total private capital flow of U.S.$2.82 billion in May, the non-resident domestic currency or Baht deposit accounted as much as 78.01 per cent of the net total private capital outflow. Short-term capital could flow out as rapidly as flowing in. There was also an increase in loan payments abroad of U.S.$0.64 billion. This net loan outflow constituted about the other 22 per cent of the total net private outflow in May. As a result, it gave rise to a substantially สุพจน์ จุนอนันตธรรม


42

large intervention by the monetary authority in the forward as well as the spot market. The forward intervention for different maturities was especially substantial in the off-shore speculation amounting to U.S.$13.39 billion as compared to only U.S.$2.54 billion for the onshore transaction. Therefore, the outstanding forward liability of the Bank of Thailand in the on-shore market increased from U.S.$5.51 billion by the end of April to U.S.$7.2 billion in May 1997 and to U.S.$9.76 billion before the floating of the Baht in early July 1997. But the far greater attack on the Baht in the off-shore market resulted in an even more forward liability to the Thai monetary authority. This was because the Bank of Thailand attempted to keep the dollar off-shore spot rate against the Baht from moving above the level of the officially pegged spot rate in the domestic market. The deviation could cause a further damaging net capital outflow aggravating the existing domestic pressure on its own international reserve. The total off-shore forward obligation then jumped abruptly from U.S.$8.57 billion at the end of April to U.S.$20.03 billion in May and then stayed approximately at this level until the end of June 1997. As a result, the combined forward shortfall position for the Bank of Thailand was U.S.$29.55 billion. It should be noted that approximately 67 per cent of this outstanding forward obligation prevailing in June 1997 was undertaken in the off-shore market. Over the whole period of these speculative activities, the central bank’s forward liability was then more than proportionally owed to foreigners to the extent that off-shore market participants are not domestic entities. And though the longest maturity of the total forward obligation (both on-shore and off-shore) prior to the Baht floating in July 1997 was one year, 73 per cent of it had a maturity not exceeding 6 months. Therefore, there were large เศรษฐธรรม :: รวมบทปาฐกถากีรตยาจารย์แห่งเศรษฐศาสตร์ธรรมศาสตร์


43

settlements of the forward contracts as well as some roll-over and or new forward transactions in the first six months after July 1997. (See the sum of the column and row in Table 1 and Table 4) Third, underlying the forward transactions as shown in Table 1 and Table 4 was the central bank policy of defending the pegged value of the Baht. The rapid net private capital outflow both due to speculation and other interest rate arbitrage including the payment of previously contracted loans resulted in the run-down of the international reserve. This potentially affected the domestic money supply causing it to fall under the pegged exchange rate regime. In turn, the domestic interest rate could rise due to a rapid decrease in the domestic monetary liquidity. The Bank of Thailand’s policy during this period was not only of defending the pegged value of the Baht but importantly also of trying to keep domestic liquidity at an approximate bay such that it would not cause the domestic interest rate to deviate from the officially desired level. This was, of course, the theoretically well-known sterilized foreign exchange intervention. Yet, the domestic short-term interest rate as represented by the inter-bank and 7-day repurchase market rate respectively rose by 38.63 and 25.50 per cent in May and 24.48 and 12.14 per cent in June. There was, of course, an expected fall in the value of the Baht. The instrument adopted by the Bank of Thailand in this particular sterilization policy was the foreign exchange swap. In addition to the out-right forward transaction, the Thai monetary authority utilized the swap transaction. The mechanism is simple. After the defense of the Baht initially in the spot market, the buy-sell swap was then usually used by the Bank of Thailand. In this second process, it bought back the dollar spot (selling Baht spot) and at the same time contracted to สุพจน์ จุนอนันตธรรม


44

sell back the dollar forward (buying Baht forward). The swap could be practically transacted in direct consonant with the speculative activities as well as the rapid net private capital outflow. The policy eventually, as indicated above, resulted in a massive forward foreign exchange liability by the Bank of Thailand. The swap was then tantamount to an enticed forward speculation. The forward transaction in the swap deals carried an implicit and unintended subsidy because the forward rate for the dollar was subdued. Except for May and June 1997 and especially in the off-shore market the discount rate for the Baht in the forward market rarely exceeded 5 per cent before the Baht’s floating. Speculation then abounded as a result of the ample official forward market supply. This had an important implication when the Baht was finally allowed to float in July 1997. To calculate a financial loss of the official forward market intervention, it is necessary to have information on the forward rate and the future spot rate associated with the different flows of forward transactions shown in Table 1 and Table 4. As analyzed above, the expected gain for a speculation is the absolute difference between the expected future spot rate and the forward or swap rate under the contract. I have taken the differential between the actual future spot rate and the corresponding forward rate to indicate the gain or loss per dollar of the forward transaction. This is called the spread and is shown in Table 2 for the on-shore market and in Table 5 for the off-shore market. Given data in Table 1 and Table 2, the estimates of gross financial profit and loss on the official forward transactions can now be established. They are shown in Table 3 for the on-shore operation during the period of November 1996 to August 1998. The เศรษฐธรรม :: รวมบทปาฐกถากีรตยาจารย์แห่งเศรษฐศาสตร์ธรรมศาสตร์


45

estimates of profit or loss for the official forward foreign exchange operation in the off-shore market are shown in Table 6. Figure 4 and Figure 5 illustrate the estimates of the profit or loss of the intervention and make comparisons for the on-shore and off-shore results respectively. The empirical estimates indicate that most of the official forward transactions turn out to be a loss simply because the Bank of Thailand had a forward dollar liability and the Baht depreciated substantially after the July floating. There were, of course, some large financial profits especially during May and June 1997 when the foreign exchange market was separated into on-shore and off-shore markets by the monetary authority’s restriction of Baht supply to the off-shore market. A large wedge occurred between the actual future spot rate and the forward rate especially in the off-shore market. This was particularly the case in June where the Bank of Thailand had a gain of 3,398 million Baht in the off-shore market transactions and 689.3 million Baht for its on-shore settlements (See the sum on the column in June in Table 6 and Table 3). There were also very substantial gains for the monetary authority from the on-shore forward market settlements during March-June 1998 to a combined amount of 33,993 million Baht. This was due to the appreciation of the Baht after its plunge to as low as 49.85-56.2 Baht per dollar in January 1998. The reversal in the currency movement of the earlier overshooting exchange rate gave rise to a number of profitable swap liquidations which matured during this period. Nevertheless, when all the official forward market settlements were summed up, there was a total net loss of 119.14 billion Baht (U.S.$2.75 billion measured at the future spot rate corresponding to the settlement periods) and สุพจน์ จุนอนันตธรรม


46

222.56 billion Baht (U.S.$5.69 billion) for the on-shore and off-shore forward obligations respectively. The total financial loss in the forward market was then U.S.$8.44 billion. When the loss in the forward intervention is combined with an estimated loss of the spot market intervention in an amount of U.S. $6.71 billion, the total calculated loss was U.S.$15.25 billion. Such a heavy loss could very likely lead the Thai monetary authority to join the rank of the highest cost in the official defense of a currency in the foreign exchange market.

เศรษฐธรรม :: รวมบทปาฐกถากีรตยาจารย์แห่งเศรษฐศาสตร์ธรรมศาสตร์


47

8. Conclusions

The forward foreign exchange market be it the outright forward or swap transactions or any other form of foreign exchange derivatives can be very useful for a number of purposes. Its useful potentialities do not concern only with the private activities in interest and foreign exchange arbitrage, hedging for traders and investors, and speculation but also with official forward intervention as a policy tool. Official interventions in the forward foreign exchange market can be adopted for two main reasons, namely, reinforcement of the monetary policy and counter speculative intervention. In the particular case of the Thai currency crisis in 1996-1997, the central bank of Thailand also utilized the forward market to defend the pegged value of the Baht as well as to shore up the domestic liquidity. After the initial defense of the Baht in the spot market, the Bank of Thailand followed it up with a buy-sell swap. The sterilized foreign exchange intervention basically through the foreign exchange swap resulted in a substantial สุพจน์ จุนอนันตธรรม


48

forward liability for the Bank of Thailand. The speculation was enticed into operating in the forward market due to an ample supply from the official source. Through this mechanism of forward intervention, the central bank could prevent both the immediate loss of international reserves and domestic interests to rise. The speculators expected large gains when the forward rate was relatively subdued or implicitly and unintentionally subsidized by the large official intervention. Thus, substantial forward intervention was very risky when it helped to prolong the expected unsustainability of the pegged value of the Baht in the midst of the deteriorating external sector, the accumulation of huge short term external debt and the domestic financial institution problems. Estimates of the financial loss in the forward intervention to the Bank of Thailand after the Baht floated in July 1997 amounted to U.S.$ 8.44 billion. There was an additional financial loss of U.S.$6.71 billion for the spot market intervention. Injudicious and unlimited use of the forward exchange intervention was a crucial factor contributing to serious economic ramifications that followed after the fall of the Baht. The adoption of the managed floating exchange rate regime can hopefully help to dispense with a large official intervention in the forward market.

เศรษฐธรรม :: รวมบทปาฐกถากีรตยาจารย์แห่งเศรษฐศาสตร์ธรรมศาสตร์


49

สุพจน์ จุนอนันตธรรม


50

23

เศรษฐธรรม :: รวมบทปาฐกถากีรตยาจารย์แห่งเศรษฐศาสตร์ธรรมศาสตร์


51

25

สุพจน์ จุนอนันตธรรม


52

2

27

เศรษฐธรรม :: รวมบทปาฐกถากีรตยาจารย์แห่งเศรษฐศาสตร์ธรรมศาสตร์


Note:

Sum

Jul-98

Jun-98

May-98

Apr-98

Mar-98

Feb-98

Jan-98

Dec-97

Nov-97

Oct-97

Sep-97

Aug-97

Jul-97

Jun-97

May-97

Apr-97

Mar-97

Feb-97

Jan-97

Dec-96

Nov-96

Time

-0.75

-0.65

-0.1

Jan-97

-1.39

-0.94

-0.3

-0.15

Feb-97

-0.12

0.83

-0.45

-0.5

-

Mar-97

-0.3

-

-0.2

-0.1

-

-

Apr-97

-0.55

-

-

-0.35

-

-

-0.2

May-97

-3.1

-2.19

-

-

-0.18

-

-0.73

-

Jun-97

-4.6

-4.05

-0.05

-

-

-

-0.5

-

-

Jul-97

-3.51

-2.57

-0.1

-0.05

-

-

-0.57

-0.22

-

-

Aug-97

-1.82

-0.64

-0.14

-0.33

-

-

-

-0.11

-

-0.6

-

Sep-97

-2.21

-1.23

-0.01

-0.95

-0.02

-

-

-

-

-

-

-

Oct-97

-3.37

-2.53

-0.17

-0.36

-0.06

-

-0.1

-

-

-

-

-

-0.15

Nov-97

-2.45

-0.51

-

-0.49

-0.07

-0.02

-0.63

-0.15

-

-

-0.05

0

-0.53

-

Dec-97

-3.48

-0.71

-0.06

-1.1

-0.01

-

-1.08

-0.09

-

-

-

-

-0.43

-

-

Jan-98

-2.89

-1.52

-0.01

-0.86

-

-

-0.09

-0.02

-

-

-

-

-0.28

-0.11

-

-

Feb-98

-3.09

-1.47

-0.09

-0.71

-0.11

-

-0.28

-0.03

-

-0.2

-

-

-

-0.2

-

-

-

Mar-98

-3.07

-1.25

-0.17

-1.09

-0.05

-

-0.5

-0.01

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

Apr-98

-1.6

0.02

-0.09

-0.72

-0.09

-

-0.72

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

May-98

-3.71

-0.48

-0.17

-1.8

-0.07

-0.05

-0.71

-0.19

-

-

-

-

-0.24

-

-

-

-

-

-

-

Jun-98

-4.08

-0.33

-0.04

-2.57

-0.25

-

-0.64

-0.05

-0.06

-

-

-0.14

-

-

-

-

-

-

-

-

Jul-98

-3.37

-0.59

-0.22

-1.8

-0.4

-

-0.22

-0.12

-

-0.01

-

-

-0.01

-

-

-

-

-

-

-

-

-

Aug-98

(Unit: Billion U.S. dollar)

3. The data used in the above calculation is based on the Bank of Thailand's outstanding forward obligations.

2. Minus sign refers to BoT's Buy-Sell swap and Out-right forward obligations while plus sign is the opposite situation for the BoT i.e. Sell-Buy swap and Out-right forward purchase of dollar.

in out-right forward and swap transactions taken by the BoT.

1. Time period by column refers to the period that the BoT enters into the out-right forward and swap transactions while time on the row basis refers to obligation under different maturity structure

-0.1

-0.1

Dec-96

Table 1. Bank of Thailand's Forward Transactions (On-Shore)

28

26

53

สุพจน์ จุนอนันตธรรม


Note:

Jul-98

Jun-98

May-98

Apr-98

Mar-98

Feb-98

Jan-98

Dec-97

Nov-97

Oct-97

Sep-97

Aug-97

Jul-97

Jun-97

May-97

Apr-97

Mar-97

Feb-97

Jan-97

0.04169

0.08771

Jan-97

0.13356

0.19211

0.23099

Feb-97

-0.14924

0.06066

0.11803

0.16157

Mar-97

0.00594

-0.16831

0.08974

0.15315

0.19411

Apr-97

-0.26577

-0.29386

-0.49602

-0.18532

-0.12037

-0.08199

May-97

-0.18916

-0.36514

-0.42148

-0.62898

-0.28819

-0.22171

-0.17902

Jun-97

4.17381

4.11034

3.96610

3.88083

3.66866

4.03953

4.11379

4.15455

Jul-97

2.35980

6.59060

6.62414

6.50617

6.39743

6.18058

6.58536

6.66357

6.70241

Aug-97

3.63628

5.52500

9.82972

9.98543

9.86858

9.73636

9.52772

9.95352

10.03570

10.06714

Sep-97

0.90318

4.66135

6.47500

10.91186

11.13152

11.01579

10.87589

10.65967

11.10649

11.18912

11.21668

Oct-97

1.57788

2.32469

6.16076

7.99009

12.46836

12.75197

12.63476

12.48976

12.26596

12.73207

12.81689

12.84057

Nov-97

5.89439

7.47504

8.15611

12.07369

13.91509

18.43476

18.78637

18.66363

18.51355

18.28923

18.76756

18.85458

-

Dec-97

7.93743

14.01248

15.54104

16.17801

20.15546

22.00894

26.63081

26.98961

26.86136

26.71138

26.48133

26.97190

0.00000

-

Jan-98

-8.23274

-0.08100

6.03904

7.50633

8.10838

12.14571

14.05126

18.73532

19.10132

18.97728

18.81768

18.58191

18.22066

-

-

Feb-98

-5.02576

-13.29422

-4.99475

0.96315

2.57629

3.14341

7.26720

9.19825

13.94450

14.29918

14.19786

14.02865

12.57849

-

-

-

Mar-98

2. The spread is the difference between the actual (future) spot rate at time t and the swap or forward rate under the obligation due at the same t period

1. See note 1 in table 1 for the interpretation of time in terms of columns and rows

0.03570

Nov-96

Dec-96

Dec-96

Time

-1.93798

-6.98622

-15.26128

-6.80523

-1.01833

0.74066

1.29573

5.48311

7.43964

12.23349

12.59146

12.51286

-

-

-

-

-

Apr-98

-0.54470

-2.42245

-7.52068

-15.71343

-7.18970

-1.57380

0.32573

0.87407

5.12503

7.12446

11.94848

12.30975

-

-

-

-

-

-

May-98

2.61441

2.15514

0.23773

-4.90187

-13.02092

-4.42952

1.35681

3.05545

3.59705

7.90851

9.95392

14.80812

-

-

-

-

-

-

-

Jun-98

-1.51205

1.27817

0.84457

-1.47947

-6.29346

-14.33882

-5.70528

0.27702

1.77477

2.29098

6.68158

8.77298

-

-

-

-

-

-

-

-

Jul-98

0.29193

-1.44805

1.49753

1.06365

-1.64108

-6.12946

-14.06121

-5.42545

0.75282

2.00839

2.54052

7.01025

-

-

-

-

-

-

-

-

-

Aug-98

(Unit: Baht per U.S. dollar)

Table 2. Spread between Actual Spot Rate and Swap or Forward Rate under the Forward Obligations (On-Shore)

29


0.024687

-

0.033661

-0.00897

-

-

Apr-97

0.190003

-

-

0.173606

-

-

0.016398

May-97

0.689332

0.414264

-

-

0.113216

-

0.161851

-

Jun-97

-19.1292

-16.9039

-0.20552

-

-

-

-2.01977

-

-

Jul-97

-12.0267

-6.06469

-0.65906

-0.33121

-

-

-3.52293

-1.44878

-

-

Aug-97

-13.414

-2.32722

-0.7735

-3.24381

-

-

-

-1.04805

-

-6.02142

-

Sep-97

-7.52701

-1.11091

-0.04661

-6.15125

-0.21824

-

-

-

-

-

-

-

Oct-97

-10.2858

-3.99203

-0.39520

-2.21787

-0.47941

-

-1.2752

-

-

-

-

-

-1.92609

Nov-97

-33.4653

-3.00614

-3.99650

-0.84516

-0.2783

-11.6139

-2.81795

-

-

-0.91446

-9.99293

-

Dec-97

-61.4976

-5.63557

-0.84075

-17.0951

-0.16178

-

-23.7697

-2.39677

-

-

-

-

-11.5979

-

-

Jan-98

-1.26034

12.51377

0.00081

-5.19358

-

-

-1.09311

-0.28103

-

-

-

-

-5.20294

-2.00427

-

-

Feb-98

5.6219

7.387861

1.19648

3.546273

-0.10595

-

-0.88015

-0.21802

-

-2.7889

-

-

-

-2.5157

-

-

-

Mar-98

20.20191

2.422475

1.187658

16.63480

0.340262

-

-0.37033

-0.01296

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

Apr-98

8.169363

-0.01089

0.21802

5.414892

1.414208

-

1.133137

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

May-98

-1.7218

-1.25492

-0.36637

-0.42791

0.343131

0.651046

3.144962

-0.25779

-

-

-

-

-3.55395

-

-

-

-

-

-

-

Jun-98

Note:

2. Plus sign means profit or gain for BoT while minus sign refer to a loss for BoT.

1. Estimates from Table 1 and Table 2.

6.774576

0.498975

-0.05113

-2.17055

0.369867

-

9.176846

0.285264

-

-0.10649

-

-

-1.22822

-

-

-

-

-

-

-

-

Jul-98

0.31857

-2.69556

-0.42546

-

1.348481

1.687345

-

-0.00753

-

-

-0.0701

-

-

-

-

-

-

-

-

-

Aug-98

-119.13992

-0.17224

0.81754

-4.00160

-2.97327

2.58245

15.68202

43.27450

1.68200

-8.27860

-21.56399

-6.55750

-6.81810

-39.02604

-41.37855

-4.21561

0.00000

0.00000

-13.00746

-17.23255

-15.99624

-1.95668

Sum

(Unit: Billion Baht)

-0.01649

-0.21018

-0.12387

-0.0273

-0.05901

-

Mar-97

Sum

-0.21782

-0.12554

-0.05763

-0.03465

Feb-97

-0.17224

-0.03587

-0.02710

-0.00877

Jan-97

Jul-98

Jun-98

May-98

Apr-98

Mar-98

Feb-98

Jan-98

Dec-97

Nov-97

Oct-97

Sep-97

Aug-97

Jul-97

Jun-97

May-97

Apr-97

Mar-97

Feb-97

Jan-97

-0.00357

-0.00357

Nov-96

Dec-96

Dec-96

Time

Table 3. Estimates of Gross Profit and Loss on official Forward Operations (On-Shore)

30


-1.13

-0.04

0.25

-0.39

-0.95

-

May-97

-2

-1.6

-0.05

-0.2

-0.1

-

-0.05

Jun-97

-1.94

-1.34

-0.2

-0.2

-

-

-0.2

-

Jul-97

-3.86

-0.49

0.28

-1.56

-

-

-1.04

-1.05

-

Aug-97

-0.54

0.22

0.02

0.01

-

-

-0.5

-0.19

-

-0.1

Sep-97

-0.96

-

-

-0.07

-0.1

-0.1

-0.69

-

-

-

-

Oct-97

-5.3

1

-

-

-

-

-6.24

-

-

-0.06

-

-

Nov-97

-0.09

-

-

-

-

-0.03

0.09

0.05

-

-

-

-

-0.2

Dec-97

-0.12

-

-

-

-

-

-0.12

-

-

-

-

-

-

-

Jan-98

-0.88

0.57

-

-

-0.25

-

-

-

-

0.1

-

-

-0.65

-0.65

-

Feb-98

-1.12

0.02

-

-

-

-

-0.03

-

-

-

-

-0.01

0.01

-1.11

-

-

Mar-98

-0.27

0.20

-

-

-

-

-

-

-

-0.07

-

-

-0.40

-

-

-

-

Apr-98

-3.58

0.53

0.06

-

-0.01

-

-

-0.32

-

-

-

-

-3.84

-

-

-

-

-

May-98

0.1

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

0.1

-

-

-

-

-

-

Note:

-

-

-

-

-

-

-

-

-0.21

-

-0.53

-0.05

-

-

-

-

-

-

-

Aug-98

Sum

-22.9

0.09

0.00

0.00

0.53

0.26

0.02

0.56

0

0

0.22

-0.03

-0.31

-1.33

-0.96

-13.39

-1.39

-1.53

-2.54

-2.11

-0.99

3. The data used in the above calculation is based on the Bank of Thailand’s outstanding forward obligations.

2. Minus sign refers to BoT’s Buy-Sell swap and out-right forward obligations while plus sign is the opposite situation for the BoT, i.e. Sell-Buy swap and out-right forward purchase of dollar.

structures in out-right forward and swap transactions taken by the BoT.

1. Time period by column refers to the period that the BoT enters into the out-right forward and swap transactions while time on the row basis refers to obligation under different maturity

-0.52

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-0.52

-

-

-

-

-

-

-

Jul-98

(Unit: Billion U.S. dollar) Jun-98

-0.7

-1.29

-1.09

-0.1

-0.1

-

Apr-97

0.09

0.35

1.1

-0.65

-0.1

Mar-97

Sum

1.09

1.49

-0.4

Feb-97

Jul-98

Jun-98

May-98

Apr-98

Mar-98

Feb-98

Jan-98

Dec-97

Nov-97

Oct-97

Sep-97

Aug-97

Jul-97

Jun-97

May-97

Apr-97

Mar-97

Feb-97

-0.14

-0.14

Dec-96

Jan-97

Jan-97

Time

Table 4. Bank of Thailand's Forward Transactions (Off-Shore)

31


Note:

Jul-98

Jun-98

May-98

Apr-98

Mar-98

Feb-98

Jan-98

Dec-97

Nov-97

Oct-97

Sep-97

Aug-97

Jul-97

Jun-97

May-97

Apr-97

Mar-97

Feb-97

0.133539

0.192105

Feb-97

-0.1492

0.060645

0.118029

Mar-97

-0.11255

-0.16827

0.089719

0.153149

Apr-97

-0.37048

-0.59089

-0.60072

-0.29007

-0.22511

May-97

-1.65403

-1.67035

-1.99282

-1.93419

-1.59345

-1.52695

Jun-97

4.09576

3.76777

3.853511

3.510085

3.556071

3.926895

4.001168

Jul-97

1.61697

5.62150

5.71864

5.900985

5.542058

5.5754

5.980125

6.05836

Aug-97

2.53532

4.15773

7.90079

8.504170

8.702015

8.327587

8.361163

8.786912

8.869108

Sep-97

1.75411

4.37730

5.90490

9.77428

10.49610

10.70945

10.34145

10.35333

10.80011

10.88276

Oct-97

1.55395

3.18552

5.87500

7.42697

11.30348

12.14377

12.37002

12.01105

12.00123

12.46729

12.55213

Nov-97

5.19494

6.79349

8.38381

11.16492

12.71591

16.59957

17.58024

17.79747

17.44752

17.42307

17.90136

17.98839

Dec-97

7.815905

13.24351

14.84811

16.40718

19.26992

20.81994

24.76511

25.83180

26.04

25.6943

25.65998

26.1505

-26.4915

Jan-98

-7.5359

0.418638

5.977132

7.571907

9.115592

12.05996

13.66966

17.61569

18.7684

18.9773

18.62612

18.58194

19.08469

-

Feb-98

-4.79175

-12.7863

-4.69535

1.008376

2.578985

4.107291

7.168288

8.802662

12.74955

13.9835

14.19789

13.84122

13.78719

-

-

Mar-98

-1.69875

-6.53621

-14.9423

-6.65658

-0.86597

0.680475

2.204084

5.371028

7.030078

10.99624

12.29302

12.51288

-

-

-

-

Apr-98

-0.41107

-2.03729

-6.85467

-15.8606

-7.19181

-1.3143

0.202899

1.726887

4.999778

6.720078

10.66894

12.02855

-

-

-

-

-

May-98

2. The spread is the difference between the actual (future) spot rate at time t and the swap of forward rate under the obligation due at the same t period

1. See note 1 in table 3 for the interpretation of time in terms of columns and rows

0.041695

Dec-96

Jan-97

Jan-97

Time

1.881053

2.328093

0.768818

-4.56986

-13.6342

-4.58239

1.339994

2.86997

4.394336

7.742174

9.554724

13.48628

-

-

-

-

-

-

Jun-98

-2.1341

0.205652

1.056855

-0.83906

-6.29545

-15.4182

-5.91428

-0.01611

1.526636

3.027291

6.474167

8.378967

-

-

-

-

-

-

-

Jul-98

-0.13915

-2.51771

0.085843

1.056461

-0.89135

-6.46545

-15.4781

-5.69059

0.183368

1.702682

3.215836

6.76175

-

-

-

-

-

-

-

-

Aug-98

(Unit: Baht per U.S. dollar)

Table 5. Spread between Actual Spot Rate and Swap or Forward Rate under the Forward Obligations (Off-Shore)

32


Note:

Sum

Jul-98

Jun-98

May-98

Apr-98

Mar-98

Feb-98

Jan-98

Dec-97

Nov-97

Oct-97

Sep-97

Aug-97

Jul-97

Jun-97

May-97

Apr-97

Mar-97

Feb-97

0.122131

0.198973

-0.07684

Feb-97

-0.21535

-0.16413

-0.03942

-0.0118

Mar-97

0.130532

0.122677

0.016827

-0.00897

-

Apr-97

0.376948

0.014819

-0.147720

0.234281

0.27557

-

May-97

3.398288

2.646442

0.083517

0.398563

0.193419

-

0.076348

Jun-97

-7.79796

-5.48832

-0.75355

-0.770700

-

-

-0.78538

-

Jul-97

-20.2169

-0.79231

1.57402

-8.92107

-

-

-5.79842

-6.27913

-

Aug-97

-5.91939

0.55777

0.083155

0.079008

-

-

-4.16379

-1.58862

-

-0.88691

Sep-97

-9.8299

-

-

-0.41334

-0.97743

-1.04961

-7.38952

-

-

-

-

Oct-97

-74.9432

1.553955

-

-

-

-

-75.7771

-

-

-0.72007

-

-

Nov-97

2. Plus sign means profit or gain for BoT while minus sign refer to a loss for BoT.

1. Estimates from table 4 and Table 5.

-0.00584

-0.00584

Dec-96

Jan-97

Jan-97

Time

-1.60618

-

-

-

-

-0.38148

1.493961

0.879012

-

-

-

-

-3.59768

Dec-97

-2.49839

-

-

-

-

-

-2.49839

-

-

-

-

-

-

-

Jan-98

-28.7949

-4.29546

-

-

-1.89298

-

-

-

-

1.87684

-

-

-12.0783

-12.4051

-

Feb-98

-15.5264

-0.09583

-

-

-

-

-0.12322

-

-

-

-

-0.14198

0.138412

-15.3038

-

-

Mar-98

-5.83701

-0.33975

-

-

-

-

-

-

-

-0.49211

-

-

-5.00515

-

-

-

-

Apr-98

-46.436

-0.21787

-0.12224

-

0.158606

-

-

-0.06493

-

-

-

-

-46.1896

-

-

-

-

-

May-98

1.348628

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

1.348628

-

-

-

-

-

-

Jun-98

-4.35706

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-4.35706

-

-

-

-

-

-

-

Jul-98

-3.95381

-0.01252

-

-

-

-

-

-

-

-

-0.35756

-

-3.58373

-

-

-

-

-

-

-

-

Aug-98

-222.562

-0.01252

0

0

-0.21787

-0.46199

-0.09583

-4.13686

0

0

-0.76151

-0.12322

-3.02596

-8.85154

-1.97013

-127.289

-13.209

-3.65186

-35.2088

-19.0434

-4.50272

Sum

(Unit: Billion Baht)

Table 6. Estimates of Gross Profit and Loss on official Forward Operations (Off-Shore)

33


References Alba, Pedro; Chaessen, Stijn and Djanker, Simeon (1998). “Thailand’s corporate fnancing and governance structures.” World Bank Policy Research Working Paper, no. 2003. Alba, Pedro; Hernandez, Leonardo and Klingebiel, Daniela (1999). “Financial liberalization and the capital account, Thailand 1988-1997.” World Bank Policy Research Working Paper, no. 2188. Aliber, R.Z. (1962). “Counter-speculation and the forward exchange market: a comment.” Journal of Political Economy, pp. 609-613. Allayannis, George; Brown, Gregory W. and Klapper F. Leora (2001). “Exchange rate risk management, evidence from East Asia.” World Bank Policy Research Working Paper, no. 2606. Auten, H. John (1961). “Counter-speculation and the forward exchange market.” Journal of Political Economy, pp. 49-55. Auten, H. John (1961). “Monetary policy and the forward exchange market.” Journal of Finance, pp. 546-558. Burnside, Craig; Eichembaum, Martin and Rebelo Sergio (1999). “Prospective deficits and the Asian currency crisis.” World Bank Policy Research Working Paper, no. 2174. Chunanantathum, Supote (1998). “Thai economic crisis: causes, policies and adjustment to equilibrium.” Paper (in Thai) presented at the annual symposium, Faculty of Economics, Thammasat University. Dornbusch, Rudi (2000). “STIGLITZ vs the IMF: another view.” Letter to the Editor of The New Republic. Einzig, Paul (1961). A dynamic theory of forward exchange. London: Macmillan. His earlier publication titled The Theory of Forward Exchange was in 1937. Einzig, Paul (1963). “Some recent developments in official forward exchange operations.” Economic Journal, pp. 241-253.


60

Fischer, Stanley (1998). “Reforming world finance lessons from a crisis.” IMF Survey Special Supplement. Furman, Jason and Stiglitz E. Joseph (1998). “Economic crises: evidence and in sights from East Asia.” Brookings Papers on Economic Activities, vol. 2, pp. 1-135. Goldstein, Henry (1963). “Counter-speculation in the forward exchange market: some further comments.” Journal of Political Economy, pp. 494-500. Goldstein, Henry (1964). “The implications of triangular arbitrage for forward exchange policy.” Journal of Finance, pp. 544-551. Keynes, J. Maynard (1923). A tract on monetary reform. London: Macmillan. Krugman, Paul (1979). “A model of balance-of-payments crisis.” Journal of Money, Credit and Banking, pp. 311-325. McKiblin, Warwick and Martin, Will (1999). “The east Asian crisis investigating causes and policy responses.” World Bank Policy Research Working Paper, no. 2172. Min, G. Hong and McDonald, A. Judith (1999). “Does a thin foreign exchange market lead to destabilizing capital-market speculation in the Asian crisis countries?” World Bank Policy Research Working Paper, no. 2056. Nidhiprabha, Bhanupong (1998). “Economic crisis and the debt-deflation episode in Thailand.” ASEAN Economic Bulletin, pp. 309-318. Nukul Commission. (Commission Tasked with Making Recommendations to Improve the Efficiency and Management of Thailand’s Financial System) (1998). “Analysis and evaluation of facts behind Thailand’s economic crisis.” English translation by Nation Multimedia Group, Bangkok Obstfeld, Maurice (1996). “Models of currency crises with self-fulfilling features.” European Economic Review, vol. 40, pp. 1037-1047. Obstfeld, Maurice (1986). “Rational and self-fulfilling balance-of payments crises.” American Economic Review, pp. 72-8l.

เศรษฐธรรม :: รวมบทปาฐกถากีรตยาจารย์แห่งเศรษฐศาสตร์ธรรมศาสตร์


61

Obstfeld Maurice (1986). “Speculative attack and the external constraint in a maximising model of the balance of payments.” Canadian Journal of Economics, vol. 29, pp. 1-22. Pomerleano, Michael (1998). “The East Asia Crisis and Corporate Finances: The Untold Micro Story.” World Bank Policy Research Working Paper, no. 1990. Radelet, Steven and Sachs D. Jeffrey (1998). “The East Asian financial crisis: diagnosis, remedies, prospects.” Brookings Papers on Economic Activity vol. 1, pp. 1-90. Rozen E. Marvin (1965). “The rationality of official intervention in the forward exchange market: comment.” Quarterly Journal of Economics, pp. 146-152. Sachs, Jeffey; Tornell, Aaron and Valasco (1996). “Financial crises in emerging markets: the lessons from 1995.” Brookings Papers on Economic Activity, vol. (i), pp. 147-215. Siamwalla, Ammar (2000). “Anatomy of the Thai economic crisis.” an unpublished paper. Spraos, John (1959). “Speculation arbitrage and sterling.” Economic Journal, pp. 1-21. Stein, Jerome (1963). “The rationality of official intervention in the forward exchange market.” Quarterly Journal of Economics, pp. 312-316 See also Stein’s reply to comments by Rozen and Ward in this same journal. Tsiang, S.C. (1959). “The theory of forward exchange and effects of government intervention on the forward exchange market.” International Monetary Fund Staff Papers, April 1959, pp. 75-106. Vanitcharearnthum, Vimut (1998). “Swaps and the decision to abandon the parity.” Unpublished paper presented at the conference on A Mac roeconomic Core of an Open Economy for Progressive Industrializa tion and Development of Asia in the New Millennium, Bangkok. Yeager, B. Leland (1976). International monetary relations: theory, history, and policy. New York: Harper and Row. สุพจน์ จุนอนันตธรรม


61

อภิชัย พันธเสน


62

2

จุดยืนของพุทธเศรษฐศาสตร์ กับปัญหาความยากจน (ความทุกข์)

บทความทางวิชาการ เสนอต่อ KPI Congress V เรือ่ ง “ประชาธิปไตยกับการขจัดความยากจน” เมื่อวันที่ 15-17 พฤศจิกายน 2546 ณ ศูนย์ประชุมสหประชาชาติ กรุงเทพมหานคร เศรษฐธรรม :: รวมบทปาฐกถากีรตยาจารย์แห่งเศรษฐศาสตร์ธรรมศาสตร์


63

ศาสตราจารย์ ดร.อภิชัย พันธเสน กีรตยาจารย์แห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ สาขาสังคมศาสตร์ ประจำ�ปี 2545

อภิชัย พันธเสน


64

1. เกริ่นนํา

ประเด็นที่ผู้เขียนถูกกํ าหนดให้คือ “เศรษฐกิจแนวพุทธเพื่อแก้ปัญหา ความยากจน” ซึ่งอาจจะทําให้เข้าใจได้ว่า ผู้ที่กําหนดหัวข้อนี้ประสงค์ จะให้ผู้เขียนนําเอาหลักธรรมข้อที่ว่าด้วย โภชเน มัตตัญญุตา คือการ บริ โ ภคแต่ พ อประมาณหรื อ แต่ พ อดี เพื่ อ ให้ ร่ า งกายได้ รั บ สารอาหาร ที่ ค รบถ้ ว น เพื่ อ มี สุ ข ภาพร่ า งกายที่ แ ข็ ง แรง ซึ่ ง เป็ น พื้ น ฐานที่ สํา คั ญ ของการมีสุขภาพจิตที่ดี รวมถึงการบริโภคปัจจัยอื่นอย่างพอประมาณ ไม่ว่ายารักษาโรค เครื่องนุ่งห่ม ที่อยู่อาศัย หรือจะนําเอาปัจจัยสําคัญ อื่นๆ ในปัจจุบัน คือการคมนาคมติดต่อ ไม่ว่าพาหนะเพื่อการเดินทาง หรือเครื่องมือในการติดต่อสื่อสารที่ใช้ตามหน้าที่และความจําเป็นของ เครื่องมือเหล่านั้น โดยพิจารณาให้เหมาะสมกับรายได้ ก็จะสามารถ แก้ปัญหาความยากจนได้ ซึ่งในที่นี้หมายถึงการมีวัตถุเพื่อการใช้หรือ การบริโภคแต่พอดี ซึ่งจะต้องย้อนกลับไปใช้ระดับรายได้มาเป็นเครื่องวัด ระดับความยากจน เพียงเท่านีก้ ไ็ ม่จําเป็นจะต้องเสนอให้ผเู้ ขียนแสดงความ คิดเห็น เพราะชาวพุทธโดยทั่วไปที่พอเข้าใจหลักพุทธธรรมในระดับหนึ่ง ก็สามารถอธิบายเรื่องนี้ได้ และเชื่อว่าท่านทั้งหลายก็เข้าใจประเด็นนี้เป็น อย่างดีแล้ว ถ้าหากจะพลิกแพลงนิดหน่อยเพื่อใช้ภาษาที่ร่วมสมัยมากขึ้น ก็คือ การนําพระราชดํารัสเรื่องเศรษฐกิจพอเพียงมาประยุกต์ใช้ในชีวิต เศรษฐธรรม :: รวมบทปาฐกถากีรตยาจารย์แห่งเศรษฐศาสตร์ธรรมศาสตร์


65

ประจําวัน เท่านีก้ เ็ ป็นการเพียงพอ สําหรับท่านทีย่ งั ไม่ชดั เจนในความหมาย ของเศรษฐกิจพอเพียง ผมก็ขออันเชิญพระราชดํารัสของพระองค์ เมื่อ วันที่ 4 ธันวาคม 2541 ณ ศาลาดุสดิ าลัย มาขยายความว่า ความพอเพียง หมายถึง ความพอประมาณและความมีเหตุผล โดยได้ทรงอธิบายเพิ่มเติม ถึงความหมายของการมีเหตุผลว่า “คือการซือ่ ตรง ไม่โลภอย่างมาก คนเรา ก็อาจจะเป็นสุข พอเพียงนี้อาจจะมีมาก อาจจะมีของหรูหราก็ได้ แต่ต้อง ไม่เบียดเบียนคนอื่น” คําที่มีความสําคัญในที่นี้ก็คือ “ต้องไม่เบียดเบียนคนอื่น” ซึ่งก็ หมายความว่า ของที่จะใช้ในการบริโภคควรจะได้มาจากนํ้าพักนํ้าแรง ของตนเอง ซึ่งจะต้องหมายความต่อไปถึงการซื่อสัตย์สุจริต การไม่เอารัด เอาเปรียบผูอ้ นื่ “การมีเหตุผล” ในลักษณะดังกล่าวคือการมีเหตุผลตามแนว พุทธธรรม นั่นก็คือ ถ้าหากทุกคนบริโภคแต่พอประมาณตามสถานภาพ แห่งตนโดยที่ไม่เบียดเบียนผู้อื่น สังคมทั้งหมดก็จะอยู่เย็นเป็นสุข เมื่อ สังคมอยู่เย็นเป็นสุข บุคคลแต่ละคนซึ่งเป็นสมาชิกในสังคมดังกล่าวก็ย่อม จะมีความอยู่เย็นเป็นสุขไปด้วย มีความเป็นเหตุเป็นผลซึ่งกันและกันตาม หลักคิดในพุทธธรรม นั่นก็คือ ผลของทุกสิ่งทุกอย่างเกิดจากเหตุปัจจัย จะเห็นได้ว่า คําว่า “การมีเหตุผล” ในความหมายเช่นนี้ต่างกับ คําว่า rational หรือ economic rational ซึ่งได้มีการแปลเป็นภาษาไทยว่า “ความมีเหตุผล” และก่อให้เกิดความเข้าใจไขว้เขว เพราะคําว่า rational ในภาษาอังกฤษตามรากศัพท์ที่มีวิวัฒนาการมาตั้งแต่ก่อนถึงยุค Enlightenment (ประมาณศตวรรษที่ 17 และ 18) ในยุโรป ซึ่งในยุค Enlightenment นั้นมีการอธิบายคําว่า rational ในความหมายของ reason ซึ่งมี รากความคิดของเหตุผลในเชิงของตรรกะ หรือให้เฉพาะเจาะจงลงไปอีก ก็คือ ตรรกะในทางคณิตศาสตร์ (mathematical logic) ซึ่งก็ยังแตกต่าง กับความหมายของเหตุผลในพุทธธรรมอยู่ดี โดยก่อนหน้านั้น ในยุโรป (ยุคกรีกเป็นต้นมา) ความหมายของคําว่า rational น่าจะใกล้เคียงกับคําว่า “การคิดดี คิดชอบ” มากกว่า ขณะเดียวกัน คําว่า economic rational ทีส่ อน กันในวิชาเศรษฐศาสตร์นั้น ได้มีการแปลเป็นภาษาไทยว่า “การมีเหตุผล” อภิชัย พันธเสน


66

เช่นเดียวกัน ซึ่งก่อให้เกิดความสับสน เพราะการมีเหตุผลของ economic rational นั้นมาจากคําอธิบายว่าคือการเห็นแก่ประโยชน์ส่วนตน (selfinterest) ซึ่งตราบใดที่การเห็นแก่ประโยชน์ส่วนตนจํากัดอยู่เพียงการมี ปัจจัยสี่ โดยเน้นผลไปสู่การมีชีวิตรอด (survival) ก็มิใช่สิ่งที่เสียหายแต่ อย่างใด แต่ถ้าหากการเห็นแก่ประโยชน์ส่วนตนมีมากกว่าการมีชีวิตอยู่ รอด ก็สามารถเข้าใจได้ว่าถ้าหากทุกคนมุ่งที่จะแสวงหาแต่ผลประโยชน์ ส่วนตน สังคมโดยส่วนรวมก็จะอยู่ไม่ได้ ถึงแม้ในระยะสั้น สังคมโดย ส่วนรวมจะอยู่ได้ เพราะทรัพยากรธรรมชาติและระบบนิเวศยังจะพอ ปรับแก้ไขตัวเองได้ก็ตาม แต่ในระยะยาว ถ้าหากระบบนิเวศพังทลายลง มนุษย์ยอ่ มไม่สามารถอยูไ่ ด้ และสังคมก็อยูไ่ ม่ได้เช่นกัน ดังนัน้ economic rational ที่หมายถึงการเห็นแก่ประโยชน์ส่วนตนเกินกว่าการมีชีวิตรอด ในความหมายทีส่ ามารถเข้าใจได้โดยทัว่ ไปก็คอื ความไม่มเี หตุผล ซึง่ ต่าง กับความมีเหตุผลในความหมายของเศรษฐกิจพอเพียงที่พระบาทสมเด็จ พระเจ้าอยู่หัวพระราชทานคําอธิบาย ประเด็นที่ต้องการนําเสนอในที่นี้ถึงแม้จะเป็นการขยายความ คําว่า “โภชเน มัตตัญญุตา” หรือ “เศรษฐกิจพอเพียง” แต่จะพยายาม ขยายความอย่างละเอียด เพราะจําต้องทําความเข้าใจความหมายของ คําว่า “พุทธเศรษฐศาสตร์” ซึ่งเป็นคําที่ยังไม่รู้จักกันแพร่หลาย และ “ความยากจน” ในความหมายที่ลึกซึ้งกว่าการไม่มีเงิน ดังที่มักจะเข้าใจ กันโดยทัว่ ไป โดยคําว่า “ความยากจน” ทีจ่ ะกล่าวถึงนี้ น่าจะมีความหมาย ใกล้เคียงกับคําว่า “ทุกข์” ในพุทธธรรม โดยที่คําว่า “ทุกข์” ดังกล่าว มี ความหมายที่ชัดเจนกว่าคําว่า “ความยากจน” มาก อีกทั้งจะต้องพิจารณา ปัญหาในเชิงโครงสร้างประกอบด้วย จึงจะสามารถเข้าใจเรื่องต่างๆ ได้ อย่างชัดเจนยิง่ ขึน้ ด้วยเหตุผลดังกล่าว ผูเ้ ขียนจึงขอตัง้ ชือ่ เรือ่ งเสียใหม่วา่ “จุดยืนของพุทธเศรษฐศาสตร์กับปัญหาความยากจน (ความทุกข์)” และ เมือ่ มีการนําคําใหม่สองคํามาใช้ คือ “พุทธเศรษฐศาสตร์” กับ “ความยากจน” หรือ “ความทุกข์” จึงต้องมีการอธิบายคําทั้งสองนี้ใหม่อย่างชัดเจนอีกครั้ง เศรษฐธรรม :: รวมบทปาฐกถากีรตยาจารย์แห่งเศรษฐศาสตร์ธรรมศาสตร์


67

2. พุทธเศรษฐศาสตร์

คําว่า “พุทธเศรษฐศาสตร์” สามารถจําแนกคําได้เป็นสองคําคือ “พุทธ” และ “เศรษฐศาสตร์ ” คํ า ว่ า “พุ ท ธ” หมายถึ ง ความเป็ น ผู้ รู้ ผู้ ตื่ น ผู้เบิกบาน ส่วนคําว่า “เศรษฐศาสตร์” เป็นชื่อวิชาที่พัฒนามาจากแนวคิด ตะวันตกที่ว่าด้วยการผลิต การบริโภค ตลอดจนการกระจายผลผลิต เพื่ อ ให้ เ กิ ด สวั ส ดิ ก าร (welfare) สู ง สุ ด ต่ อ ทั้ ง ผู้ บ ริ โ ภคและสั ง คมโดย ส่วนรวม โดยมีการใช้ทรัพยากรให้น้อยที่สุด “พุทธเศรษฐศาสตร์” จึง เป็นวิชาเศรษฐศาสตร์ที่เข้าใจได้โดยผู้รู้ ผู้ตื่น ผู้เบิกบาน เมื่อเป็นเช่น นี้ วิชานี้จึงน่าจะเป็นวิชาสําหรับผู้ที่ประสงค์จะเป็นผู้รู้ ผู้ตื่น ผู้เบิกบาน ซึ่งมีความหมายต่อไปว่าวิชาเศรษฐศาสตร์ในปัจจุบันที่สอนกันในสถาน ศึกษาทั่วโลกอาจจะไม่มีสถานภาพเช่นว่านี้ และควรจะถูกทดแทนในที่สุด ด้วยพุทธเศรษฐศาสตร์ ขณะเดียวกันก็ไม่ควรจะเรียกว่า “เศรษฐศาสตร์แนวพุทธ” ถึงแม้ ว่าคําดังกล่าวจะมีความหมายไม่ต่างจาก “พุทธเศรษฐศาสตร์” มากนัก แต่ให้ความหมายว่าเป็นแนวหนึ่งของวิชาเศรษฐศาสตร์ที่มีหลายแนว โดยที่เศรษฐศาสตร์แนวพุทธเป็นเพียงแนวหนึ่งของวิชาเศรษฐศาสตร์ ซึ่งก็ไม่ผิด แต่มีความหมายต่อไปว่าเศรษฐศาสตร์ที่มีอยู่แล้วในแนวทาง อภิชัย พันธเสน


68

ต่างๆ ก็อาจจะดีอยู่แล้ว ไม่ต้องปรับแก้ไขหรือต้องมีการอธิบายใหม่ ซึ่งถ้าคิดเช่นนี้ย่อมไม่ถูกต้อง จึงอยากจะสื่อให้เข้าใจตั้งแต่แรกว่า การ พั ฒ นาพุ ท ธเศรษฐศาสตร์ ใ ห้ มี ส ถานภาพเป็ น วิ ช าหรื อ องค์ ค วามรู้ นั้น มีวัตถุประสงค์เพื่อที่จะเชิญชวนให้คนทั้งโลกหันมาให้ความสนใจ เศรษฐศาสตร์แบบนี้ ซึ่งจะเป็นเศรษฐศาสตร์ที่สอดคล้องกับชีวิตความ เป็นอยู่ของมนุษย์และของโลกด้วยในระยะยาว พุ ท ธเศรษฐศาสตร์ ไ ม่ มี ส ถานภาพเป็ น ปรั ช ญาหรื อ ศาสนา ในความหมายที่ เ ข้ า ใจกั น ทั้ ง นี้ เ พราะคํา ว่ า “พุ ท ธ” นั้ น มาจากคํา ว่ า “พุทธธรรม” ซึ่งมีความหมายว่าเป็นคําสอนของพระพุทธเจ้า “พุทธธรรม” โดยอรรถาธิบายของท่านเจ้าคุณพระธรรมปิฎกในหนังสือ พุทธธรรม นั้น มิได้มีสถานภาพเป็นปรัชญา (Philosophy) และศาสนา (Religion) ตามที่ ให้คํานิยามโดยตะวันตก เพราะพุทธธรรมนั้นมีสถานภาพเป็นองค์ความรู้ ที่ผ่านการปฏิบัติและได้รับผลจากการปฏิบัติมาแล้ว ถ้าหากจะใช้แนวคิด แบบตะวันตกก็คือ ทฤษฎีที่ได้รับการพิสูจน์โดยการปฏิบัติมาแล้ว (tested theories) จึงต่างกับปรัชญาซึง่ เป็นเพียงแนวคิดทีล่ กึ ซึง้ ทีด่ ี ทีเ่ ป็นประโยชน์ จะปฏิบัติได้หรือไม่ก็ได้ และที่สําคัญที่สุดก็คือ นักปรัชญาไม่จําเป็นต้อง ปฏิบัติให้ได้ตามข้อเสนอของเขาเอง พุทธธรรมมิใช่ศาสนาตามความหมายของตะวันตกที่จะต้องเริ่ม จากศรัทธาหรือความเชื่อ เนื่องจากพุทธธรรมเป็นความรู้ที่ได้มาจาก การปฏิบัติ ทําให้ผู้ปฏิบัติเข้าถึงความรู้เหล่านั้นได้ด้วยตนเอง คือเป็น ผู้รู้ ผู้ตื่น ผู้เบิกบานได้ด้วยตนเอง จึงเข้าถึงความรู้โดยผ่านการปฏิบัติ ด้ ว ยความ “เข้ า ใจ” คํ า ว่ า “เข้ า ใจ” มี ค วามหมายที่ ลึ ก ซึ้ ง เพราะมี ความหมายว่า “เข้าไปในใจ” ซึ่งต่างกับ understand ซึ่งอาจจะแปลว่า เป็นที่รับทราบ รับรู้ หรือเป็นที่ยอมรับกันโดยทั่วไป ทั้งนี้ความเข้าใจ ในเรื่องต่างๆ ย่อมขึ้นอยู่กับระดับการพัฒนาของจิตหรือ “ใจ” ของแต่ละ คน เมื่อเข้าใจในระดับที่มีความกระจ่างชัด หรือเป็นผู้รู้ ผู้ตื่น ผู้เบิกบาน ด้วยตัวเองแล้ว ก็ไม่จําเป็นต้องมีศรัทธา ศรัทธาอาจจะมีความจําเป็นบ้าง ในเบื้องต้นเมื่อความเข้าใจยังไม่ชัดเจน แต่เมื่อเข้าใจโดยชัดเจนแล้ว เศรษฐธรรม :: รวมบทปาฐกถากีรตยาจารย์แห่งเศรษฐศาสตร์ธรรมศาสตร์


69

ศรัทธาจึงไม่จําเป็น และถ้าหากยึดมั่นในศรัทธาเป็นหลัก ก็อาจจะเป็น อุปสรรคที่จะเข้าถึงการเป็นผู้รู้ ผู้ตื่น ผู้เบิกบานด้วยตนเอง ถ้าอธิบาย เช่นนี้ พุทธธรรมจึงมิใช่ศาสนา (Religion) ตามนิยามของตะวันตก และ เมื่อความรู้ทุกอย่างสามารถที่จะเข้าถึงได้ด้วยตัวมนุษย์เอง ความรู้เช่นนี้ จึงมีสถานภาพเป็น “วิทยาศาสตร์” แต่เป็นวิทยาศาสตร์ที่พัฒนาไปไกล กว่าวิทยาศาสตร์ที่มีพื้นฐานมาจากสสารหรือวัตถุ (matter) เพราะเป็น วิทยาศาสตร์สําหรับผู้ที่มีระดับการพัฒนาทางจิตที่แตกต่างกันด้วย ซึ่ง วิชาวิทยาศาสตร์ในปัจจุบันยังมิได้มีวิวัฒนาการไปไกลถึงขั้นนี้ เมื่อพุทธธรรมมีสถานภาพเป็น “วิทยาศาสตร์” จึงมีความเป็น สากล ดังนั้นพุทธเศรษฐศาสตร์จึงมิได้มีความหมายว่าเป็นเศรษฐศาสตร์ สําหรับชาวพุทธ แต่เป็นของมนุษยชาติผู้มีปัญญาทุกคน ไม่ว่าจะเป็น พุทธ คริสต์ อิสลาม ฮินดู หรือแม้กระทั่งผู้ที่ไม่นับถือศาสนาอะไร ดังนั้น จึงไม่ควรจะโยงพุทธเศรษฐศาสตร์ให้เป็น “เรื่องของศาสนา” เพราะถ้าจะ อธิบายคําว่า “พุทธศาสนา” ในความหมายแบบพุทธ ก็คือการประพฤติ ปฏิบัติตามคําสอน โดยเฉพาะอย่างยิ่งตามพระวินัยที่มีพระพุทธเจ้าเป็น พระศาสดาหรือเป็นผู้สอน เมื่อพระองค์ได้ปรินิพพานไปแล้ว คํ าสอน ของพระองค์ ห รือ พุ ทธธรรมได้ทํ าหน้ า ที่เ ป็ น ศาสดาแทนพระองค์ ซึ่ง ในพุทธธรรมก็เน้นความ “เข้าใจ” ที่เกิดจากการปฏิบัติเป็นหลัก จึงมี สถานภาพเป็น “วิทยาศาสตร์” ดังที่ได้อธิบายมาแล้ว แทนที่จะเป็น “ศาสนา” ตามความหมายที่อธิบายโดยศัพท์ที่ใช้ในตะวันตก เมื่อเป็น เช่นนี้ พุทธเศรษฐศาสตร์จึงมีสถานภาพเป็นวิชาความรู้เหมือนวิชาทั่วไป ซึ่งผู้มีความเชื่อหรือนับถือศาสนาใด หรือถึงแม้จะไม่มีศาสนา ก็สามารถ จะทําความเข้าใจได้ ไม่จําเป็นจะต้องจํากัดเฉพาะ “ชาวพุทธ” เท่านั้น โดยทั่ ว ไป วิ ช าเศรษฐศาสตร์ มั ก จะให้ คํ า นิ ย ามว่ า เป็ น วิ ช า ที่ว่าด้วยการดําเนินกิจกรรมทางเศรษฐกิจที่จะทําให้ปัจเจกบุคคลได้รับ ความพึงพอใจสูงสุด และสามารถทําให้สังคมได้บรรลุถึงสวัสดิการทาง สังคมสูงสุด ภายใต้เงื่อนไขความจํากัดของทรัพยากร ส่วนวิชาพุทธเศรษฐศาสตร์มีความหมายว่า เป็นวิชาที่ว่าด้วย อภิชัย พันธเสน


70

การดําเนินกิจกรรมทางเศรษฐกิจที่จะทําให้ปัจเจกบุคคลและสังคมบรรลุ ซึ่งศานติสุขจากการมีชีวิตอยู่ในโลกของวัตถุ ภายใต้เงื่อนไขของการมี ทรัพยากรที่จํากัด

เศรษฐธรรม :: รวมบทปาฐกถากีรตยาจารย์แห่งเศรษฐศาสตร์ธรรมศาสตร์


71

3. ความแตกต่างที่สําคัญระหว่างพุทธเศรษฐศาสตร์กับเศรษฐศาสตร์โดยทั่วไป

ความแตกต่ า งที่ สํ า คั ญ อยู่ ที่ ก ารอธิ บ ายเรื่ อ ง “ความสุ ข ” ซึ่ ง ต่ า งจาก คําว่า “happiness” และ “pleasure” ซึ่งใช้ในภาษาวิชาการว่า “utility” แล้วแปลกลับมาเป็นภาษาไทยว่า “อรรถประโยชน์” โดยที่คําว่า “อรรถ” แปลว่า ประโยชน์ โดยเฉพาะอย่างยิ่งประโยชน์จากการใช้ (utilization) ซึง่ ต่างกับความหมายของคําว่า utility ในภาษาอังกฤษ ซึง่ มีความใกล้เคียง กับภาษาไทยว่า “ความพึงพอใจ” หรือ pleasure มากกว่า ความพึงพอใจ หรือ pleasure หรือ utility หรืออรรถประโยชน์นั้น ได้รับการอธิบายว่ามี สถานภาพตรงกันข้ามกับความเจ็บปวด (pain) ดังนั้นมนุษย์ทั่วไปจึงพึง แสวงหา pleasure และหลีกเลี่ยง pain ซึ่งถือว่าเป็นการกระทําที่ rational (ที่ดี ที่ชอบ) คําเหล่านี้ ผู้เขียนจงใจจะไม่ใช้ภาษาไทยที่แปลมา เพื่อลด ความสับสน ปัญหาในกรณีนี้คือ pleasure ไม่ใช่ขั้วตรงกันข้ามของ pain ในความหมายที่แท้จริง เพราะ pleasure นั้นคือความยินดี ดีใจ ตื่นเต้น เร้าใจ ลิงโลดใจ หรืออะไรก็ตามที่เราพร้อมจะสละอะไรที่มีคุณค่าและ/หรือ มูลค่าแก่เราพอสมควร เพื่อที่จะแลกมาซึ่งสิ่งนั้นๆ เพราะสิ่งที่เราได้มาจะ อภิชัย พันธเสน


72

ทําให้เรามีความพึงพอใจมากกว่าสิ่งที่เราแลกหรือสูญเสียไป ปัญหาทีแ่ ท้จริงก็คอื สิง่ ทีเ่ ราคิดว่าจะทําให้เราได้รบั ความพึงพอใจ ไม่จําเป็นเสมอไปว่าจะทําให้เรามีความสุขอย่างแท้จริงในที่สุด เป็นต้นว่า ถ้าเราจินตนาการว่าการมีคนรักจะทําให้เรามีความสุข เราก็เริ่มมองหา คนที่เราอยากจะรัก แล้วก็พยายามทําให้บุคคลผู้นั้นรักเรา ยอมทุ่มเท ยอมทําทุกสิง่ ทุกอย่าง แต่เมือ่ รักกันแล้วเกิดความขัดแย้งและ/หรือไม่เข้าใจ กัน ก็อาจจะกลายเป็นความทุกข์ได้ เพราะสิ่งที่เราปรารถนาเป็นเพียง การ “คาดคะเน” ของเราเอง แต่ความจริงอาจจะเป็นคนละเรื่อง และถึงแม้ จะสมหวัง ผู้ที่มีประสบการณ์ในเรื่องความรักก็ย่อมจะบอกได้ว่าความรัก มิได้มีความหวานฉํ่าสดชื่นเสมอไป นอกจากนั้น วิชาเศรษฐศาสตร์ยังบอกเราว่า การได้รับ (to have) หรือการบริโภค (to consume) นั้นจะเป็นกระบวนการที่จะช่วยให้เรา สมปรารถนา ซึ่งก็เป็นความจริงในระดับหนึ่ง แต่ปัญหาก็คือ เมื่อเราได้รับ สิ่งต่างๆ สมความปรารถนาแล้ว ความรู้สึกสมปรารถนาดังกล่าวก็จะหมด ไปด้วย และหลังจากนั้นเราก็จะตั้งความหวังขึ้นมาใหม่กับสิ่งที่เราคิดว่า ยิ่งใหญ่กว่าหรือดีกว่าเดิม ระหว่างที่ยังไม่สมหวังก็เกิดมีความทุกข์ ต้อง ดิ้นรนขวนขวายไขว่คว้า โดยที่วิชาเศรษฐศาสตร์เสนอแนะให้เราทํางาน หาเงินหรือมีรายได้ให้มากขึ้น เพื่อให้ได้มาซึ่งสิ่งที่เราต้องการไขว่คว้า เพื่อให้เกิดความสมหวัง กระบวนการลักษณะเช่นนีเ้ ข้าใจได้ดใี นบรรดาท่านทีป่ ฏิบตั ธิ รรม ว่าเป็นการผลักดันหรือกดดันโดยกิเลสภายในใจของเราเอง ลักษณะเช่นนี้ จะทําให้เรามีความทุกข์เป็นระยะเวลายาวนานในช่วงที่ยังไม่สมหวัง และ จะมีความสุขเพียงระยะเวลาสัน้ ๆ เมือ่ สมหวังแล้วก็จะเริม่ มีความทุกข์ใหม่ การแสวงหาความพึงพอใจจึงไม่ใช่วิถีที่จะนําไปสู่ความสุขอย่างแท้จริง ถ้าอธิบายตามหลักธรรมชาติของจิตมนุษย์ตามที่ได้กล่าวมาแล้ว ส่วนความสุขในพุทธธรรมนั้นหมายถึงภาวะที่ความทุกข์ลดลง ถ้าความทุกข์เปรียบเหมือนความร้อน ความสุขก็คือการที่ความร้อนลดลง จนนําไปสูค่ วามสงบเย็น ดังนัน้ ความสุขในพุทธธรรมจึงเป็นขัว้ ตรงกันข้าม เศรษฐธรรม :: รวมบทปาฐกถากีรตยาจารย์แห่งเศรษฐศาสตร์ธรรมศาสตร์


73

กับความทุกข์อย่างแท้จริง ในระหว่างทางของกระบวนการลดความทุกข์ย่อมมีความสุข เข้ า มาแทนที่ แต่ มิ ไ ด้ ห มายความว่ า จะไม่ มี ค วามทุ ก ข์ เพี ย งแต่ เ มื่ อ สภาวการณ์ของการมีความทุกข์ลดลง ก็จะทําให้มีความสุขเพิ่มขึ้น ทุกๆ จุดทีเ่ ปลีย่ นแปลงไปจึงมีทงั้ ความสุขและความทุกข์ แต่ถา้ สามารถดับทุกข์ ได้สิ้นเชิง นั่นก็คือสภาวะนิพพาน

อภิชัย พันธเสน


74

4. ความสุขในพุทธธรรมมีสองชนิด

ความสุขที่ว่านี้อาจจําแนกได้เป็น สามิสสุข หรือ กามสุข และ นิรามิสสุข สามิสสุข คือความสุขที่ต้องอิงกับอามิส หรือจะต้องมีตัวล่อให้เกิดความ สุข ความสุขประเภทนี้เป็นความสุขในระดับเดียวกันกับความพึงพอใจ หรือ “อรรถประโยชน์” ที่อธิบายโดยวิชาเศรษฐศาสตร์ แต่พุทธธรรมมี ข้อเสนอของความสุขที่เหนือกว่าสามิสสุขหรือกามสุข นั่นก็คือ นิรามิสสุข คือความสุขที่มิได้อิงอามิส เช่น ความสุขจากการให้ ความสุขจากการมี ความเมตตา กรุณา รวมทั้งมุทิตา หรือแม้ความสุขจากการทําสมาธิ คือ ความสุขอันเกิดจากสภาวะจิตที่เป็นสมาธิ เป็นความสุขที่ไม่จําเป็นต้อง ได้รับอะไรเป็นเครื่องตอบแทน และส่วนสุดท้ายของนิรามิสสุขหรือความ สุขที่มิได้ต้องการเสพนี้ก็คือ วิมุติสุข หรือความสุขจากการหลุดพ้น นั่นคือ ความสุขจากนิพพาน ความสุขที่ปราศจากความทุกข์เจือปน โดยที่ความ สุขขั้นนิรามิสสุขนั้นสามารถเข้าถึงได้ด้วย “ปัญญา” ดังนั้นปัญญาจึงเป็น ปัจจัยที่สําคัญที่สุดในพุทธธรรม เศรษฐธรรม :: รวมบทปาฐกถากีรตยาจารย์แห่งเศรษฐศาสตร์ธรรมศาสตร์


75

แต่เนื่องจากพุทธธรรมเป็นคําสอนเพื่อการปฏิบัติสําหรับมนุษย์ ที่มีระดับของพัฒนาการทางจิตแตกต่างกัน จึงยอมรับการมีความสุขจาก การเสพหรือกามสุข แต่จะต้องเป็นการเสพด้วยความสํารวม คือจะต้อง ไม่เบียดเบียนตนเองและไม่เบียดเบียนผู้อื่น จึงจะเป็นความสุขที่ไม่ไปก่อ ความทุกข์ให้แก่ผู้ใด ซึ่งก็มีความหมายเช่นเดียวกับสิ่งที่พระบาทสมเด็จ พระเจ้าอยู่หัวทรงให้คําอธิบายความหมายของคําว่าเศรษฐกิจพอเพียง คือความพอประมาณและความมีเหตุผล ส่วนความมีเหตุผลนั้นคือจะต้อง ไม่โลภจนเกินไป และต้องไม่เบียดเบียนผู้อื่น ในเมื่อวิชาเศรษฐศาสตร์อธิบายคําว่า rational ซึ่งได้รับการแปล ที่ไม่ถูกต้องว่าความมีเหตุผล ว่าเป็นการปฏิบัติตามสัญชาตญาณของคน และสัตว์โดยทั่วไป นั่นก็คือการเห็นแก่ประโยชน์ส่วนตน (self-interest) โดยอธิบายว่าเป็นธรรมชาติเพื่อความอยู่รอดของตนเองและเผ่าพันธ์ุ อย่างทีอ่ ธิบายโดย ชาร์ลส์ ดาร์วนิ (Charles Darwin) ดังนัน้ การกระทําใดๆ ที่ทําเพื่อประโยชน์ส่วนตนล้วนแต่เป็นการกระทําที่มี rational ทั้งสิ้น จุดนี้ จึงเป็นจุดที่ยอมรับไม่ได้ในพุทธธรรม และเป็นความแตกต่างที่สําคัญ ระหว่างพุทธเศรษฐศาสตร์กับวิชาเศรษฐศาสตร์โดยทั่วไป

อภิชัย พันธเสน


76

5. จุดร่วมและจุดต่างของการเห็นแก่ประโยชน์ส่วนตน

วิ ช าเศรษฐศาสตร์ ที่ อ ธิ บ ายว่ า การเห็ น แก่ ป ระโยชน์ ส่ ว นตนคื อ การ กระทําที่มี rational ในปัจจุบันมีชื่อใหม่ว่า Autistic Economics ซึ่งมี ความหมายว่าเป็นวิชาเศรษฐศาสตร์ที่อยู่ในโลกสมมติของตนเอง ไม่ใช่ ในโลกแห่ ง ความเป็ น จริ ง แต่ ก็ มี ส่ ว นที่ อ ยู่ ใ นโลกแห่ ง ความเป็ น จริ ง บางส่วนด้วย ในส่วนที่อยู่ในโลกแห่งความเป็นจริงคือส่วนที่มีจุดร่วม กับพุทธเศรษฐศาสตร์ แต่ในส่วนที่อยู่ในโลกสมมติย่อมไม่มีจุดร่วมกับ พุทธธรรม ซึ่งอาจจะอธิบายด้วยภาพดังต่อไปนี้

เศรษฐธรรม :: รวมบทปาฐกถากีรตยาจารย์แห่งเศรษฐศาสตร์ธรรมศาสตร์


77

ภาพที่ 1 แสดงถึงความแตกต่างระหว่างความเห็นแก่ประโยชน์ส่วนตน ความปรารถนา และความโลภ

Autistic Economics ที่มีพื้นฐานบนวิชาวิทยาศาสตร์เชิงวัตถุ เป็นหลัก จะแบ่งส่วนวิทยาศาสตร์ (Scientific Realm) ออกจากส่วนที่ มิได้เป็นวิทยาศาสตร์ (Non-Scientific Realm) ส่วนวิทยาศาสตร์เป็น ส่วนที่จับต้องตรวจสอบได้ เนื่องจากวิทยาศาสตร์ประเภทนี้เข้าไปศึกษา วัตถุเป็นส่วนใหญ่ ความเป็นวิทยาศาสตร์ในลักษณะเช่นนี้มีการนํ ามา ใช้อธิบายในวิชาเศรษฐศาสตร์ แล้วเรียกเศรษฐศาสตร์ชนิดนี้ว่าเศรษฐศาสตร์ปฏิฐานนิยม (Positive Economics) ส่วนที่ไม่สามารถตรวจสอบ ได้แน่ชัดจะเรียกว่าเป็นปทัสฐานนิยม (Normative Economics) หรือการ ให้คุณค่า (Value Judgment) ความปรารถนา (Desire) และความโลภ (Greed) ในความเห็นของนักเศรษฐศาสตร์กลุม่ นี้ เห็นว่าทัง้ ความปรารถนา และความโลภมีความแตกต่างจาก Self-Interest แต่เป็นส่วนที่วัดได้ยาก จึงเหมารวมเอาว่าความปรารถนาและความโลภเป็นเรือ่ งของการให้คณ ุ ค่า (Value Judgment) และจัดไว้เป็นเรื่องของปทัสฐานนิยม

อภิชัย พันธเสน


78

ในส่ ว นของความเห็ น แก่ ป ระโยชน์ ส่ ว นตนเพื่ อ ความจํ า เป็ น ในการอยู่รอด เป็นปฏิฐานนิยม โดยวัดจากความจําเป็นที่จะต้องมีปัจจัยสี่ และใช้การอยูร่ อดของชีวติ เป็นตัวกําหนดความจําเป็น การเห็นแก่ประโยชน์ ส่วนตนเพื่อการมีชีวิตอยู่รอดจึงมิได้เป็นสิ่งที่มีความเลวร้าย เพราะถ้า หากไม่เห็นแก่ประโยชน์ส่วนตนแล้วทําให้สิ่งมีชีวิตนั้นๆ ไม่สามารถมีชีวิต อยู่รอดได้ ก็จะสูญสิ้นเผ่าพันธ์ุ รวมทั้งมนุษย์เองด้วย ในกรณีดังกล่าว ย่อมไม่มีความจําเป็นจะต้องมีความรู้ใดๆ ที่เป็นประโยชน์สําหรับมนุษย์ อี ก ต่ อ ไป ในเมื่ อ ในความเป็ น จริ ง คื อ การไม่ มี ม นุ ษ ย์ อ ยู่ ใ นโลกอี ก แล้ ว ดังนั้นการเห็นแก่ประโยชน์ส่วนตนเพื่อความอยู่รอดจึงเป็นสิ่งจําเป็น และเป็นเงื่อนไขที่จําเป็นและพอเพียงในการมีความรู้ของมนุษย์ แต่ใน พุ ท ธเศรษฐศาสตร์ มี ค วามเห็ น มากไปกว่ า นั้ น กล่ า วคื อ การเห็ น แก่ ประโยชน์ส่วนตน จําเป็นจะต้องไม่เป็นการเบียดเบียนผู้อื่นด้วย ในทางตรงกันข้าม การมีปัจจัยสี่ไม่เพียงพอ ทําให้ชีวิตมีความ ยากลําบาก เกิดเป็นความทุกข์ทางกายภาพ คือทุกขเวทนา ซึ่งต้องได้รับ การบําบัด ทุกขเวทนานี้จะอธิบายใหม่ว่าเป็น “ความยากจน” ก็ได้เช่นกัน เพราะถ้าหากมนุษย์ยังคงมีความกังวลว่าจะไม่สามารถมีชีวิตอยู่รอดได้ ก็ไม่มีโอกาสพัฒนาจิตให้สูงกว่าในระดับที่เป็นอยู่ได้ ดังนั้นจึงเห็นได้ว่า การเห็นแก่ประโยชน์ส่วนตนที่มีจุดเน้นอยู่ที่การมีชีวิตอยู่รอด เป็น จุดร่วมระหว่างเศรษฐศาสตร์ปฏิฐานนิยมกับพุทธเศรษฐศาสตร์ แต่ เ นื่ อ งจากวิ ช าเศรษฐศาสตร์ ใ ห้ ค วามสนใจเฉพาะส่ ว นที่ เป็ น วิ ท ยาศาสตร์ เ ชิ ง วั ต ถุ และไม่ พ ยายามพั ฒ นาไปสู่ วิ ท ยาศาสตร์ ที่ ส อดคล้ อ งกั บ การพั ฒ นาจิ ต ในระดั บ ที่ ต่ า งกั น จึ ง ตั ด ส่ ว นที่ คิ ด ว่ า ไม่สามารถวัดได้ หรือส่วนที่วิชาดังกล่าวเรียกว่าเป็นการให้คุณค่าออกไป จึงไม่เน้นคําอธิบายความหมายของความปรารถนาและความโลภ เน้น เพียงอย่างเดียวคือการเห็นแก่ประโยชน์ส่วนตน (Self-Interest) (ขอให้ดู จากภาพที่ 2) ซึ่งแสดงให้เห็นว่า เมื่อยึดเอาเฉพาะส่วนของมนุษย์ที่เป็น ความเห็นแก่ประโยชน์สว่ นตน และขยายขอบเขตเข้าไปถึงความปรารถนา เศรษฐธรรม :: รวมบทปาฐกถากีรตยาจารย์แห่งเศรษฐศาสตร์ธรรมศาสตร์


79

และความโลภ โดยเหมารวมเรียกว่าเป็นความเห็นแก่ประโยชน์ส่วนตน ทําให้สถานภาพของวิชามิได้ตั้งอยู่บนพื้นฐานความเป็นจริงอีกต่อไป ซึ่ง ควรได้รับการเรียกชื่อใหม่ว่าเป็นวิชาเศรษฐศาสตร์ที่มิได้มีพื้นฐานของ ความเป็นจริง (Autistic Economics) ดังกล่าวมาแล้ว ภาพที่ 2 การทำ�ให้วิชาเศรษฐศาสตร์เป็นวิชาที่ไม่อยู่บนพื้นฐาน ของความเป็นจริง (Autistic Economics)

จากจุดนี้ทําให้การเห็นแก่ประโยชน์ส่วนตน ความปรารถนา และ ความโลภ กลายเป็นเรื่องเดียวกัน โดย Autistic Economics จะให้การ สนับสนุนว่าการกระทําดังกล่าวเป็นการกระทําที่มี rational ซึ่งมีการแปล เป็นภาษาไทยว่าความมีเหตุผล ซึง่ แท้จริงแล้วคือความไม่มเี หตุผล เพราะ ถ้าทุกคนมีแต่ความโลภ โลกย่อมอยู่ไม่ได้ และมนุษย์ทุกคนก็จะอยู่ไม่ได้ จึงน่าจะเป็นการกระทําที่ไม่มีเหตุผลมากกว่าเป็นการกระทําที่มีเหตุผล ดังนั้นวิชาเศรษฐศาสตร์ที่อยู่บนพื้นฐานดังกล่าวจึงเป็นวิชาเศรษฐศาสตร์ ที่มิได้อยู่บนพื้นฐานความเป็นจริงดังที่ได้กล่าวมาแล้ว อภิชัย พันธเสน


80

ประเด็นดังกล่าวเป็นจุดแตกหักระหว่างวิชาพุทธเศรษฐศาสตร์ กับ Autistic Economics เนื่องจาก Autistic Economics ไม่ต้องการ อธิ บ ายความแตกต่ า งระหว่ า งความเห็ น แก่ ป ระโยชน์ ส่ ว นตน ความ ปรารถนา และความโลภ เนื่องจากไม่สามารถอธิบายความแตกต่างที่มี ปริมาณหรือเส้นแบ่งที่ชัดเจน เพราะเกรงว่าจะทําให้วิชาของตนไม่เป็น “วิทยาศาสตร์” จึงเอาความปรารถนาและความโลภไปรวมกับความเห็น แก่ประโยชน์ส่วนตนที่มีจุดเน้นอยู่ที่ความอยู่รอดของชีวิตเท่านั้น ซึ่งเป็น สิ่งที่ไม่ถูกต้อง ภาพที่ 3 แสดงถึงความสามารถในการอธิบายประสิทธิภาพ ในการบริโภคอย่างชัดเจนของพุทธเศรษฐศาสตร์

เศรษฐธรรม :: รวมบทปาฐกถากีรตยาจารย์แห่งเศรษฐศาสตร์ธรรมศาสตร์


81

ภาพที่ 3 อธิบายว่าเหตุใด Autistic Economics จึงไม่เน้นเรื่อง อื่นนอกจากการเห็นแก่ประโยชน์ส่วนตนแต่เพียงอย่างเดียว ซึ่งอธิบาย ได้ง่ายว่า ความเป็นจริงของสรรพสิ่งนั้นจะมีลักษณะต่อเนื่องที่มีจุดเด่น อยู่ที่แกนกลาง และจะค่อยๆ จางหายไป เหมือนการโยนก้อนหินลงในนํ้า นิ่ง ก็จะเกิดคลื่นใหญ่ตรงกลาง และค่อยๆ จางลงไปทีละน้อย ลักษณะ ดังกล่าวจึงยากที่จะกําหนดขอบเขตของคําที่มีความหมายหนึ่งได้อย่าง แน่นอน เพราะมีลักษณะต่อเนื่อง (Continuum) เมื่อความจริงของเรื่อง ที่ต้องการศึกษาเป็นเช่นนี้ แต่วิทยาศาสตร์วัตถุนิยมกลับเน้นการแบ่ง ขอบเขตของคําที่มีความหมายต่างกันให้ชัดเจน ก็ทําให้วิทยาศาสตร์ วัตถุนยิ มไม่สามารถแบ่งความคิดทีม่ ธี รรมชาติเป็นเช่นนีไ้ ด้ การไม่สามารถ แบ่งได้ มิได้หมายความว่าสิ่งต่างๆ ที่เอ่ยถึงไม่มีจริง ดังนั้นการจะทําให้ ความคิดเด่นชัดในแบบวิทยาศาสตร์วัตถุนิยมจึงเป็นการปฏิเสธโลกแห่ง ความเป็นจริง การบริโภคอย่างมีประสิทธิภาพนี้ ถ้าหากเอาการมีชีวิตอยู่รอด เป็ น จุ ด ชี้ ข าด ก็ ส ามารถแบ่ ง ได้ อ ย่ า งชั ด เจนเช่ น กั น เพราะสามารถ คํานวณได้แน่ชัดว่ามนุษย์แต่ละคนต้องการอาหาร เสื้อผ้า เครื่องนุ่งห่ม ยารักษาโรค และที่อยู่อาศัยที่แตกต่างกัน ในลักษณะใด เป็นปริมาณ เท่าใด ดังนั้นการบริโภคเพียงเพื่อให้มีชีวิตอยู่รอดคือการบริโภคอย่างมี ประสิทธิภาพสูงสุด ส่วนความสุขของมนุษย์ที่แท้จริงนั้นมิได้เกิดจากการ บริโภค แต่เกิดจากการมีปัญญารู้เท่าทันทุกสิ่งทุกอย่างตามความเป็นจริง ดังที่ได้กล่าวมาแล้ว ซึ่งมีการอธิบายไว้อย่างละเอียดในพุทธธรรม จุดนี้จึง เป็นจุดแตกหักทีส่ าํ คัญระหว่างพุทธเศรษฐศาสตร์และ Autistic Economics ดังที่ได้กล่าวมาแล้วในตอนต้นว่า ความไม่เข้าใจว่า “ความสุข” คืออะไร บนพื้นฐานความเข้าใจที่พัฒนามาจากความรู้ (ความไม่รู้) จาก ตะวันตก ทําให้นําไปสู่ข้อสรุปว่า ความสุขจะต้องได้มาจากกามสุขหรือ การบริโภค (to have) แต่เพียงอย่างเดียว โดยที่พุทธเศรษฐศาสตร์ อธิบายว่า ความสุขนั้นเกิดจากการพัฒนาหรือยกระดับทางปัญญา และ โดยเนือ้ แท้ “ความสุข” ในความรูข้ องฝ่ายตะวันตกนัน้ มีความหมายแตกต่าง อภิชัย พันธเสน


82

กันกับความสุขที่อธิบายในพุทธธรรมและความเป็นจริงตามธรรมชาติ อย่างสิ้นเชิง เพราะ “ความสุข” ที่อธิบายจากตะวันตก แท้ที่จริงก็คือ “ความพึงพอใจ” ซึ่งต่างจากความสุขในความหมายที่แท้จริงของการเป็น มนุษย์ คือมีความทุกข์ลดน้อยลง จนกระทั่งหมดไปในที่สุด จุดร่วมสําคัญระหว่างพุทธเศรษฐศาสตร์และ Autistic Economics ก็คือผลิตภาพของการผลิต ในประเด็นนี้ พุทธเศรษฐศาสตร์ เข้าใจในเรื่องการไม่เบียดเบียนตนเองและการไม่เบียดเบียนผู้อื่น ซึ่งรวม ทั้งการไม่เบียดเบียนธรรมชาติ จึงเน้นการอยู่อย่างมีความกลมกลืนกับ ธรรมชาติ ซึง่ เป็นหัวใจของพุทธธรรม เมือ่ ไม่ตอ้ งการเบียดเบียนธรรมชาติ และสิ่งมีชีวิตอื่นๆ การกระทําใดๆ ทั้งปวง รวมทั้งการผลิต ก็จะต้องให้ ความเคารพกับผู้อื่นและธรรมชาติ ดังนั้นจึงจําเป็นจะต้องใช้ทรัพยากร ทุกชนิดอย่างได้ประโยชน์สูงสุดของทรัพยากรนั้นๆ (maximum utilization) การใช้ทรัพยากรให้ได้ประโยชน์สงู สุดนัน้ คือการผลิตและการใช้อย่าง มีประสิทธิภาพ ซึ่งการจะทําเช่นนั้นได้ มนุษย์จะต้องมี “ปัญญา” ดังนั้น ปัญญาจึงเป็นปัจจัยการผลิตที่สําคัญที่สุดในพุทธเศรษฐศาสตร์ ซึ่งไปไกล กว่า Autistic Economics ที่เน้นประสิทธิภาพที่เป็นเพียงการผลิตที่ให้ได้ ผลผลิตเท่ากัน แต่มตี ้นทุนที่คํานวณเป็นตัวเงินตํ่าที่สุด ตรงนี้เป็นจุดแตกต่างที่สําคัญ เพราะการมีต้นทุนที่เป็นตัวเงิน ตํ่าที่สุด ไม่ได้หมายถึงการเบียดเบียนธรรมชาติน้อยที่สุด เพราะถ้าหาก ระบบกลไกราคามีความบิดเบี้ยวไม่สอดคล้องกับระบบนิเวศในธรรมชาติ การมีต้นทุนตํ่าที่สุดอาจมีผลต่อระบบนิเวศอย่างมากก็ได้ ตัวอย่างเช่น ในปัจจุบัน ถ่านหินเป็นเชื้อเพลิงที่มีราคาถูกที่สุด แต่ผลกระทบต่อระบบ นิเวศก็มีมากด้วย ซึ่งอาจจะมีการตั้งข้อสังเกตโดยวิชาเศรษฐศาสตร์ โดยทั่วไปว่าที่เป็นเช่นนี้เพราะไม่ได้รวมเอาต้นทุนด้านการจัดการที่จะ ทําให้สิ่งแวดล้อมหรือระบบนิเวศกลับคืนมาเข้ามาพิจารณาประกอบด้วย ซึ่งถ้าเป็นเช่นนี้ก็จะทํ าให้วิชาเศรษฐศาสตร์อย่างหลังนี้เข้าไปใกล้กับ ความเป็นจริงมากขึ้น และลดความเป็น Autistic Economics ลงได้ใน ระดับหนึ่ง เศรษฐธรรม :: รวมบทปาฐกถากีรตยาจารย์แห่งเศรษฐศาสตร์ธรรมศาสตร์


83

แต่ในพุทธเศรษฐศาสตร์ ประเด็นนี้จะไม่เป็นปัญหา เพราะอะไร ก็ตามที่ทําให้เกิดปัญหา เกิดการเบียดเบียนผู้อื่น และเกินความจําเป็น ในการมีชีวิตอยู่รอด ก็เป็นกิจกรรมที่จําเป็นจะต้องคิดให้รอบคอบ ดังนั้น ในพุทธเศรษฐศาสตร์ การมีประสิทธิภาพในการผลิตนั้นมีความหมายที่ สมบูรณ์ในตัวเอง เพราะมิได้ยืนอยู่บนฐานการคํานวณต้นทุนการผลิตที่ เป็นตัวเงิน แต่อยู่บนฐานของการไม่เบียดเบียนผู้อื่น รวมทั้งธรรมชาติ ด้วยเป็นสําคัญ ส่วนจุดอ่อนทีส่ าํ คัญของ Autistic Economics ก็คอื ถึงแม้จะมีการ กล่าวถึงประสิทธิภาพในการผลิตในความหมายที่ยอมรับได้ คือมีการนำ� ปัจจัยที่ก่อให้เกิดต้นทุนเพิ่มในทุกกรณีมาพิจารณาประกอบด้วย แต่การ ทีไ่ ม่นาํ ความคิดในเรือ่ งประสิทธิภาพของการบริโภคมาอธิบายประกอบให้ ชัดเจน ก็ไม่อาจทำ�ให้เกิดประสิทธิภาพโดยรวมได้ เพราะถ้าพยายามผลิต อย่างระมัดระวัง แต่เมื่อถึงคราวบริโภค มีการบริโภคอย่างไม่ระมัดระวัง ก็อาจจะก่อให้เกิดการผลิตเกินความจําเป็น และการผลิตเกินความจําเป็น นั้นก็คือการทําลายทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมโดยไม่มีความ จําเป็น เพื่อจะให้เห็นความแตกต่างอย่างชัดเจน จะนําเอาคําจํากัดความ ของวิชาทั้งสองมาเทียบเคียงเป็นข้อสรุปให้เห็นได้ชัดอีกครั้งหนึ่ง วิชาเศรษฐศาสตร์มักจะให้คํานิยามว่า เป็นวิชาที่ว่าด้วยการ ดําเนินกิจกรรมทางเศรษฐกิจทีจ่ ะทําให้ปจั เจกบุคคลได้รบั ความพึงพอใจ สูงสุด และสามารถทําให้สังคมได้บรรลุถึง สวัสดิการทางสังคมสูงสุด ภายใต้เงื่อนไขความจํากัดของทรัพยากร พุทธเศรษฐศาสตร์มีความหมายว่า เป็นวิชาที่ว่าด้วยการดําเนิน กิ จ กรรมทางเศรษฐกิ จ ที่ จ ะทํ า ให้ ปั จ เจกบุ ค คลและสั ง คมบรรลุ ซึ่ ง ศานติสุขจากการมีชีวิตอยู่ในโลกของวัตถุ ภายใต้เงื่อนไขของการมี ทรัพยากรที่จํากัด คําถามต่อมาก็คือ เมื่อทราบความแตกต่างอย่างชัดเจนระหว่าง พุทธเศรษฐศาสตร์กับเศรษฐศาสตร์ที่มิได้อยู่บนพื้นฐานความเป็นจริง เช่ น นี้ แ ล้ ว พุ ท ธเศรษฐศาสตร์ จ ะมี วิ ธี จั ด การกั บ ปั ญ หาความยากจน อภิชัย พันธเสน


84

(ความทุกข์) อย่างไร ได้มกี ารกล่าวถึงประเด็นนีบ้ า้ งแล้ว คือทุกขเวทนา อันเกิดจากการ ไม่มีปัจจัยสี่อย่างพอเพียง ซึ่งได้แก่ อาหาร เครื่องนุ่งห่ม ที่อยู่อาศัย และ ยารักษาโรค ลักษณะเช่นนี้อาจจะเรียกว่าความยากจนก็ได้ เพราะความ ยากจนในความหมายนี้คือการสิ้นหนทางในการมีชีวิต เมื่อต้องการให้มี ชีวิตอยู่ต่อไปก็ต้องได้รับการช่วยเหลือ หรือเป็นความทุกข์ที่จําเป็นต้อง ได้รับการแก้ไขด้วยการได้รับวัตถุปัจจัยอย่างเพียงพอ แต่ความยากจน ที่ ก ล่ า วถึ ง นั้ น มิ ใ ช่ “ความยากจน” ในความหมายทั้ ง หมด จึ ง จํ า เป็ น ต้องให้คํานิยามของความยากจนให้ชัดเจนในลําดับต่อไป

เศรษฐธรรม :: รวมบทปาฐกถากีรตยาจารย์แห่งเศรษฐศาสตร์ธรรมศาสตร์


85

6. ความยากจนคืออะไร

ความยากจนนั้น โดยทั่วไปหมายถึงภาวะของความทุกข์ยาก แร้นแค้น การมี ชี วิ ต อยู่ด้วยความยากลํ าบาก โดยเฉพาะอย่างยิ่งในส่วนที่เป็น ปัจจัยสําคัญในการดํารงชีพ ซึ่งประกอบด้วยอาหาร เครื่องนุ่งห่ม ที่อยู่ อาศัย และยารักษาโรค เมื่อเป็นเช่นนี้ ความยากจนจึงเป็นสิ่งที่มนุษย์ ทุกคนพยายามจะหลีกเลี่ยง ถ้ากล่าวแต่เพียงเท่านี้ เชื่อว่าทุกคนคงจะมี ความเห็นร่วมกันว่า ความยากจนเกิดขึ้นที่ไหน ควรที่จะหาทางระงับให้ หมดสิ้นไปโดยเร็ว เพื่อที่การดํารงชีวิตของมนุษย์จะได้ปราศจากซึ่งความ ทุกข์ ปัญหาที่เกิดขึ้นตามมาก็คือ ถ้าจะแก้ไขปัญหาความยากจนให้ ได้ผล จะต้องทราบว่าอะไรคือสาเหตุของความยากจน นักเศรษฐศาสตร์ ที่ไม่อยู่บนพื้นฐานความเป็นจริง หรือ autistic economist จะบอกว่าง่าย นิ ด เดี ย ว ความยากจนมี ส าเหตุ ม าจากการที่ ค นไม่ มี เ งิ น หรื อ มี ร ายได้ ไม่พอเพียง ถ้าจะให้หายยากจน ก็จําเป็นจะต้องทําให้คนมีรายได้เพิ่มขึ้น ปัญหาทั้งหมดก็จะสามารถแก้ไขได้ แต่ปัญหามิได้หมดไปเพียงเท่านั้น เพราะมีคําถามต่อไปอีกว่า อะไรเป็นสาเหตุที่ทําให้คนไม่มีเงินหรือไม่มี รายได้ และจะแก้ไขปัญหานี้อย่างไร ซึ่งก็จะได้รับคําตอบในเชิงตรรกะ อภิชัย พันธเสน


86

แบบตรงไปตรงมาว่า การที่คนมีรายได้น้อยก็เพราะมีผลิตภาพหรือ productivity ตํ่า ถ้าจะให้มีรายได้สูงก็จะต้องเพิ่มผลิตภาพให้สูงขึ้น สาเหตุ ของการมีผลิตภาพตํ่านั้นเกิดจากคนไม่มีการศึกษามากพอ ดังนั้นถ้าจะ ให้ผลิตภาพสูงขึ้นก็จะต้องให้การศึกษามากขึ้น คําอธิบายดังกล่าวทําให้ สามารถโน้มน้าวในทางยอมรับได้ง่าย แต่ถ้าจะทําให้ได้จริงก็เริ่มจะเป็น เรื่องยาก และก็ไม่แน่ใจว่าการศึกษาจะช่วยแก้ปัญหาได้จริงหรือไม่ อย่างไรก็ตาม มีการอธิบายต่อไปโดยนักเศรษฐศาสตร์ดังกล่าว เช่นกันว่า แท้ทจี่ ริงแล้ว ความยากจนมิได้มปี ระเภทเดียว แต่มสี องประเภท คือความยากจนสัมบูรณ์ (absolute poverty) หรือการขาดแคลนปัจจัย สําคัญในการดํารงชีพตามที่ได้กล่าวมาแล้ว กับความยากจนสัมพัทธ์ (relative poverty) คือความยากจนโดยเปรียบเทียบ นัน่ ก็คอื ความจริงแล้ว ทุกคนมีปัจจัยสี่เพียงพอที่จะประคองชีวิตให้อยู่ได้ แต่เนื่องจากมีความ แตกต่ า งอย่ า งมากระหว่ า งผู้ ที่ มี ม ากกว่ า กั บ ผู้ ที่ ย ากจนเหล่ า นั้ น ผู้ ที่ ยากจนจึ ง พยายามตะเกี ย กตะกายให้ มี ร ายได้ แ ละทรั พ ย์ สิ น เงิ น ทอง เพิ่มมากขึ้นบ้าง แต่ปัญหาก็คือ คนที่มีมากอยู่แล้วมิได้หยุดยั้งความ มั่งมีของตนแต่เพียงเท่านั้น เพราะความมั่งมีสามารถเปลี่ยนแปลงเป็น อํานาจได้ และอํานาจก็สามารถเปลี่ยนแปลงมาเป็นเงินที่เพิ่มมากขึ้นด้วย ผู้ที่มีอยู่แล้วจึงแสวงหาเพิ่มขึ้นอย่างไม่หยุดยั้ง เมื่อเป็นเช่นนี้จึงเกิดเป็น กระบวนการไล่กวด (catching up) ที่ไม่มีวันจบสิ้น ยิ่งมีการไล่กวดกัน มากขึ้น โดยผู้ที่มีมากอยู่แล้วยิ่งไขว่คว้าหาเพิ่มขึ้น คนที่มีไม่พอก็จะ พยายามไขว่คว้าหาเพิ่มขึ้น เพื่อจะได้ไม่ถูกทิ้งห่างมากนัก ผู้แพ้ในที่สุด ของกระบวนการไล่กวดเช่นนีก้ ค็ อื ทรัพยากรธรรมชาติและสภาพแวดล้อม ที่ไม่สามารถปกป้องตัวเองจากการพยายามรุกรานของมนุษย์ ในอันที่จะ เปลี่ยนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมให้กลายเป็นเงินหรือรายได้ คําอธิบายในลักษณะนี้ย่อมเป็นการนํ าปัญหาความยากจนมา เชื่อมโยงกับปัญหาสิ่งแวดล้อม โดยความยากจนที่สําคัญมากในที่นี้ก็คือ ความยากจนสัมพัทธ์ และความพยายามในการแก้ไขปัญหาดังกล่าวจะมี ผลทําให้สิ่งแวดล้อมถูกทําลายในอัตราเร่งขึ้นด้วย เศรษฐธรรม :: รวมบทปาฐกถากีรตยาจารย์แห่งเศรษฐศาสตร์ธรรมศาสตร์


87

ยังมีคําอธิบายความยากจนในความหมายอื่นๆ อีก เช่น มีการ อธิบายว่า ความยากจนคือความขาดแคลน (deprivation) หรือการเข้า ไม่ถึง (inaccessibility) บริการและสินค้าที่จําเป็น ทั้งๆ ที่อาจจะมีเงินก็ได้ แต่หากเป็นเพราะเพศ เชื้อชาติหรือเผ่าพันธ์ุ หรือความห่างไกลจากสินค้า และบริการ หรือเป็นเพราะขนบธรรมเนียมประเพณีวัฒนธรรม หรือถูก กีดกันทางกฎหมาย เช่น กลุ่มบุคคลที่อาศัยอยู่ในพื้นที่ที่ถูกระบุว่าเป็นป่า อนุรักษ์ หรือเป็นผู้ที่เข้าเมืองโดยผิดกฎหมาย เป็นต้น ขณะเดียวกัน ผู้เขียนเคยมีประสบการณ์ตรงจากการสอบถาม ชาวคะฉิ่นในประเทศพม่า ซึ่งเป็นคนกลุ่มน้อย ว่าเขายากจนหรือไม่ เขา ตอบว่า ตราบใดที่เขามีความมั่นคงในฐานทรัพยากร เขาจะไม่ยากจน คําอธิบายนี้เป็นคําอธิบายที่น่าสนใจยิ่ง และคงไม่จํากัดเฉพาะชาวคะฉิ่น ชาวไทยในชนบทก็คงจะมีคําตอบคล้ายๆ กัน แม้กระทั่งคนจนในเมือง ที่ ถึ ง แม้ จ ะมี คําตอบที่ต่างจากนี้ แต่ความหมายก็เหมือนกัน นั่นก็คือ ถ้าหากเขาเป็นเจ้าของปัจจัยการผลิตที่มีคุณภาพ (หรือมีความมั่นคง ในฐานทรั พ ยากรในรู ป แบบของปั จ จั ย การผลิ ต ที่ มี คุ ณ ภาพ) เขาก็ จ ะ ไม่ยากจน ลักษณะเช่นนี้สื่อความหมายต่อไปถึงคําที่มีความสําคัญ นั่นคือ ความมั่นคงในฐานทรัพยากรหรือปัจจัยการผลิตที่มีคุณภาพ ทั้งนี้ เพราะถ้าหากมนุษย์มีความเข้าใจพื้นฐานเกี่ยวกับการมีชีวิต ว่าคือการ แสวงหาความสุขที่ไม่จําเป็นจะต้องได้มาจากการบริโภคเสมอไป การมี ความมั่นคงในฐานทรัพยากรหรือเป็นเจ้าของปัจจัยการผลิตที่มีคุณภาพ ก็ ทํ า ให้ ม นุ ษ ย์ ไ ม่ จํ า เป็ น ต้ อ งดิ้ น รนแสวงหาวั ต ถุ แ ละบริ ก ารเพื่ อ การ บริโภคจนเกินความจําเป็น ขณะเดียวกันก็จะทําให้เขารู้สึกว่าไม่ยากจน ด้วย เมื่อไม่ยากจนก็ไม่จําเป็นต้องแสวงหามากจนเกินขอบเขต และ เมื่อไม่จําเป็นต้องแสวงหามากจนเกินขอบเขต การทํ าลายทรัพยากร ธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมก็ไม่มีความจําเป็นมากนัก ดั ง นั้ น ผู้ ที่ มี ค วามมั่ น คงในฐานทรั พ ยากรอาจจะใช้ ชี วิ ต อย่ า ง เรีย บง่ ายและอดออม (frugality) และไม่จํ าเป็นต้องห่วงว่าตนเองจะ อภิชัย พันธเสน


88

ไม่มีอนาคต จึงไม่จําเป็นต้องรีบสะสมโดยทําลายทรัพยากร เนื่องจาก ไม่ต้องรบกวนธรรมชาติมากจนเกินไป คนภายนอกที่เน้นวัตถุอาจจะ เห็นว่าคนเหล่านี้น่าสงสารหรือยากจน แต่เขาเองไม่รู้สึกว่าเขายากจน เพราะเขามีความมั่นคงในชีวิต ประเด็นนี้เป็นประเด็นที่ต้องพิจารณาให้ แน่ชัดว่าผู้ที่ใช้ชีวิตอย่างเรียบง่าย อย่างอดออม มิใช่ผู้ที่ยากจนเสมอไป ดังนั้นการนำ�รายได้มาเป็นเครื่องมือวัดความยากจนจะทําให้ผิดพลาดได้ ง่าย ความหมายที่ แ ท้ จ ริ ง ของความยากจนก็ คื อ ความไม่ มั่ น คง ในด้านต่างๆ ของชีวิต เป็นต้นว่า ความไม่มั่นคงในฐานทรัพยากร ความ ไม่มั่นคงอันเกิดจากการไม่มีปัจจัยการผลิตที่มีคุณภาพ รวมทั้งความ ไม่มั่นคงทางจิตใจ ซึ่งถ้าหากให้คํานิยามของความยากจนในลักษณะนี้ เศรษฐีและผูม้ รี ายได้สงู ถ้าหากไม่มคี วามมัน่ คงทางจิตใจ ก็ถอื ได้วา่ เป็นผูท้ ี่ ยากจน โดยนัยดังกล่าว เมือ่ ความยากจนคือความไม่มนั่ คง จึงมีความหมาย ใกล้เคียงกับคําว่าความทุกข์ ตามนัยนี้ พุทธเศรษฐศาสตร์ก็สามารถ แก้ปัญหาความยากจนหรือความทุกข์ได้ เพราะพุทธธรรมนั้นได้เสนอ ทางออกของชีวิตให้พ้นไปจากความทุกข์ ส่วนพุทธเศรษฐศาสตร์นั้นเน้น ศานติสุขของทั้งปัจเจกชนและสังคม โดยพิจารณาถึงความจํากัดของ ทรัพยากรประกอบด้วย

เศรษฐธรรม :: รวมบทปาฐกถากีรตยาจารย์แห่งเศรษฐศาสตร์ธรรมศาสตร์


89

7. การใช้พุทธเศรษฐศาสตร์แก้ปัญหาความยากจน (ความทุกข์)

ในการวิเคราะห์นี้จะไม่นําประเด็นความไม่มั่นคงทางจิตใจของผู้ที่มีทรัพย์ เข้ามาพิจารณา แต่จะพิจารณาเฉพาะผู้ที่มีความทุกข์ทางใจเนื่องจาก ไม่มีความมั่นคงในฐานทรัพยากร และเนื่องจากมิได้เป็นเจ้าของปัจจัย การผลิตที่มีคุณภาพ อีกทั้งไม่มี “ปัญญา” มากพอในการแก้ไขปัญหา ด้วยตนเอง เพราะถ้าหากมีปัญญาเพียงพอแล้ว ย่อมจะไม่มีปัญหาเรื่อง ความทุกข์หรือความยากจน โดยจะเริ่มจากความยากจนอันเกิดจากการขาดแคลนปัจจัยสี่ หรือทีเ่ รียกว่าทุกขตา เนือ่ งจากเป็นผูพ้ กิ ารหรือผูท้ มี่ โี รคประจําตัว เจ็บป่วย เรื้อรัง หรือเป็นผู้ที่ไม่มีความสามารถ เช่น เป็นเด็กหรือคนชรา เป็นต้น ความยากจนของบุคคลเหล่านี้ย่อมไม่สามารถแก้ไขได้ด้วยการหางาน ให้ทําหรือช่วยให้มีรายได้ ทางแก้จึงควรมีเพียงทางเดียว นั่นคือ บุคคล เหล่านี้สมควรได้รับสวัสดิการในลักษณะปัจจัยสี่อย่างพอเพียง ส่วนผู้ ที่จะทําหน้าที่ให้สวัสดิการเหล่านี้ ควรจะเริ่มจากครอบครัวของบุคคล เหล่านั้น สถาบันชุมชน องค์กรทางศาสนา กลุ่มธุรกิจในชุมชน ไม่ว่า จะเป็นกลุ่มออมทรัพย์หรือกลุ่มที่ทําการผลิตสินค้าและบริการ องค์กร อภิชัย พันธเสน


90

ปกครองส่วนท้องถิ่น และรัฐบาลกลาง ตามลําดับ โดยที่รัฐบาลจาก ส่วนกลางจะต้องโอนทรัพยากรและการบริหารจัดการในส่วนนี้ในปริมาณ ที่มากพอสมควรไปสู่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น เพราะเป็นผู้ที่อยู่ใกล้ ปัญหามากที่สุด ส่วนองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นก็ควรจะมีรูปแบบการบริหาร จัดการทีช่ าญฉลาด โดยแทนทีจ่ ะนำ�ทรัพยากรทัง้ หมดไปใช้เป็นสวัสดิการ ของผู้ที่ต้องการความช่วยเหลือโดยตรง ส่วนหนึ่งควรจะนำ�ไปสมทบทุน ส่งเสริมการประกอบอาชีพ โดยมีเงื่อนไขให้ผู้ที่มีอาชีพและมีรายได้นํา ไปช่วยเหลือผู้ที่ไม่สามารถช่วยเหลือตนเองได้ ลักษณะเช่นนี้จะเป็นการ กระทําทีม่ ปี ระสิทธิภาพสูงสุด เพราะเป็นการช่วยให้ผทู้ ไี่ ม่มรี ายได้สามารถ มีรายได้เลี้ยงตนเอง ซึ่งก็จะสามารถดูแลตัวเองและครอบครัวได้ด้วย และถ้าหากผู้ที่สมควรได้รับสวัสดิการมิใช่สมาชิกในครอบครัวโดยตรง รายได้จากการมีงานทําส่วนหนึ่งควรจะถูกนําไปใช้เป็นสวัสดิการสังคม สำ�หรับดูแลสมาชิกในชุมชนที่ไม่สามารถช่วยเหลือตนเองได้ แท้ที่จริง สถาบันทางศาสนามิได้มีบทบาทเฉพาะการสอนธรรมะ เพือ่ ยกระดับปัญญาของผูค้ นแต่เพียงอย่างเดียว แต่ควรจะทําหน้าทีใ่ นการ ช่วยเหลือผู้ที่ตกอยู่ในความทุกข์ยากเหล่านี้ให้พ้นทุกข์ด้วย โดยนอกจาก จะทําหน้าที่เป็นที่พึ่งทางใจให้แก่ผู้คนแล้ว ทรัพย์สินเงินทองที่ได้จากการ บริจาค ทั้งจากภายในชุมชนและภายนอกชุมชน ก็ควรจะมีการจัดสรร ในลักษณะที่ก่อให้เกิดสวัสดิการในวงกว้าง เช่นเดียวกับกรณีขององค์กร ปกครองส่วนท้องถิ่น ตัวอย่างของการสงเคราะห์ประชาชนในแบบของ ท่านพระอาจารย์พยอม กัลยาโณ แห่งวัดสวนแก้ว เป็นตัวอย่างที่ดีของ พระสงฆ์ทอี่ อกมาช่วยแก้ปญ ั หาความทุกข์ของชาวบ้าน ซึง่ ไม่ควรจะจํากัด เฉพาะสถาบันในพุทธศาสนา แม้แต่คริสต์และอิสลามก็เชือ่ ว่าน่าจะมีระบบ เช่นนี้ แต่ที่สําคัญก็คือ วัดในพระพุทธศาสนาควรจะได้รับการส่งเสริมให้ ทําหน้าที่ในลักษณะนี้มากกว่าเดิม และให้มีปริมาณมากขึ้น การแก้ปัญหาความยากจนในพุทธเศรษฐศาสตร์นั้นแก้ได้ไม่ยาก เนื่องจากความยากจนที่ก่อให้เกิดเป็นความทุกข์นั้น คือความยากจน เศรษฐธรรม :: รวมบทปาฐกถากีรตยาจารย์แห่งเศรษฐศาสตร์ธรรมศาสตร์


91

ในระดับที่ขาดแคลนปัจจัยสี่เท่านั้น ไม่เกี่ยวกับความยากจนสัมพัทธ์ ซึง่ ไม่มที างทีจ่ ะแก้ไขได้งา่ ยๆ เพราะจะมีความยากจนเกิดขึน้ โดยไม่มที สี่ นิ้ สุด ตราบใดที่มีความแตกต่างทางรายได้ระหว่างผู้ที่มีฐานะทางเศรษฐกิจ จํานวนน้อยกับผูท้ ไี่ ม่มฐี านะทางเศรษฐกิจจํานวนมาก อีกทัง้ การแก้ปญ ั หา ต้องการช่วยให้ผทู้ ขี่ าดปัจจัยสีม่ งี านทําและมีรายได้เพิม่ ขึน้ เพือ่ ให้สามารถ ช่วยสมาชิกในครอบครัวและชุมชนที่ไม่สามารถช่วยเหลือตนเองได้ ซึ่ง เป็นเรื่องที่ไม่พ้นวิสัยที่จะทําได้ ปัญหาจึงมีอยู่ว่า ทําอย่างไรจึงจะทําให้ การแก้ปัญหาเกิดขึ้นอย่างเป็นระบบ

อภิชัย พันธเสน


92

8. การประยุกต์เศรษฐกิจพอเพียงเพื่อแก้ปัญหาความยากจน อย่างเป็นระบบ

ดังทีไ่ ด้กล่าวมาแล้วในตอนต้น เศรษฐกิจพอเพียงทีเ่ น้นความพอประมาณ และความมีเหตุผลนั้น เป็นแนวคิดที่มีพื้นฐานมาจากพุทธเศรษฐศาสตร์ รูปธรรมของเศรษฐกิจพอเพียงคือทฤษฎีใหม่ ซึ่งมีสามขั้นตอน ขั้นแรก เกษตรกรผลิตทุกสิ่งทุกอย่างเพื่อสนองความต้องการปัจจัยสี่ในครอบครัว ของตนเอง เพียงเท่านี้ก็สามารถแก้ปัญหาความยากจนจากการขาด ปัจจัยสี่ได้แล้ว เมื่อมีปัจจัยสี่ครบครันสําหรับครอบครัว ครอบครัวก็ย่อม สามารถมีเงินออมได้บ้าง ถ้าหากมีการรวมกลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิต มีการรวมตัวกัน นําวัตถุดิบที่สามารถหาได้ภายในท้องถิ่นหรือเหลือจากการบริโภคมา ทําการผลิตเพื่อจําหน่ายภายในชุมชนของตัวเอง แล้วค่อยๆ ขยายออกไป สู่ภายนอก ไปสู่ระดับภูมิภาค และไปสู่ระดับประเทศในที่สุด นี่คือทฤษฎี ใหม่ในขั้นที่สอง ในขั้นตอนนี้ ประเด็นสําคัญก็คือ รายได้จากการออม ทรัพย์เพื่อการผลิตและรายได้จากการผลิตส่วนหนึ่งจะต้องนํามาใช้เพื่อ สวัสดิการชุมชน โดยเฉพาะอย่างยิ่งผู้ที่ยังขาดปัจจัยสี่ที่อาศัยอยู่ในชุมชน และไม่มคี รอบครัวทีจ่ ะให้การดูแลอุปการะ อีกทัง้ เป็นผูท้ ไี่ ม่มคี วามสามารถ ประกอบอาชีพได้เอง เศรษฐธรรม :: รวมบทปาฐกถากีรตยาจารย์แห่งเศรษฐศาสตร์ธรรมศาสตร์


93

ส่วนทฤษฎีใหม่ขั้นที่สามนั้น เสนอให้กลุ่มที่สามารถรวมตัวกัน ได้อย่างเข้มแข็งแล้ว และมีตลาดภายในประเทศมั่นคงระดับหนึ่ง อาจจะมี อํานาจต่อรองกับธุรกิจขนาดใหญ่หรือร่วมทุนกับธุรกิจการเงินขนาดใหญ่ ทําการผลิตเพื่อจําหน่ายแข่งขันกับต่างประเทศ ซึ่งเมื่อถึงขั้นนี้แล้ว ย่อม ไม่มีความยากจนเหลืออยู่ในหมู่สมาชิก แต่สมาชิกควรจะมีความเอื้อเฟื้อ เผื่อแผ่จัดสวัสดิการให้แก่ชุมชน แต่ทงั้ หมดนี้ ถ้าจะช่วยเร่งการขยายตัวของกระบวนการแก้ปญ ั หา ความยากจนด้วยเศรษฐกิจพอเพียง อีกทั้งเป็นการสร้างภูมิคุ้มกันผล กระทบทีไ่ ม่พงึ ประสงค์จากภายนอกพร้อมกันไป ควรจะมีระบบแลกเปลีย่ น ภายในชุมชนและระหว่างชุมชน เพือ่ ลดอิทธิพลจากการครอบงําของเงินทุน จากภายนอก และลดความผันผวนของค่าเงินบาทของประเทศทีผ่ กู ติดกับ ค่าเงินของต่างประเทศ โดยที่รัฐบาลของประเทศไทยไม่อาจควบคุมและ แทรกแซงได้โดยตรง ระบบแลกเปลี่ยนภายในชุมชนและระหว่างชุมชน ยังเป็นการช่วยกระตุ้นการผลิตภายในท้องถิ่นให้ออกไปสู่ภายนอก ช่วย ให้สมาชิกสามารถออมเงินเพื่อใช้ในกรณีจําเป็นได้ ช่วยให้กลุ่มออมทรัพย์ เพื่อการผลิตมีทุนเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว และยังช่วยลดความจําเป็นในการ ใช้ทุนที่เป็นตัวเงินเพื่อการผลิตเป็นจํานวนมาก เพราะส่วนหนึ่งสามารถ ทดแทนได้ด้วยการแลกเปลี่ยนสินค้าภายในกลุ่มและระหว่างกลุ่มอยู่แล้ว การช่วยทําให้เกิดสถานการณ์เช่นนี้ เป็นหน้าทีข่ องรัฐบาล องค์กร ปกครองส่วนท้องถิ่น สถาบันทางศาสนา และปัญญาชนหรือปราชญ์ ชาวบ้าน ที่ต้องร่วมมือกัน เพื่อให้เกิดเป็นองค์กรประชาชนที่ดําเนิน กิจกรรมทางเศรษฐกิจในรูปแบบต่างๆ ตามที่ได้กล่าวมานี้ ส่วนเกินที่ได้ จากระบบการผลิตสามารถนําไปช่วยผู้ที่ไม่สามารถช่วยเหลือตัวเองได้ โดยส่งเสริมให้สามารถทํางานเลี้ยงชีพได้ ซึ่งจะมีส่วนที่เหลือที่จะนําไป ช่วยผู้ที่ไม่สามารถประกอบอาชีพได้ ในรูปของสวัสดิการ การแก้ปัญหาในลักษณะนี้เป็นการแก้ปัญหาความยากจนหรือ ความทุกข์ที่เกิดจากการขาดแคลนปัจจัยสี่ รวมทั้งความทุกข์ทางใจที่เกิด จากความไม่อบอุ่นหรือการที่ต้องอยู่โดดเดี่ยว เพราะมีชุมชนเป็นพลัง อภิชัย พันธเสน


94

ขับเคลือ่ นทีส่ าํ คัญ ทัง้ หมดเป็นความทุกข์หรือความยากจนทีส่ ามารถแก้ไข ได้ง่ายโดยพุทธเศรษฐศาสตร์ ส่วนความทุกข์ของผู้ที่ไม่มีความมั่นคงทาง จิตใจ ถึงแม้จะมีทรัพย์สินเงินทองมากมาย คงจะบําบัดได้ด้วยการเข้าถึง พุทธธรรมอย่างแท้จริง

เศรษฐธรรม :: รวมบทปาฐกถากีรตยาจารย์แห่งเศรษฐศาสตร์ธรรมศาสตร์


95

9. บทสรุป

โดยสรุป บทความนี้ต้องการจะชี้ให้เห็นว่า ความยากจนที่พิจารณาจาก รายได้เป็นตัวตั้ง โดยเฉพาะอย่างยิ่งความยากจนสัมพัทธ์ที่อธิบายโดย เศรษฐศาสตร์ที่มิได้อยู่บนพื้นฐานความเป็นจริง และมีข้อเสนอในการ แก้ไขปัญหาโดยเน้นการเพิ่มรายได้ให้สูงขึ้น นอกจากจะไม่สามารถแก้ ปัญหาความยากจนได้อย่างแท้จริงแล้ว ในที่สุดจะเป็นการสร้างระบบที่ ทําลายตัวเองทีละน้อย เพราะสภาพแวดล้อมและระบบนิเวศจะถูกทําลาย อย่างต่อเนื่อง แต่ถ้าหากจะใช้พุทธเศรษฐศาสตร์เป็นเครื่องมือในการแก้ไข ปัญหาความยากจน สิ่งที่จะต้องแก้ไขมีเพียงกรณีเดียว คือการขาดแคลน ปัจจัยสี่ของผู้ที่ทั้งสามารถทํางานได้และไม่สามารถทํางานได้ การแก้ ปัญหาโดยการระดมทรัพยากรจากรัฐบาลกลางร่วมกับองค์กรปกครอง ส่วนท้องถิ่น สถาบันศาสนา และปัญญาชนหรือปราชญ์ชาวบ้าน ให้มีการ ประยุกต์เศรษฐกิจพอเพียงอย่างเป็นระบบดังที่ได้อธิบายมาแล้ว โดยมี จุดเน้นที่การเพิ่มจํานวนผู้ที่มีงานทําและมีรายได้ และให้ผู้ที่มีงานทําและ มีรายได้จัดสวัสดิการให้แก่ผู้ที่ไม่สามารถช่วยเหลือตนเองได้อย่างเป็น อภิชัย พันธเสน


96

ระบบ เพียงเท่านี้ก็จะสามารถแก้ปัญหาความยากจนหรือความทุกข์ อันเกิดจากการขาดแคลนปัจจัยสี่ได้อย่างเด็ดขาด ทั้งนี้เพราะในที่สุด ความสุขของมนุษย์นนั้ มิได้อยูท่ วี่ ตั ถุหรือทรัพย์สนิ เงินทอง แต่อยูท่ ปี่ ญ ั ญา ผูท้ มี่ คี วามสุขในลักษณะดังกล่าวจะถือว่าเป็นผูท้ รี่ าํ่ รวยก็ได้ เพราะ ความสุขเช่นนี้ ถึงแม้จะมีเงินก็ซื้อหามาไม่ได้ ผู้ที่รํ่ารวยในความหมาย ของพุทธเศรษฐศาสตร์ไม่จําเป็นต้องมีชีวิตอย่างหรูหราฟุ่มเฟือย ตราบใด ทีเ่ ขาสามารถมีความมัน่ คงในปัจจัยสี่ ทัง้ นีเ้ พราะชีวติ ของเขาเปีย่ มไปด้วย ความสุข เราจึงสมควรมาแก้ปัญหาความยากจนและสร้างระบบเศรษฐกิจ พอเพียงตามแนวพุทธเศรษฐศาสตร์กันเถิด เพราะสามารถแก้ปัญหา ความยากจนได้เด็ดขาดอย่างแท้จริง ต่างกับวิธีการของเศรษฐศาสตร์ที่ มิได้อยู่บนพื้นฐานความเป็นจริง ซึ่งอธิบายว่ามีสาเหตุมาจากการมีรายได้ ไม่เพียงพอ การอธิบายปัญหาในลักษณะดังกล่าวจะไม่มีวันแก้ปัญหา ความยากจนได้เลย ซึ่งถ้าเป็นเช่นนี้ ย่อมเห็นได้ชัดว่าวิชาเศรษฐศาสตร์ แบบไหนระหว่างพุทธเศรษฐศาสตร์และเศรษฐศาสตร์ทมี่ ไิ ด้อยูบ่ นพืน้ ฐาน ความเป็นจริง จะมีความเป็นวิทยาศาสตร์มากกว่ากัน

เศรษฐธรรม :: รวมบทปาฐกถากีรตยาจารย์แห่งเศรษฐศาสตร์ธรรมศาสตร์


97

อภิชัย พันธเสน


97

!"#$!% &'()*"+!$,

kirati part 3-EDIT.indd 97

1/27/10 1:59 PM


98

3 !"#$%&'()**"+ !),-.#/0!12345 $+%67*89*4.7##/

4#056#-?@BA =C?DB5#>"+38E#:;?<=57"8$#9#"$,:;<=);#2F*$#%+$1"").#>8", >#G#>+=&).#>8", 4"H9E#4I 2547 -)@AB2+?*7A 24 )F6'?#$? 2548 J ;(B=4"HK')>+LL# 1"").+5MFN );#2F*$#%+$ 1"").#>8", *<#!"H9+?*", -."/01"") :: "2)3*4#056#57"8$#9#"$,:;<=-."/0.#>8",1"").#>8",

kirati part 3-EDIT.indd 98

1/27/10 1:59 PM


99

.#>8"#9#"$, M".!"#$!% &'()*"+!$, 57"8$#9#"$,:;<=);#2F*$#%+$1"").#>8", >#G#>+=&).#>8", 4"H9E#4I 2547

!"#$!% &'()*"+!$,

kirati part 3-EDIT.indd 99

1/27/10 1:59 PM


100

1. -5"FA??E#

C?4O99'3+? 5#"CK(!%+==#?5E#%+=-4P?4"H-MQ?*7A>E#&+L)#5GB=4"H-*.R*$ J 2+??7S "#&#?ES#)+?MF3C?8%#MD%5B$T<*7A"HM+3 60 MB%%#",8<B3#",-"% UVA=-4P?"HM+3"#&#*7A>T=)#5 )7;%#$5"H:>RM(&#M5#"J,-57A$25+3>#-;8' GB="#&#?E#S )+?MF3*7:A !=GV?S )#5C?&"+=S ?72S #< -5FMGV?S 9#5BHR" B$<#=R"5Q8#) 4#056#C?&"+=S ?7&S =R)<5%<#26V=5#"-4%7$A ?:4%=GB="#&#?E#S )+?MF3C?8%#M D%5)#5?+5 :8<GB-?(?4"H-MQ?-57A$25+35#"CK(!%+==#?C?-."/05F9R*$ C?K<2= 2 *.2""/*7AW<#?)# C?K<2= 4 4I*7AW<#?)# "#&#?ES#)+?MF3*7A4"H-*.R*$?E#-G(#DM$8"= -!FA)GVS? 80% 9#5 24 MB%%#",8<B3#",-"% -4P? 44 MB%%#",8<B3#",-"% :%H&#M2<#:?2D?()9H>T=GVS?B75 C?GJH?7S"#&#?ES#)+?MF3>T=GVS?9?-5@B39H B$T<*7A 50 MB%%#",8<B3#",-"%:%(2 :%H&#M2<#"H$H-2%#*7A-;%@BB$T<GB=4I?7S B#99H)7"#&#>T=GVS?R4-"@AB$X ?+52F-&"#H;,*#=5#"-=F?3#=&?&#M5#"J,2<#"#&#?ES#)+?MF3B#9 >T=6V= 100 MB%%#",8<B3#",-"% UVA=-4P?"#&#*7A>T=)#5 :8<5Q)7?+52F-&"#H;, B75&?;?V=A *7&A #M5#"J,2#< "#&#?E#S )+?MF3B#99H)7DB5#>%M%=B$<#="2M-"Q2 -."/01"") :: "2)3*4#056#57"8$#9#"$,:;<=-."/0.#>8",1"").#>8",

kirati part 3-EDIT.indd 100

1/27/10 1:59 PM


101

C?K<2=4%#$4I DM$C;(-;8'W%2<#GJH?7S4"H-*.97?5E#%+=KH%B5#"G$#$8+2 *#=-."/05F9 9V=B#9><=W%C;("#&#?ES#)+?MF3%M%=RM()#5 5%<#2DM$>"'4 5Q&@B R)<)7C&"*7A>#)#"6&#M5#"J,&2#)-4%7A$?:4%=GB="#&#?ES#)+?MF3 C?8%#MD%5RM(B$<#=:)<?$E# 4O99'3+? 4"H-*.R*$8(B=CK(-=F?8"#8<#=4"H-*.C?5#"?E#-G(# ?ES#)+?MF3-!FA)GVS? 80% 9#5)T%&<#-MF)4"H)#J 3 :>?%(#?3#*C?:8<%H 4I )#-4P?52<# 5 :>?%(#?3#*C?4I?7S &FM-4P?52<# 10% GB=)T%&<#5#" ?E#-G(#*+S=;)M UVA=-4P?>#-;8'>E#&+L*7A*E#C;(4"H-*.R*$G#MM'%5#"&(# :%HG#MM'%5#"KE#"H-=F?C?4I?7S M+=?+S?&2#)-G(#C9C?%+5/JH:%H:33:W? 5#"CK(!%+==#?C?4"H-*.R*$9V=-4P?>FA=*7A>E#&+L :%H-4P?"#50#?*7A*'5 &?9H8(B=*E#&2#)-G(#C9 -!@AB*7A9H8B3&E#6#)*7A2<# -"#&2"9H*E#B$<#=R" -57A$25+34OL;#!%+==#? 2+86'4"H>=&,GB=3*&2#)?7S&@B 5#"2F-&"#H;,5#"CK(!%+==#?:%H &2#)>+)!+?1,53+ -."/05F9C?K<2= 15-20 4I DM$;2+=2<#5#"2F-&"#H;,?97S HC;( 3*-"7$?;"@BG(B)T%C?5#"!F9#"J#?D$3#$;"@B)#8"5#"C?5#":5(4L O ;# !%+==#?8<BR4

!"#$!% &'()*"+!$,

kirati part 3-EDIT.indd 101

1/27/10 1:59 PM


102

2. B+8"#5#"-4%7A$?:4%=GB=5#"CK(!%+==#?:%H GDP

5#"CK(!%+==#?)75#"-4%7A$?:4%=C?*F.*#=-M7$25+?5+35#"-4%7A$?:4%= GB= Real GDP ;"@B5#"G$#$8+2*#=-."/05F9 DM$-Y%7A$:%(2C?K<2= 15 4I *7A W< # ?)# 5#"CK( ! %+ = =#?DM$"2)-!FA ) GVS ? C?B+ 8 "#4I % H 6-7% UVA=C5%(-&7$=5+3B+8"#5#"-8F3D8*#=-."/05F9 (MT"T4*7A 1) :8<6(#MT8+2-%G B$<#=%H-B7$MC?8#"#=*7A 1 9H-;Q?RM(2#< B+8"#5#"G$#$8+2GB=5#"CK(!%+==#? 9H>T=52<#B+8"#5#"-8F3D8*#=-."/05F9B$T<3(#=-%Q5?(B$ UVA=-4P?>+LL#J *7AR)<&<B$M7?+5 *7A?<#>?C95Q&@B 9H)7K<2=*7A5#"CK(!%+==#?%M8EA#%=C?4I 2541 *+S=?7S -!"#H2F5Z8*#=-."/05F9*7A-5FMGVS?C?4I 2540 ><=W%5"H*3C?4I8<B)# *E#C;(-."/05F9C?4I 2541 ;M8+2%= 10% :%H5#"CK(!%+==#?5Q;M8+2 4"H)#J 10% -K<?-M7$25+? )7&?8+S=G(B>+=-582<# 5#"CK(!%+==#?5+3B+8"#5#"-8F3D8*#= -."/05F9-4%7A$?:4%=R4C?*F.*#=-M7$25+?&<B?G(#=)#5 -;8'W%>E#&+L 5Q&B@ 5#"W%F8:%H5#"3"FD[&C?-."/05F9R*$9E#-4P?8(B=B#.+$!%+==#?)#5

-."/01"") :: "2)3*4#056#57"8$#9#"$,:;<=-."/0.#>8",1"").#>8",

kirati part 3-EDIT.indd 102

1/27/10 1:59 PM


103

:"#"*4;< 1 9):#"!"#-=(;<5+>=(*?9*!"#$%&'()**"+>(@ GDP !" #.$.

%&'()*#+,--&./,0.1*.

%&'()*#+,--&./,0.2345*&6

Real GDP

2532

13.92%

17.05%

12.19%

2533

10.73%

10.23%

11.17%

2534

17.81%

6.22%

8.56%

2535

7.00%

8.25%

8.24%

2536

5.61%

6.77%

8.55%

2537

8.04%

8.46%

8.53%

2538

12.19%

12.08%

9.24%

2539

8.82%

7.70%

5.90%

2540

2.29%

1.79%

-1.37%

2541

-5.93%

-8.89%

-10.51%

2542

5.54%

3.19%

4.45%

2543

4.52%

1.44%

4.75%

2544

4.45%

3.63%

2.17%

2545

6.91%

6.94%

5.33%

2546

7.73%

6.25%

6.87%

>A(6*4;<B": &E#?2J9#5G(B)T%5#"CK(!%+==#?C? !"#$"%&'()*&+,-$.,/+,0$$"%1*$2!/&3453# DM$5")!+\?#!%+==#?*M:*?:%HB?'"5+ /,!%+==#? :%HG(B)T% GDP GB=>E#?+5=#?&JH5"")5#" !+\?#5#"-."/05F9:%H>+=&):;<=K#8F

!"#$!% &'()*"+!$,

kirati part 3-EDIT.indd 103

1/27/10 1:59 PM


104

#C=4;< 1 9):#"!"#-=(;<5+>=(*?9*!"#$%&'()**"+>(@ GDP 20.00% 15.00% 10.00% 5.00%

254 6

254 5

254 4

254 3

254 2

254 1

254 0

253 9

253 8

253 7

253 6

253 5

253 4

253 3

-5.00%

253 2

0.00%

-10.00% -15.00%

!"#$%&'()**"+,)-+.&+

!"#$%&'()**"+,)-+/012&"3

Real GDP

-."/01"") :: "2)3*4#056#57"8$#9#"$,:;<=-."/0.#>8",1"").#>8",

kirati part 3-EDIT.indd 104

1/27/10 1:59 PM


105

3. &2#)-G()G(?C?5#"CK(!%+==#?

"T4*7A 2 :>M=&2#)-G()G(?C?5#"CK(!%+==#? ;"@B Energy Intensity 2+MC?"T4GB=;?<2$&2#)"(B?8<B%(#?3#*GB= GDP >E#;"+34"H-*.R*$ C?"T4)7 2 ->(? ->(?;?VA=&@B Primary Energy Intensity ;"@B!%+==#?G+S?8(? UVA=-4P?!%+==#?C?"T45<B?*7A9H?E#)#CK(C?G+S?>'M*(#$ -K<? 5]#U1"")K#8F :%H%F5R?8,*7ACK(C?5#"W%F8R^^_# -4P?8(? ><2?B75->(?;?VA=&@B Final Energy Intensity 2+M!%+==#?C?"T4*7A-"#CK(C?G+S?>'M*(#$ -K<? R^^_#:%H ?E#S )+?>E#-"Q9"T4 -4P?8(? *+=S 2 ->(?:>M=5#"-4%7$A ?:4%=C?*F.*#=-M7$25+? DM$)7:?2D?()*7A-!FA)GVS? DM$-Y!#HB$<#=$FA=8+S=:8<C?K<2=4I 2540-2541 -4P?8(?)# %+5/JHM+=5%<#2K7SC;(-;Q?2<# 4"H>F*1F[#!C?5#"CK(!%+==#? )7:?2D?()%M%=C?"HM+3;?VA= (MT8#"#=*7A 2 4"H5B3) -)@AB-*7$35+3;%#$X 4"H-*. 4"#5`2< # 4"H-*.R*$-4P ? ;?VA = C?4"H-*.5E # %+ = !+ \ ?#*7A )7 Energy Intensity -!FA)GVS? :?2D?()?7S:858<#=9#5C?4"H-*.*7A!+\?#:%(2 C?K<2= 15-20 4I*7AW<#?)# G(B)T%K7SC;(-;Q?2<# Energy Intensity C?4"H-*. *7A!+\?#:%(2><2?C;L<)7:?2D?()%M%= :>M=2<#4"H>F*1F[#!GB=5#" CK(!%+==#?GB=4"H-*.*7A!+\?#:%(2)7:?2D?()*7AM7GVS? C?GJH*7A4"H-*. 5E#%+=!+\?#;%#$4"H-*.5%+3)7:?2D?()C?*F.*#=8"=5+?G(#) !"#$!% &'()*"+!$,

kirati part 3-EDIT.indd 105

1/27/10 1:59 PM


106

:"#"*4;< 2 D7"B-?&B?&+$+!"#$%&'()**"+ (Energy Intensity) ;?<2$: 8+??ES#)+?MF38<B%(#?3#* !" #.$.

Primary energy intensity

Final energy intensity

2531

20.97

15.23

2532

21.29

15.89

2533

21.21

15.75

2534

23.01

15.41

2535

22.75

15.41

2536

22.13

15.16

2537

22.03

15.15

2538

22.63

15.54

2539

23.25

15.81

2540

24.11

16.32

2541

25.35

16.61

2542

25.61

16.41

2543

25.56

15.89

2544

26.13

16.12

2545

26.52

16.36

2546 26.73 16.27 >A(6*4;% B< ": &E#?2J9#5G(B)T%5#"CK(!%+==#?C? !"#$"%&'(*) &+,-$.,/+,0$$"%

1*$2!/&3453# DM$5")!+\?#!%+==#?*M:*?:%HB?'"+5/,!%+==#? :%H G(B)T% GDP GB=>E#?+5=#?&JH5"")5#"!+\?#5#"-."/05F9:%H>+=&):;<= K#8F

-."/01"") :: "2)3*4#056#57"8$#9#"$,:;<=-."/0.#>8",1"").#>8",

kirati part 3-EDIT.indd 106

1/27/10 1:59 PM


107

#C=4;< 2 D7"B-?&B?&+$+!"#$%&'()**"+ (Energy Intensity) 30.00 !"#$% : &'""()*+'",-.&#/01*".*2

25.00 20.00 15.00 10.00 5.00 0.00

2531 2532 2533 2534 2535 2536 2537 2538 2539 2540 2541 2542 2543 2544 2545 2546

Primary energy intensity

Final energy intensity

!"#$!% &'()*"+!$,

kirati part 3-EDIT.indd 107

1/27/10 1:59 PM


108

4. B+8"#5#"!VA=!#!%+==#??E#-G(#

"T4*7A 3 :>M=6V=B+8"#5#"!VA=!#!%+==#??E#-G(# DM$&E#?2J!%+==#? ?E#-G(#&FM-4P?"(B$%HGB=!%+==#?*7ACK(*+S=;)MGB=4"H-*. *+S= 2 ->(? UVA=:>M=5#"!VA=!#C?"T4GB= Primary Energy :%H Final Energy -4%7A$?R4C?*F.*#=-M7$25+? &@BC?K<2=4I 2527-2531 B+8"#5#"!VA=!# %M8EA#%= DM$ Primary Energy %M%=B$T<C?"HM+3*7A8EA#52<# 40% :8< ;%+=9#5?+S?5%+3-!FA)GVS?6V="HM+3 57% :%H%M%=C?K<2= 2-3 4I;%+=2F5Z8 -."/05F9 :8<-!FA)GVS?B75C?K<2= 4 4I*7AW<#?)# ><2?8+2-%G Final Energy )7"HM+3>T=6V= 90% C?K<2= 4 4I*W7A #< ?)# ><2?C;L<-4P?5#"?E#-G(#C?"T4GB=?E#S )+?MF3 UV=A -4P?4"H-MQ?4OL;#*78A B( =C;( &2#)>E#&+LB$<#=)#5 (MT8#"#=*7A 3 4"H5B3)

-."/01"") :: "2)3*4#056#57"8$#9#"$,:;<=-."/0.#>8",1"").#>8",

kirati part 3-EDIT.indd 108

1/27/10 1:59 PM


109

:"#"*4;< 3 9):#"!"#'E<*'"'()**"++F"-?&" !" #.$.

%&'()*)(#+,-#)#.&--)//0)123) (primary energy)

%&'()*)(#+,-#)#.&--)//0)123) (final energy)

2525

40%

58%

2526

43%

63%

2527

40%

58%

2528

34%

50%

2529

34%

49%

2530

37%

54%

2531

37%

53%

2532

42%

59%

2533

46%

65%

2534

40%

59%

2535

43%

63%

2536

47%

69%

2537

48%

69%

2538

51%

74%

2539

57%

84%

2540

55%

82%

2541

51%

80%

2542

52%

82%

2543

52%

83%

2544

56%

91%

2545

55%

90%

2546

55%

91%

2547 57% 91% >A(6*4;, <B": !"#$"%&'()*&+,-$.,/+,0$$"%1*$2!/&3453# DM$5")!+\?#!%+==#?*M:*? :%HB?'"+5/,!%+==#? !"#$!% &'()*"+!$,

kirati part 3-EDIT.indd 109

1/27/10 1:59 PM


110

#C=4;< 3 9):#"!"#'E<*'"'()**"++F"-?&" 100 90 80 70

%

60 50 40 30 20 10 0 2525 2526 2527 2528 2529 2530 2531 2532 2533 2534 2535 2536 2537 2538 2539 2540 2541 2542 2543 2544 2545 2546 2547

!"#$%&%$'()*'%'+"**%,,-%./0% (primary)

!"#$%&%$'()*'%'+"**%,,-%./0% (final)

-."/01"") :: "2)3*4#056#57"8$#9#"$,:;<=-."/0.#>8",1"").#>8",

kirati part 3-EDIT.indd 110

1/27/10 1:59 PM


111

5. 4"H-[*5#"CK(!%+==#?G+S?8(?

"T4*7A 4 :%H8#"#=*7A 4 :>M=C;(-;Q?4"H-[*!%+==#?G+?S 8(?*7CA K(C?><2?8<#=X GB=[#&-."/05F9 C?K<2= 20 4I*7AW<#?)# 9H-;Q?RM(K+M2<#!%+==#?*7A>E#&+L *7>A M' &@B?E#S )+?4aD8"-%7$) UV=A )7>M+ ><2?DM$-Y%7$A 4"H)#J 45% GB=*+=S ;)M "B=%=)#&@B5]#U1"")K#8F UVA=><2?C;L<RM(9#5:;%<=W%F8C?B<#2R*$ :8<C?"H$H;%+=X -)@AB)75#"CK()#5GVS? 9V=8(B=)75#"?E#-G(#9#5!)<#M(2$ 5#"CK(5]#U1"")K#8F)7>+M><2?-!FA)GVS?DM$8%BM 5#"CK(6<#?;F?)7>+M><2?DM$-Y%7A$4"H)#J 10% GB=!%+==#? *+S=;)M DM$C?K<2=:"5)75#"CK(6<#?;F?%F5R?8,*7A)7B$T<)#5C?4"H-*. :8< 8<B)#RM()57 #"?E#-G(#6<#?;F?*7)A &7 J ' [#!M752<#)#CK()#5GV?S ><2?!%+==#? ;)'?-27$??+S? C?K<2=:"5X )75#"CK()#5C?"T4GB=6<#? ^b? :%H:5%3 DM$CK()#5C?&"+2-"@B?K?3*:%HB'8>#;5"")3#=4"H-[* :8<>M+ ><2??7)S 7 :?2D?()%M%=B$<#=8<B-?@AB= :%H&#M2<#?<#9H)7>+M><2?%M%=8<BR4

!"#$!% &'()*"+!$,

kirati part 3-EDIT.indd 111

1/27/10 1:59 PM


112

:"#"*4;< 4 !"#$%&'()**"+?)G+:&+ 2F">+!:"B=#@-H4?9*'()***"+ %&'()*( (67'89( 2@'A 3CCD'#19E #19EE'( 1*23(45 +(*,-./(0 !:;4<=1>?8 B<<8+'4* (67' )8F(=G>?( 2524 0.18% 1.97% 47.38% 1.05% 3.13% 46.28% 2525 0.43% 2.43% 41.57% 4.96% 3.84% 46.78% 2526 0.43% 2.19% 44.58% 5.61% 3.49% 43.70% 2527 0.55% 2.44% 43.48% 7.98% 3.66% 41.90% 2528 0.78% 5.02% 38.17% 11.86% 3.20% 40.96% 2529 0.50% 5.31% 38.59% 11.21% 4.62% 39.77% 2530 0.64% 6.22% 39.57% 14.38% 3.07% 36.12% 2531 0.73% 6.21% 41.20% 15.90% 2.67% 33.29% 2532 0.81% 6.61% 44.24% 13.94% 3.45% 30.95% 2533 0.39% 8.67% 47.84% 13.71% 2.80% 26.59% 2534 0.68% 8.51% 42.18% 14.43% 2.19% 32.01% 2535 0.68% 8.54% 44.16% 14.43% 1.88% 30.32% 2536 1.22% 8.57% 47.49% 15.29% 1.59% 25.84% 2537 1.62% 8.69% 49.11% 15.69% 1.80% 23.08% 2538 2.28% 8.33% 51.07% 14.81% 2.31% 21.20% 2539 3.43% 8.51% 50.60% 15.90% 2.33% 19.24% 2540 2.77% 8.99% 49.71% 18.93% 2.23% 17.36% 2541 1.47% 8.95% 48.17% 21.96% 1.82% 17.62% 2542 2.76% 8.00% 47.96% 22.68% 1.31% 17.30% 2543 3.42% 6.71% 45.37% 25.28% 2.04% 17.17% 2544 3.87% 7.10% 42.54% 28.24% 2.02% 16.23% 2545 4.15% 6.59% 42.67% 28.32% 2.18% 16.10% 2546 4.87% 5.30% 43.95% 27.91% 1.95% 16.02% >A(6*4;/ <B": !"#$"%&'(! )*&+,-$.,/+,0$$"%1*$2!/&3453# DM$5")!+\?#!%+==#?*M:*?:%H B?'"+5/,!%+==#? !" #.$.

-."/01"") :: "2)3*4#056#57"8$#9#"$,:;<=-."/0.#>8",1"").#>8",

kirati part 3-EDIT.indd 112

1/27/10 1:59 PM


113

#C=4;< 4 !"#$%&'()**"+?)G+:&+ 2F">+!:"B=#@-H4?9*'()***"+

100% 80% 60%

!"#$$%&'()&*+,-& .//0%!"#$&12% 34%5677(8%9: &12%(#&;<=97*",-(

40% 20%

":3.&9> ?@%&':&8&:ABCD&E

25 24 25 26 25 28 25 30 25 32 25 34 25 36 25 38 25 40 25 42 25 44 25 46

0%

!"#$!% &'()*"+!$,

kirati part 3-EDIT.indd 113

1/27/10 1:59 PM


114

6. 5#"CK+!%+==#?C?>#G#-."/05F98<#=X

"T4*7A 5 :%H8#"#=*7A 5 :>M=5#"CK(!%+==#?C?>#G#-."/05F98<#=X -;Q? RM(K+M2<# 52<# 70% GB=!%+==#?6T5CK(R4C? 2 >#G# &@B>#G#B'8>#;5"") :%H>#G#5#"G?><= DM$*+S=>B=>#G#)7:?2D?()*7A9HCK(!%+==#?C?>+M><2? *7A>T=)#DM$8%BM >+M><2?5#"CK(!%+==#?C?>#G#B'8>#;5""))7:?2D?()>T=GVS? B$<#=-;Q?RM(K+M 9#54"H)#J 30% C?K<2=5<B?2F5Z8-."/05F9 )#-4P? 4"H)#J 35% C?K<2=4I 2545-2546

-."/01"") :: "2)3*4#056#57"8$#9#"$,:;<=-."/0.#>8",1"").#>8",

kirati part 3-EDIT.indd 114

1/27/10 1:59 PM


115

:"#"*4;< 5 !"#$%&'()**"+?)G+8IJ4&"5 2F">+!:"B8"?"-.#/0!12 !" #.$.

%&'()&))*

%+*,-./)0

-1(23+&))* &3)456(

&3) &0-2)73.

8739-:;0 -3$<:

=1)&6> &3)?73

&3) @920.

2534

5.6%

0.2%

28.6%

0.6%

28.4%

0

36.6%

2535

5.4%

0.2%

30.8%

0.6%

27.1%

0

35.9%

2536

4.3%

0.2%

30.8%

0.5%

25.4%

0

38.8%

2537

3.9%

0.1%

32.4%

0.8%

22.8%

0

40%

2538

3.4%

0.1%

34.4%

0.6%

20.5%

0

41%

2539

3.6%

0.1%

35.5%

0.6%

19.4%

0

40.8%

2540

3%

0.1%

33.4%

0.7%

20.1%

0

42.7%

2541

4.1%

0.1%

31.5%

0.6%

22.4%

0

41.3%

2542

6.0%

0.3%

32.9%

0.5%

15.4%

6.1%

38.8%

2543

5.8%

0.2%

33.9%

0.3%

15.6%

6.5%

37.7%

2544

5.7%

0.2%

34.2%

0.3%

15.1%

6.9%

37.6%

2545

5.7%

0.2%

35.3%

0.3%

14.9%

6.5%

37.1%

2546 5.9% 0.2% 35.5% 0.3% 14.5% 6.4% 37.2% >A(6*4;A <B": !"#$"%&'(! )*&+,-$.,/+,0$$"%1*$2!/&3453# DM$5")!+\?#!%+==#?*M:*?:%HB?'"+5/, !%+==#?

!"#$!% &'()*"+!$,

kirati part 3-EDIT.indd 115

1/27/10 1:59 PM


116

#C=4;< 5 !"#$%&'()**"+?)G+8IJ4&"5 2F">+!:"B8"?"-.#/0!12

!"#$%&'(

100%

)*#!+,!"#-."

80%

/."%012'0"341

60%

!"#!'0&#."(

40%

0*5&"6!##7!"#89+5 :67;0(<#'

20%

:!=5#!##7

25 46

25 44

25 42

25 40

25 38

25 36

25 34

0%

-."/01"") :: "2)3*4#056#57"8$#9#"$,:;<=-."/0.#>8",1"").#>8",

kirati part 3-EDIT.indd 116

1/27/10 1:59 PM


117

7. 5#"CK+!%+==#?C?>#G#B'8>#;5"")

"T4*7A 6 :%H8#"#=*7A 6 :>M=5#"CK(!%+==#?C?>#G#B'8>#;5"") 9E#:?5 8#)4"H-[*GB=!%+==#? DM$"2)9H-;Q?RM(2<# >#G#B'8>#;5"")CK( !%+ = =#?&< B ?G( # =5"H9#$C?:=< G B=4"H-[*-K@S B -!%F = &@ B CK( 6< # ?;F ? ?ES#)+? R^^_# :%H!%+==#?;)'?-27$? C?>+M><2?*7AC5%(-&7$=5+? DM$5#"CK( 5]#U1"")K#8F)>7 M+ ><2?-!F)A GV?S B$<#=-;Q?RM(KM+ C?K<2= 10 4I*W7A #< ?)# >#G# B'8>#;5"");+?)#CK(6#< ?;F?:%H5]#U1"")K#8F)#5GV?S -!@BA *M:*??E#S )+? :%H!%+==#?;)'?-27$? DM$9H-;Q?RM(2<# >+M><2?GB=!%+==#?;)'?-27$? "2)*+S=?ES#)+? )7:?2D?()%M%= 5#"-4%7A$?:4%=M+=5%<#2:>M=2<# >#G#B'8>#;5"")>#)#"6 4"+ 3 8+ 2 RM( &< B ?G( # =)#5C?K< 2 = 15-20 4I *7A W< # ?)# DM$;+ ? )#CK( 5] # U 1"")K#8F:%H6<#?;F?-!@AB*M:*??ES#)+?UVA=)7"#&#:!=GVS?

!"#$!% &'()*"+!$,

kirati part 3-EDIT.indd 117

1/27/10 1:59 PM


118

:"#"*4;< 6 !"#$%&'()**"+$+9I:8"A!##B 2F">+!:"B=#@-H4?9*'()**"+ !" #.$.

%&'()*(

(+,'-.(/,'012314!

56'7811-9':*

;<<='

#>.??'( )-@(0ABC(

2531

13.3%

29.5%

1%

18.2%

38%

2532

14%

27.7%

1.5%

17.1%

39.7%

2533

15.8%

29.5%

3.1%

17.9%

33.7%

2534

16.8%

28.9%

3.9%

18.1%

32.3%

2535

15.8%

30%

4.1%

15.6%

34.5%

2536

21.8%

31%

4.2%

16%

27%

2537

23.6%

29.4%

4.4%

18.2%

24.4%

2538

23.4%

28.6%

5%

17.4%

25.6%

2539

25.5%

26.9%

5.4%

16.6%

25.6%

2540

23.8%

25.3%

5.7%

17.2%

28%

2541

22.6%

26.9%

6.1%

17.9%

26.5%

2542

25%

25.6%

7.2%

19.5%

22.7%

2543

22.4%

25.5%

8.5%

20.6%

23%

2544

25.9%

23.6%

9.2%

20.6%

20.7%

2545

26.2%

22.7%

9.3%

20.4%

21.4%

2546 24.9% 21.6% 9.9% 20.5% 23.1% ! )*&+,-$.,/+,0$$"%1*$2!/&3453# DM$5")!+\?#!%+==#?*M:*?:%H >A(6*4;D <B": !"#$"%&'(

B?'"+5/,!%+==#?

-."/01"") :: "2)3*4#056#57"8$#9#"$,:;<=-."/0.#>8",1"").#>8",

kirati part 3-EDIT.indd 118

1/27/10 1:59 PM


119

#C=4;< 6 !"#$%&'()**"+$+9I:8"A!##B 2F">+!:"B=#@-H4?9*'()**"+ "#$%&' 6 ()"*+, - ./ 00)1*123 4 5)6(""789):1(4)7$";<=%>20-./ 00)1 !"#$ $%&'()&*+,-&

100%

.//0% 12%3455(6%78

50%

&9:%(#&;:%*5<=5>? @A%&'8&

0% 25 31

25 33

25 35

25 37

25 39

25 41

25 43

25 45

!"#$!% &'()*"+!$,

kirati part 3-EDIT.indd 119

1/27/10 1:59 PM


120

8. 5#"CK+!%+==#?C?B'8>#;5"")4"H-[*8<#=X

"T4*7A 7 :%H8#"#=*7A 7 :>M=5#"CK(!%+==#?C?B'8>#;5"")4"H-[*8<#=X B#;#":%H-&"@AB=M@A)-4P?B'8>#;5"")*7A)7)T%&<#5#"W%F8 (:%H)T%&<#-!FA)) >T=*7>A M' 9V=-4P?B'8>#;5"")*7CA K(!%+==#?)#5*7>A M' M(2$ :8<)>7 M+ ><2?5#"CK( !%+==#?*7A%M%=)#DM$8%BM 9#552<# 40% C?K<2=4I 2531-2535 )#-4P? 30% C?K<2=4I 2542-2546 >#G#*7CA K(!%+==#?)#5*7>A M' "B=%=)#&@BBD%;H UVA = RM( : 5< B' 8 >#;5"")*7A W %F 8 4T ? U7 - )?8, &B?5"7 8 :5( 2 :%H5"H95 "2)*+S=-U"#)F5 B'8>#;5"")BD%;H)7>+M><2?5#"CK(!%+==#?*7AW+?W2?B$T< "H;2<#= 23-30% B'8>#;5"")*7A-!FA)>+M><2?5#"CK(!%+==#?B$<#="2M-"Q2RM(:5< B'8>#;5"")-&)7[J + c,:%HB'8>#;5"")W%F8[+Jc,D%;H ><2?B'8>#;5"") >FA=*B)7>+M><2?5#"CK(!%+==#?*7A%M%=B$<#=8<B-?@AB= 5#"-4%7A$?:4%= >+M><2?-;%<#?7S?<#9H>H*(B?C;(-;Q?5#"-4%7A$?:4%=D&"=>"(#=5#"W%F8 C?>#G#B'8>#;5"")RM(C?"HM+3;?VA=

-."/01"") :: "2)3*4#056#57"8$#9#"$,:;<=-."/0.#>8",1"").#>8",

kirati part 3-EDIT.indd 120

1/27/10 1:59 PM


121

:"#"*4;< 7 !"#$%&'()**"+$+9I:8"A!##B:6"*K %&'&( 627)*+ !" #.$. )*+ 34/05% ,-(.%/ 0 9(+1&: ,-(./%01./2 ,(.%8

,-2;

%<*'+

<*'+ =>?82@* A&8

2531

44.6%

10.2% 1.4%

4%

6.4% 23.2%

3.7%

2%

4.5%

2532

45.9%

9.4%

1.1%

4%

6.5% 23.8%

3.6%

2.1%

3.6%

2533

40.8%

8.6%

0.9%

3.6%

8.1% 24.7%

3.8%

2.6%

6.9%

2534

39.6%

9.1%

0.9%

4.2%

8.6% 24.3%

3.9%

3.2%

6.2%

2535

40.9%

8.6%

0.9%

3.3%

8.7% 25.6%

4.7%

2.4%

4.9%

2536

33.3%

8.7%

1.1%

4.3%

8.6% 30.9%

4.8%

2.7%

5.6%

2537

30.3%

8.5%

0.8%

5.3%

9.1% 30.3%

4.3%

3.8%

7.6%

2538

30.4%

8.8%

0.7%

3.4%

8.8% 29.2%

3.7%

4.2%

10.8%

2539

31.5%

6.7%

0.6%

3.8%

11.2% 30.8%

4.1%

4.4%

6.9%

2540

33.4%

6.4%

0.6%

4.1%

10.6% 30.2%

4.1%

4.3%

6.3%

2541

32.9%

7.3%

0.6%

4.7%

11.2% 24.3%

4%

4.8%

10.2%

2542

29.9%

7.2%

0.7%

4.9%

13.4% 27.3%

3.8%

5.5%

7.3%

2543

30%

7%

0.8%

4.3%

13.1% 24.3%

5.1%

5.8%

9.6%

2544

27.8%

6.7%

0.9%

4.2%

13.3% 27.9%

4.5%

6.2%

8.5%

2545

28.3%

6.2%

0.9%

4.4%

12%

28.9%

5.2%

6.3%

7.8%

2546

30.5%

5.7%

0.8%

3.5%

12.8% 28.3%

5.3%

6.6%

6.5%

%./8H B*4CD>EFG (IJ&)89 <*'+ 62K617)

>A(6*4;/ <B": !"#$"%&'(! )*&+,-$.,/+,0$$"%1*$2!/&3453# DM$5")!+\?#!%+==#?*M:*?:%H B?'"+5/,!%+==#?

!"#$!% &'()*"+!$,

kirati part 3-EDIT.indd 121

1/27/10 1:59 PM


122

#C=4;< 7 !"#$%&'()**"+$+9I:8"A!##B:6"*K "#$%&' 7 ()"*+,-./00)12303456)7(""859)0:

100% 80% 60% 40% 20% 0%

!"#$% (&'()$*+,-+./) 01234567891:; 91:;<5=$,>1?($ !91:; @A,B *C;.(D +,/)1;@AC"#!E@C"!$ F2#EG! !(:(C)1;@AC"#!E."#,

2531 2533 2535 2537 2539 2541 2543 2545

-."/01"") :: "2)3*4#056#57"8$#9#"$,:;<=-."/0.#>8",1"").#>8",

kirati part 3-EDIT.indd 122

1/27/10 1:59 PM


123

9. &2#)-G()G(?C?5#"CK(!%+==#?GB=B'8>#;5"")8<#=X

B'8>#;5"")BD%;H-4P?B'8>#;5"")*7A)75#"CK(!%+==#?B$<#=-G()G(?)#5 *7A>'M "T4*7A 8 :%H8#"#=*7A 8 K7SC;(-;Q?2<# DM$-Y%7A$:%(2 5#"W%F8W%F8[+Jc, BD%;H*7)A )7 %T &<#-!F)A 1 %(#?3#* 8(B=CK(!%+==#?-*7$3-*<#4"H)#J 90 8+? ?ES#)+?MF3 -*7$35+3&<#-Y%7A$GB=*'5B'8>#;5"")DM$"2)*7A"HM+34"H)#J 15 8+??ES#)+?MF3 B'8>#;5"")*7ACK(!%+==#?B$<#=-G()G(?)#5*7A>'M"B=%=)#&@B B'8>#;5"")D%;HG+S?)T%0#? DM$)75#"W%F8-;%Q5:%H-;%Q55%(# UVA=DM$ 458F-4P?5F95"")*7ACK(R^^_#B$<#=-G()G(?)#5B$T<:%(2 G(B)T%K7SC;(-;Q?M(2$ 2<# B'8>#;5"")?7S)75#"G$#$8+2C?%+5/JH*7ACK(!%+==#?-G()G(?)#5GVS? B$<#=R"5QM7 &2#)-G()G(?GB=5#"CK(!%+==#?C?>#G#B'8>#;5"") DM$"2):%(2)7:?2D?()%M%=-%Q5?(B$ :>M=2<#B'8>#;5"")GB=R*$)7 4"H>F*1F[#!C?5#"CK(!%+==#?M7GVS?-%Q5?(B$

!"#$!% &'()*"+!$,

kirati part 3-EDIT.indd 123

1/27/10 1:59 PM


124

:"#"*4;< 8 D7"B-?&B?&+$+!"#$%&'()**"+?9*9I:8"A!##B:6"*K ;?<2$: 8+??ES#)+?MF38<B%(#?3#* !" #.$.

%&'&( )*+ ,-(./%01./2

34/05%

,-26

%7*'+

7*'+89:; 2<*=&;

(>2

2538

26.11

7.60

10.96

83.21

33.53

16.34

2539

28.68

6.54

12.77

90.47

40.01

17.03

2540

28.09

5.88

9.76

90.36

40.41

16.08

2541

25.19

5.99

9.16

89.87

51.15

15.51

2542

21.18

6.13

11.19

95.58

50.29

14.99

2543

26.03

6.06

10.88

83.09

59.99

14.79

2544

24.63

5.94

11.27

92.63

50.96

15.23

2545

25.57

6.13

10.71

95.39

57.42

15.73

2546

26.07

6.01

11.38

90.60

61.27

15.24

>A(6*4;B< ": &E#?2J9#5G(B)T%5#"CK(!%+==#?C? !"#$"%&'(*) &+,-$.,/+,0$$"%1*$ 2!/&3453# DM$5")!+\?#!%+==#?*M:*?:%HB?'"5+ /,!%+==#? :%HG(B)T% GDP GB=>E#?+5=#?&JH5"")5#"!+\?#5#"-."/05F9:%H>+=&):;<=K#8F

-."/01"") :: "2)3*4#056#57"8$#9#"$,:;<=-."/0.#>8",1"").#>8",

kirati part 3-EDIT.indd 124

1/27/10 1:59 PM


125

#C=4;< 8 D7"B-?&B?&+$+!"#$%&'()**"+?9*9I:8"A!##B:6"*K

';?>@ : A9;;:B&29;14CA?%*D&;C&5

!"#$%& 8 '()*+,-*,-./.0)!/1-23455).,656789):0!!*8;)5< !"#"$%&' ()$*+!,-*+. /0+,1!

100 90 80 70 60 50

().2

40 30 20 10 0

3&#'4567.8&9"7

!3&#'

$:. 2538

2539

2540

2541

2542

2543

2544

2545

2546

!"#$!% &'()*"+!$,

kirati part 3-EDIT.indd 125

1/27/10 1:59 PM


126

10. 5#"CK(!%+==#?C?B'8>#;5"")B#;#":%H-&"@AB=M@A)

-"#>#)#"6!F 9 #"J#:33:W?5#"CK( ! %+ = =#?C?"#$%H-B7 $ M>E # ;"+ 3 B'8>#;5"")*7ACK(!%+==#?&<B?G(#=)#5 B'8>#;5"")B#;#":%H-&"@AB=M@A) UVA=-4P?B'8>#;5"")*7A)7G?#MC;L<*7A>'MC?:=<)T%&<#5#"W%F8:%H5#"9(#= =#? )75#"CK(!%+==#?;)'?-27$?&<B?G(#=)#5 *+S=?7S-!"#H><2?C;L<9HCK( 2+>M'-;%@BCK(9#55#"-5/8"&<B?G(#=)#5 B#*F-K<? D"=>7G(#2CK(:5%3-4P? -K@SB-!%F=C?5#">7G(#2 :%HD"==#?;73B(B$CK(K#?B(B$-4P?-K@SB-!%F=C?5#" W%F8?ES#8#% (MT"T4*7A 9 :%H8#"#=*7A 9) B'8>#;5"")B#;#":%H-&"@AB=M@A) -4P?B'8>#;5"")*7ACK(?ES#)+?)#5*7A>'MM(2$

-."/01"") :: "2)3*4#056#57"8$#9#"$,:;<=-."/0.#>8",1"").#>8",

kirati part 3-EDIT.indd 126

1/27/10 1:59 PM


127

:"#"*4;< 9 !"#$%&'()**"+$+9I:8"A!##B9"A"#>(@-D#L<9*JL<B #%&''() 45(6 1223( )<=(+&) >?()*;) *+,)-./0) 788+9(:; 2532 78.88% 7.60% 0.00% 10.81% 2.70% 2533 75.18% 8.64% 0.00% 13.04% 3.15% 2534 75.51% 8.69% 0.00% 12.62% 3.18% 2535 74.14% 9.10% 0.26% 13.70% 2.80% 2536 73.90% 7.84% 0.30% 15.07% 2.88% 2537 76.28% 8.31% 0.00% 13.21% 2.20% 2538 78.18% 8.90% 0.00% 10.19% 2.73% 2539 75.84% 8.18% 0.00% 14.01% 1.98% 2540 77.14% 8.34% 0.02% 13.38% 1.12% 2541 73.03% 9.78% 0.42% 15.03% 1.74% 2542 73.30% 10.22% 0.73% 14.46% 1.29% 2543 73.75% 10.71% 1.00% 13.62% 0.93% 2544 68.88% 13.48% 1.57% 14.92% 1.15% 2545 70.20% 12.68% 1.68% 14.13% 1.31% 2546 70.76% 12.00% 1.69% 14.87% 0.67% >A(6*4;@ B< ": !"#$"%&'(! *) &+,-$.,/+,0$$"%1*$2!/&3453# DM$5")!+\?#!%+==#? !" #.$.

*M:*?:%HB?'"+5/,!%+==#?

!"#$!% &'()*"+!$,

kirati part 3-EDIT.indd 127

1/27/10 1:59 PM


128

#C=4;< 9 !"#$%&'()**"+$+9I:8"A!##B9"A"#>(@-D#L<9*JL<B "#$%&' 9 ()"*+,-./00)1*12345)6(""72)6)"8.9:;"<'20=<'7 100% 80%

!"#$%&$

60%

$'(#)*$

40%

+,#-.//)0#1& 2334#

20%

56*7 7#$%)8$9:;<$

0% 2532

2534

2536

2538

2540

2542

2544

2546

-."/01"") :: "2)3*4#056#57"8$#9#"$,:;<=-."/0.#>8",1"").#>8",

kirati part 3-EDIT.indd 128

1/27/10 1:59 PM


129

11. 5#"CK(!%+==#?C?B'8>#;5"")BD%;H

B'8>#;5"")BD%;HUVA=)75#"CK(!%+==#?B$<#=-G()G(?)#5*7A>'M RM(;+?)#CK( 6<#?;F?*M:*?-K@BS -!%F=B@?A X 9?*E#C;(6#< ?;F?5%#$-4P?!%+==#?;%+5GB= B'8>#;5"")?7S &@BCK(6V=52<# 60% GB=!%+==#?*+S=;)M 9H-;Q?RM(2#< D"==#?4T?U7-)?8,:%HD"==#?W%F8&B?5"78><2?C;L< ;+?)#CK(*=+S %F5R?8,*;7A #RM(C?4"H-*.:%H6<#?;F?*7?A #E -G(#9#58<#=4"H-*. *+S=?7SB#9-4P?-!"#H6<#?;F?)78(?*'?*7A6T552<#-K@SB-!%F=B@A?X B$<#=R"5Q8#) B'8>#;5"")BD%;H5Q$=+ )7:?2D?()C?5#"CK(5#] U1"")K#8FC?>+M><2?*7-A !F)A GVS? (MT"T4*7A 10 :%H8#"#=*7A 10)

!"#$!% &'()*"+!$,

kirati part 3-EDIT.indd 129

1/27/10 1:59 PM


130

:"#"*4;< 10 !"#$%&'()**"+$+9I:8"A!##B9M(A@ !

!" #.$. 2532 2533 2534 2535 2536 2537 2538 2539 2540 2541 2542 2543 2544 2545 2546 @

#%&''() *+,)-./0) 7.47% 6.61% 5.19% 5.08% 4.31% 4.11% 3.75% 3.39% 3.70% 4.71% 4.06% 4.34% 3.76% 3.55% 3.39%

1223( 10.19% 10.25% 10.55% 7.00% 8.12% 9.44% 9.36% 9.15% 9.61% 9.10% 8.64% 10.47% 8.76% 9.21% 8.56%

45(6 788+9(:; 4.09% 6.97% 9.23% 10.10% 9.21% 7.74% 8.36% 6.69% 11.33% 14.15% 13.96% 18.17% 16.76% 16.72% 18.70%

)<=(+&)

>?()*;)

36.73% 32.79% 29.99% 35.95% 26.94% 21.23% 16.15% 15.93% 14.62% 10.48% 10.53% 9.81% 6.98% 6.53% 5.47%

41.53% 43.37% 45.03% 41.87% 51.41% 57.49% 62.37% 64.85% 60.74% 61.57% 62.81% 57.22% 63.74% 64.00% 63.87%

>A(6*4;<B" ": !"#$"%&'()*&+,-$.,/+,0$$"%1*$2!/&3453# DM$5") !+\?#!%+==#?*M:*?:%HB?'"+5/,!%+==#?

-."/01"") :: "2)3*4#056#57"8$#9#"$,:;<=-."/0.#>8",1"").#>8",

kirati part 3-EDIT.indd 130

1/27/10 1:59 PM


131

#C=4;< 10 !"#$%&'()**"+$+9I:8"A!##B9M(A@ #$%&'( 10 )*#+,-./011*2+23!45*6)##738/69

100% 80%

!"#$%&$

60%

$'(#)*$

40%

+,#-.//)0#1&

20%

2334# 56*77#$%)8$9:;<$

0% 2532

2534

2536

2538

2540

2542

2544

2546

!"#$!% &'()*"+!$,

kirati part 3-EDIT.indd 131

1/27/10 1:59 PM


132

12. 5#"CK(!%+==#?C?B'8>#;5"")-&)7:%HB'8>#;5"")W%F8[+Jc, D%;H

C?K< 2= 15 4I *7A W< #?)# B' 8>#;5"")-&)7 RM( -4%7A $?)#CK( 6< #?;F ?:%H 5]#U1"")K#8F)#5GVS? -!@AB*M:*?!%+==#?;)'?-27$? R^^_# :%H?ES#)+? (MT"4T *7A 11 :%H8#"#=*7A 11) C?GJH-M7$25+? B'8>#;5"")W%F8[+Jc,D%;H 5Q;+?)#CK(5]#U1"")K#8F)#5GVS? -!@AB*M:*??ES#)+?:%HR^^_# :8<5Q$+= 8(B=B#.+$R^^_#)#56V=52<# 60% GB=!%+==#?*'54"H-[* (MT"4T *7A 12 :%H 8#"#=*7A 12)

-."/01"") :: "2)3*4#056#57"8$#9#"$,:;<=-."/0.#>8",1"").#>8",

kirati part 3-EDIT.indd 132

1/27/10 1:59 PM


133

:"#"*4;< 11 !"#$%&'()**"+$+9I:8"A!##B-DB; #%&''() 45(6 1223( )<=(+&) >?()*;) *+,)-./0) 788+9(:; 2532 19.15% 37.90% 7.86% 29.44% 5.65% 2533 13.59% 34.38% 17.66% 27.34% 7.03% 2534 10.82% 32.59% 18.66% 24.38% 13.56% 2535 13.85% 30.97% 15.96% 25.05% 14.16% 2536 13.45% 33.67% 15.27% 28.11% 9.50% 2537 12.22% 33.83% 18.20% 24.19% 11.55% 2538 11.14% 32.68% 25.23% 14.24% 16.70% 2539 5.44% 24.76% 23.42% 26.66% 19.72% 2540 9.73% 26.19% 16.35% 29.19% 18.55% 2541 11.00% 28.63% 15.25% 23.50% 21.63% 2542 4.73% 26.47% 16.18% 28.12% 24.49% 2543 4.52% 27.59% 18.93% 18.55% 30.41% 2544 3.51% 26.83% 19.90% 20.12% 29.63% 2545 4.24% 28.97% 21.29% 21.34% 24.15% 2546 4.34% 26.77% 19.02% 22.39% 27.48% ! )*&+,-$.,/+,0$$"%1*$2!/&3453# DM$5") >A(6*@4;<B": !"#$"%&'( !" #.$.

!+\?#!%+==#?*M:*?:%HB?'"+5/,!%+==#?

!"#$!% &'()*"+!$,

kirati part 3-EDIT.indd 133

1/27/10 1:59 PM


134

#C=4;< 11 !"#$%&'()**"+$+9I:8"A!##B-DB; "#$%&' 11 ()"*+,-./00)1*12345)6(""7897& 100% 80% !"#$%&$ 60%

$'(#)*$ +,#-.//)0#1&

40%

2334#

20%

56*77#$%)8$9:;<$

0% 2532 2533 2534 2535 2536 2537 2538 2539 2540 2541 2542 2543 2544 2545 2546

-."/01"") :: "2)3*4#056#57"8$#9#"$,:;<=-."/0.#>8",1"").#>8",

kirati part 3-EDIT.indd 134

1/27/10 2:00 PM


135

:"#"*4;< 12 !"#$%&'()**"+$+9I:8"A!##BN(1:H)OPQM(A@

6

!" #.$.

%&&'(

2532 2533 2534 2535 2536 2537 2538 2539 2540 2541 2542 2543 2544 2545 2546

79.05% 75.12% 80.57% 77.22% 77.89% 72.56% 67.42% 64.08% 68.20% 63.98% 64.99% 66.98% 65.18% 63.99% 62.33%

)*(+ ,--./(01 0.00% 0.00% 0.00% 0.00% 0.00% 5.17% 5.61% 11.89% 11.72% 17.57% 17.33% 21.41% 23.08% 23.52% 25.04%

234(.52 20.95% 24.88% 19.43% 22.78% 22.11% 22.27% 26.97% 24.03% 20.08% 18.45% 17.68% 11.60% 11.73% 12.49% 12.63%

>A(6*4;B< !": !"#$"%&'(*) &+,-$.,/+,0$$"%1*$ 2!/&3453# DM$5")!+\?#!%+==#?*M:*? :%HB?'"+5/,!%+==#?

!"#$!% &'()*"+!$,

kirati part 3-EDIT.indd 135

1/27/10 2:00 PM


136

#C=4;< 12 !"#$%&'()**"+$+9I:8"A!##BN(1:H)OPQM(A@ "#$%&' 12 ()"*+,-./00)1*12345)6(""78.94:/;<=>.6? 100% 80% 60%

!"#$%&!

40%

'($)*++%,$-.

20%

/001$

0% 2532

2534

2536

2538

2540

2542

2544

2546

-."/01"") :: "2)3*4#056#57"8$#9#"$,:;<=-."/0.#>8",1"").#>8",

kirati part 3-EDIT.indd 136

1/27/10 2:00 PM


137

13. 5#"CK(!%+==#?C?>#G#5#"G?><=

>#G#-."/05F9*7ACK(!%+==#?)#5*7A>'M&@B>#G#5#"G?><= DM$52<# 60% GB=W%F8[+Jc,?ES#)+?6T5CK(R4C?>#G#5#"G?><= :%H>+M><2??7S)7:?2D?() -!FA)GVS?DM$8%BM 52<#&"VA=;?VA=GB=!%+==#?*7ACK(C?5#"G?><=B$T<C?"T4GB= ?ES#)+?M7-U% ><2??ES#)+?-3?UF?)7&2#)>E#&+L"B=%=)# &FM-4P? 25% GB=!%+==#?*7ACK(*+S=;)MC?>#G#5#"G?><= (MT"T4*7A 13 :%H8#"#=*7A 13) -4P?*7A?<#>+=-582<# 4"F)#J5#"CK(?ES#)+?M7-U%RM(-"FA)%M%=8+S=:8< 4I 2541 -4P?8(?)# 9?4I 2547 9V=5%+3-!FA)GVS?B75 4"F)#J5#"CK(*M:*?5+?"H;2<#=?ES#)+?M7-U%:%H?ES#)+?-3?UF? )7W%)#9#5"#&#-4"7$3-*7$3GB=?ES#)+?*+S=>B=K?FM?7S DM$C?K<2=4I 25412546 W%F8[+Jc,*+S=>B=)7"#&#C5%(-&7$=5+? *E#C;(5#"CK(?ES#)+?M7-U%-!@AB *M:*??ES#)+?-3?UF?)7:?2D?()%M%= :8<C?4I 2547 "+03#%8"V="#&# ?ES#)+? *E#C;("#&#G#$4%75GB=?ES#)+?M7-U%8EA#52<#"#&#G#$4%75GB= ?ES#)+?-3?UF?)#56V=%F8"%H 3-4 3#* -4P?:"=9T=C9C;(&?;+?)#CK(?ES#)+? M7-U%)#5GVS? 8+S=:8<4I 2545 -4P?8(?)# -"FA))75#"CK(-K@SB-!%F=M(#?5#"G?><= 4"H-[*C;)<X &@B5]#U1"")K#8F:%H5]#UDUdB%, :8<C?4"F)#J*7$A =+ R)<)#5 ?+5 B$<#=R"5Q8#) &#M2<#5#"><=->"F)DM$[#&"+09H*E#C;(5#"CK(-K@SB-!%F= -;%<#?7SC?!#;?HK?FM8<#=X )7&2#)>E#&+L)#5GVS?C?B?#&8 !"#$!% &'()*"+!$,

kirati part 3-EDIT.indd 137

1/27/10 2:00 PM


138

:"#"*4;< 13 !"#$%&'()**"+$+8"?"!"#?+86* 2F">+!:"B=#@-H4?9*N(1:H)OPQ+FG"B)+ !" #.$.

%&'( !)*+,-./01 -2.3

2531

-45(65

578'195 -:,;<=>465

?/-(.

1.35%

24.87%

17.61%

52.73%

3.44%

2532

1.09%

23.82%

17.45%

53.65%

3.99%

2533

1.13%

23.55%

16.99%

54.35%

3.98%

2534

1.59%

23.80%

17.49%

52.97%

4.16%

2535

1.58%

25.04%

17.25%

51.64%

4.50%

2536

1.30%

24.35%

16.01%

54.05%

4.29%

2537

1.12%

24.84%

15.58%

53.84%

4.62%

2538

0.81%

24.38%

13.83%

56.75%

4.22%

2539

0.80%

24.76%

13.48%

57.78%

3.19%

2540

0.62%

25.25%

13.54%

57.28%

3.31%

2541

0.59%

27.79%

14.37%

54.65%

2.59%

2542

0.59%

28.14%

14.74%

52.39%

4.13%

2543

1.07%

27.52%

15.85%

51.74%

3.82%

2544

1.58%

27.06%

16.31%

51.21%

3.84%

2545

1.36%

27.47%

15.73%

51.16%

4.27%

578'195-+'

2546

1.17% 26.85% 14.70% 52.03% 5.24% < >A(6*4;<B": !"#$"%&'()*&+,-$.,/+,0$$"%1*$2!/&3453# DM$

5")!+\?#!%+==#?*M:*?:%HB?'"+5/,!%+==#?

-."/01"") :: "2)3*4#056#57"8$#9#"$,:;<=-."/0.#>8",1"").#>8",

kirati part 3-EDIT.indd 138

1/27/10 2:00 PM


139

:"#"*4;< 13 !"#$%&'()**"+$+8"?"!"#?+86* 2F">+!:"B=#@-H4?9*N(1:H)OPQ+FG"B)+ !"#$%& 13 '(!)*+,-.//(0)01(2(2013/45(60'7(8#!9:;$2</=->7;.?@A0B5(8.0

100% 80% !"#$%&!'($

60%

!"#$%&!')*+,-./0! '/!10!

40%

23$1456(*'789%':7; <8'17

20% 0% 2531 2533 2535 2537 2539 2541 2543 2545

!"#$!% &'()*"+!$,

kirati part 3-EDIT.indd 139

1/27/10 2:00 PM


140

14. 5#"CK(R^^_#:%H5]#U;'=8()C?&"+2-"@B?

!%+==#?;%+5*7ACK(C?*7AB$T<B#.+$B$T<C? 2 "T4:33 &@B5]#U;'=8() (LPG) :%H R^^_# "T4*7A 14 :%H8#"#=*7A 14 :>M=4"F)#J5#"CK(!%+==#?-;%<#?7S "H;2<#=4I 2532-2546 DM$-Y%7A$:%(2 *7AB$T<B#.+$CK(R^^_#-4P?4"F)#J "(B$%H 65 GB=!%+==#?*+S=;)M*7ACK(C?*7AB$T<B#.+$ *7A-;%@BB75"(B$%H 35 B$T<C?"T4GB=5]#U;'=8() 4"F)#J5#"CK(!%+==#?C?*7BA $TB< #.+$)7:?2D?()-!F)A GV?S *'54I8=+S :8< 4I 2532 :8<5%+3%M%=B$<#=-;Q?RM(K+MC?4I 2541 UVA=-4P?W%9#52F5Z8 -."/05F9C?4I 2540 :%H-"FA)-!FA)GVS?B75&"+S=C?4I 2545

-."/01"") :: "2)3*4#056#57"8$#9#"$,:;<=-."/0.#>8",1"").#>8",

kirati part 3-EDIT.indd 140

1/27/10 2:00 PM


141

:"#"*4;< 14 !"#$%&3RRS">(@!T"UAI*:&B$+4;<95C69".)5 != ..>.

!"#$%&'%"()*+!,-./-0/-+1234+15% -67%$/-8#4 LPG ?@@A% "B$

9#8+!,-"*:3;< LPG

?@@A%

"B$

2532

369

810

1,179

31.30%

68.70%

100.00%

2533

427

699

1,126

37.92%

62.08%

100.00%

2534

462

780

1,242

37.20%

62.80%

100.00%

2535

921

1,116

2,037

45.21%

54.79%

100.00%

2536

765

1,312

2,077

36.83%

63.17%

100.00%

2537

863

1,522

2,385

36.18%

63.82%

100.00%

2538

951

1,733

2,684

35.43%

64.57%

100.00%

2539

1168

1,930

3,098

37.70%

62.30%

100.00%

2540

1322

2,359

3,681

35.91%

64.09%

100.00%

2541

1050

1,607

2,657

39.52%

60.48%

100.00%

2542

883

1,554

2,437

36.23%

63.77%

100.00%

2543

892

1,659

2,551

34.97%

65.03%

100.00%

2544

746

1,794

2,540

29.37%

70.63%

100.00%

2545

982

1,884

2,866

34.26%

65.74%

100.00%

2546

1039

2,002

3,041

34.17%

65.83%

100.00%

>A(6*4;B< ": !"#$"%&'(*) &+,-$.,/+,0$$"%1*$2!/&3453# DM$5")!+\?#!%+==#? *M:*?:%HB?'"+5/,!%+==#?

!"#$!% &'()*"+!$,

kirati part 3-EDIT.indd 141

1/27/10 2:00 PM


142

#C=4;< 14 !"#$%&3RRS">(@!T"UAI*:&B$+4;<95C69".)5 !"#$"##%&'("#)*+ 4000

!"#$%& 14 '(!)*+,--.(/01'2(34567+8)9$%&:;"<:(=> ;

3500 3000 2500 2000

LPG

1500

,--.' /0(

1000 500 0 2532 2533 2534 2535 2536 2537 2538 2539 2540 2541 2542 2543 2544 2545 2546

-."/01"") :: "2)3*4#056#57"8$#9#"$,:;<=-."/0.#>8",1"").#>8",

kirati part 3-EDIT.indd 142

1/27/10 2:00 PM


143

15. D&"=>"(#=5#"CK(?ES#)+?GB=4"H-*.R*$

"T4*7A 15 :%H8#"#=*7A 15 :>M=D&"=>"(#=5#"CK(?ES#)+?DM$"2)GB= 4"H-*.R*$C?K<2=4I 2525-2546 9H-;Q?RM(2<#52<#&"VA=;?VA=GB=?ES#)+? 6T 5 CK( R 4C?5#"G?>< = :%H>+ M >< 2 ?5#"CK( ?ES # )+ ? C?>#G#5#"G?>< = 5Q )7 :?2D?()>T=GVS?M(2$ >#G#5#"W%F8*7CA K(?#ES )+?)#5"B=%=)#&@BB'8>#;5"") (4"H)#J 13%) :%H-5/8"5"") (4"H)#J 10%) ><2?5#"CK(?ES#)+?-!@ABW%F8R^^_# )74"F)#J:%H>+M><2?*7%A M%=)#5 -!"#H)75#"CK(5#] U1"")K#8FC?5#"W%F8 R^^_#*M:*?5#"CK(?ES#)+?-!FA)GVS? 4"F)#J5#"CK(?ES#)+?-!FA)GVS?*'54I9?5"H*+A=4I 2539 ;%+=9#5?+S? 5Q%M%= -!"#H-5FM2F5Z8-."/05F9C?4I 2540 :%H%M%=8<B9#5?+S?B75 3-4 4I :8<5Q5%+3)#-!FA)GVS?C?4I 2545 W%5"H*3*7A-5FM9#52F5Z8-."/05F9 &"+S=?+S?><=W%8<B5#"CK(?ES#)+?B$T<;%#$4I

!"#$!% &'()*"+!$,

kirati part 3-EDIT.indd 143

1/27/10 2:00 PM


144

:"#"*4;< 15 !"#$%&+FG"B)+$+8"?"-.#/0!12:6"*K

2525

11.92%

14.90%

14.07%

1.94%

:;.8<1= >,)&2? &.)@;. 6.42%

2526

11.71%

12.75%

15.17%

1.69%

7.90%

50.78%

2527

11.60%

12.11%

12.64%

1.65%

5.82%

56.18%

2528

12.69%

12.75%

7.34%

1.83%

5.67%

59.72%

2529

12.44%

12.27%

6.71%

1.51%

6.41%

60.65%

2530

11.74%

12.42%

4.11%

1.29%

6.76%

63.70%

2531

10.84%

12.04%

5.14%

1.03%

7.33%

63.63%

2532

9.79%

12.07%

6.41%

0.97%

7.14%

63.62%

2533

9.00%

12.07%

11.71%

1.01%

6.20%

60.02%

2534

8.65%

12.10%

13.16%

1.15%

5.83%

59.11%

2535

8.18%

13.38%

14.11%

1.12%

5.83%

57.38%

2536

6.20%

13.24%

15.28%

0.84%

5.73%

58.71%

2537

5.46%

12.85%

15.70%

1.28%

5.56%

59.15%

2538

4.82%

13.07%

15.86%

0.91%

5.51%

59.83%

2539

5.04%

13.19%

15.60%

1.00%

5.70%

59.47%

2540

5.04%

12.18%

13.26%

1.14%

5.79%

62.58%

2541

5.85%

12.93%

12.39%

0.91%

5.87%

62.04%

2542

9.00%

12.21%

10.73%

0.94%

6.30%

60.81%

2543

9.21%

13.29%

7.04%

0.52%

7.30%

62.64%

2544

9.62%

13.19%

2.29%

0.48%

7.91%

66.51%

2545

9.77%

13.42%

1.96%

0.52%

7.60%

66.74%

!" #.$.

%&'()&))* +,(-./&))*

012( 3445.

+6789

&.)A8-BC 50.75%

2546 10.07% 13.00% 1.99% 0.52% 7.35% 67.06% >A(6*4;7 <B": !"#$"%%6)"! 70%1*$2!/&3453# DM$5")!+\?#!%+==#?*M:*?:%HB?'"+5/,!%+==#? -."/01"") :: "2)3*4#056#57"8$#9#"$,:;<=-."/0.#>8",1"").#>8",

kirati part 3-EDIT.indd 144

1/27/10 2:00 PM


145

#C=4;< 15 !"#$%&+FG"B)+$+8"?"-.#/0!12:6"*K !"#$%& 15 '(!)*+,-.(/0,),1(2(34!56'789:(;<

!"#$%&'()*+,-+#*."# /01$2 3&,45667# /)48#9+**: ;+<4*+**:

25 45

25 43

25 41

25 39

25 37

25 35

25 33

25 31

25 29

+#*=$8>?

25 27

25 25

100% 90% 80% 70% 60% 50% 40% 30% 20% 10% 0%

!"#$!% &'()*"+!$,

kirati part 3-EDIT.indd 145

1/27/10 2:00 PM


146

16. D&"=>"(#=5#"CK(R^^_#GB=R*$

"T4*7A 16 :%H8#"#=*7A 16 :>M=D&"=>"(#=5#"CK(R^^_#C?K<2=4I 2524-2546 9H-;Q?RM(2#< R^^_#-5@B3*+=S ;)M6T5CK(R4C? 3 >#G# &@BD"==#?B'8>#;5"") 1'"5F9 (UVA="2)6V=B#&#"!#JFK$,:%H>6#?*7A"#K5#"M(2$) :%H*7AB$T<B#.+$ DM$4"H)#J 45% GB=R^^_#6T5CK(C?D"==#?B'8>#;5"") 30% CK(C? M(#?1'"5F9 :%HB75 20% CK(C?*7AB$T<B#.+$ 4"F)#J5#"CK(R^^_#-!FA)GVS?DM$8%BM*'54IC?K<2= 20 4I*7AW<#?)# $5-2(?C?4I 2541 -*<#?+S?*7A%M%= -?@AB=9#5W%5"H*39#52F5Z8-."/05F9

-."/01"") :: "2)3*4#056#57"8$#9#"$,:;<=-."/0.#>8",1"").#>8",

kirati part 3-EDIT.indd 146

1/27/10 2:00 PM


147

:"#"*4;< 16 !"#$%&3RRS" 2F">+!:"B=#@-H4NC&$%& !" #.$. %&'()*+,-./,'$0123456 ,278'9433: ,;+(< 2524 22.89% 25.06% 51.05% 0.99% 2525 24.15% 25.69% 49.15% 1.00% 2526 24.77% 26.79% 47.40% 1.04% 2527 25.47% 26.45% 46.97% 1.11% 2528 25.78% 26.68% 46.42% 1.12% 2529 26.30% 26.54% 46.12% 1.04% 2530 24.65% 29.45% 45.47% 0.43% 2531 22.13% 31.32% 45.84% 0.71% 2532 21.39% 30.79% 47.00% 0.82% 2533 21.09% 31.25% 46.76% 0.90% 2534 21.09% 32.20% 45.66% 1.05% 2535 20.81% 36.61% 41.39% 1.20% 2536 21.20% 38.11% 39.75% 0.93% 2537 20.63% 32.18% 46.26% 0.93% 2538 20.53% 32.33% 46.13% 1.01% 2539 20.75% 33.33% 44.79% 1.14% 2540 21.43% 35.43% 41.90% 1.23% 2541 23.46% 37.20% 38.34% 1.01% 2542 22.40% 32.41% 44.42% 0.78% 2543 22.15% 31.44% 45.65% 0.77% 2544 22.83% 31.09% 45.40% 0.68% 2545 22.07% 31.63% 45.65% 0.64% 2546 21.97% 31.51% 45.87% 0.65% >A(6*4;<B": !"#$"%5889"1*$2!/&3453# DM$5")!+\?#!%+==#?*M:*?:%H B?'"+5/,!%+==#? !"#$!% &'()*"+!$,

kirati part 3-EDIT.indd 147

1/27/10 2:00 PM


148

#C=4;< 16 !"#$%&3RRS" 2F">+!:"B=#@-H4NC&$%& !"#$%& 16 '(!)*+,--.(/0(12'3(4#!567$8"+)*+

100% 80% !"#$%

60%

&'($)*#!+,-!(./+ 012345

40%

!167(83229

20% 0% 2524

2527

2530

2533

2536

2539

2542

2545

-."/01"") :: "2)3*4#056#57"8$#9#"$,:;<=-."/0.#>8",1"").#>8",

kirati part 3-EDIT.indd 148

1/27/10 2:00 PM


149

17. 3*>"'4

5#"2F-&"#H;,"T4:335#"CK(!%+==#?G(#=8(?K7SC;(-;Q?4"H-MQ?>E#&+LUVA=B#9 6@B-4P?3*-"7$?RM( 2 G(B &@B =#@-JV+>#! 5#"CK(!%+==#?C?-5@B3*'55%')< WTC( K()&7 2#)$@M;$'?< ;"@B5#"8B3>?B=&<B?G(#=>T=8<B5#"-4%7A$?:4%=*+S=GB="#&#:%HGB= "#$RM( DM$-Y!#HB$<#=$FA=WT(CK(4"H-[*B'8>#;5"") 5#"-4%7A$?:4%= "#&#GB=-K@S B -!%F = K?F M 8< # =X *E # C;( B' 8 >#;5""))7 5 #"4"+ 3 8+ 2 :%H 8B3>?B=8<B5#"-4%7A$?:4%=GB="#&#&<B?G(#=)#5 >#G#5#"G?><=5Q )75#"4"+3-4%7A$?5#"CK(*M:*?5+?"H;2<#=?ES#)+?M7-U%:%H?ES#)+?-3?UF? B$<#="2M-"Q2 DM$-4P?5#"8B3>?B=8<B&2#):858<#="H;2<#="#&#GB= ?ES#)+?*+S=>B=K?FM?7S 3*-"7$?M+=5%<#2?<#9HK7SC;(-;Q?2<# ?D$3#$-57A$25+3 [#/7:%H"#&#!%+==#?*7AWT(CK(9H8(B=9<#$-4P?-"@AB=>E#&+L 5%R55#"8%#M :%H"HM+3"#&#?<#9H-4P?-&"@AB=)@B>E#&+L*7ACK(C?5#"><=->"F)5#"4"H;$+M !%+==#?:%H5#"CK(!%+==#?B$<#=)74"H>F*1F[#! =#@-JV + 4;< 8 9* C?4O 9 9' 3+ ? !%+ = =#?*7A )7 " #&#:!=&@ B ?ES # )+ ? ;#5-4_#;)#$;%+5&@B5#"%M5#"CK(?ES#)+? 5Q&2"9HCK()#8"5#"*7A)'<=R4 C?>#G#*7A)75#"CK(?ES#)+?)#5X UVA=5Q&@B>#G#5#"G?><= !"#$!% &'()*"+!$,

kirati part 3-EDIT.indd 149

1/27/10 2:00 PM


149

17. บทสรุป

การวิเคราะห์รูปแบบการใช้พลังงานข้างต้นชี้ให้เห็นประเด็นสําคัญซึ่งอาจ ถือเป็นบทเรียนได้ 2 ข้อ คือ ประเด็นแรก การใช้พลังงานในเกือบทุกกลุม่ ผูใ้ ช้มคี วามยืดหยุน่ หรือการตอบสนองค่อนข้างสูงต่อการเปลี่ยนแปลงทั้งของราคาและของ รายได้ โดยเฉพาะอย่างยิ่งผู้ใช้ประเภทอุตสาหกรรม การเปลี่ยนแปลง ราคาของเชื้ อ เพลิ ง ชนิ ด ต่ า งๆ ทํ า ให้ อุ ต สาหกรรมมี ก ารปรั บ ตั ว และ ตอบสนองต่ อ การเปลี่ ย นแปลงของราคาค่ อ นข้ า งมาก สาขาขนส่ ง ก็ มีการปรับเปลี่ยนการใช้ทดแทนกันระหว่างนํ้ามันดีเซลและนํ้ามันเบนซิน อย่างรวดเร็ว โดยเป็นการตอบสนองต่อความแตกต่างระหว่างราคาของ นํ้ามันทั้งสองชนิดนี้ บทเรียนดังกล่าวน่าจะชี้ให้เห็นว่า นโยบายเกี่ยวกับ ภาษีและราคาพลังงานที่ผู้ใช้จะต้องจ่ายเป็นเรื่องสําคัญ กลไกการตลาด และระดับราคาน่าจะเป็นเครื่องมือสําคัญที่ใช้ในการส่งเสริมการประหยัด พลังงานและการใช้พลังงานอย่างมีประสิทธิภาพ ประเด็ น ที่ ส อง ในปั จ จุ บั น พลั ง งานที่ มี ร าคาแพงคื อ นํ้ า มั น หากเป้าหมายหลักคือการลดการใช้นํ้ามัน ก็ควรจะใช้มาตรการที่มุ่งไป ในสาขาที่มีการใช้นํ้ามันมากๆ ซึ่งก็คือสาขาขนส่ง ปราณี ทินพกรย์ พรายพล คุ้มทรั


150

4

เศรษฐศาสตร์ ว่าด้วยความทุกข์

ปาฐกถาเนือ่ งในโอกาสรับตำ�แหน่งกีรตยาจารย์แห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ สาขาสังคมศาสตร์ ประจำ�ปี 2550 เมื่อวันที่ 26 มิถุนายน 2551 ณ ห้องประชุมบุญชู โรจนเสถียร มหาวิทยาลัย ธรรมศาสตร์ ท่าพระจันทร์ เศรษฐธรรม :: รวมบทปาฐกถากีรตยาจารย์แห่งเศรษฐศาสตร์ธรรมศาสตร์


151

ศาสตราจารย์ ดร.ปราณี ทินกร กีรตยาจารย์แห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ สาขาสังคมศาสตร์ ประจำ�ปี 2550

ปราณี ทินกร


152

1. บทนํา

แนวคิ ด เรื่ อ งอรรถประโยชน์ ซึ่ ง มาจากคํ า ภาษาอั ง กฤษว่ า “Utility” มีอิทธิพลอย่างมากต่อการวิเคราะห์พฤติกรรมผู้บริโภคของนักเศรษฐศาสตร์ ซึ่งวิเคราะห์ว่าพฤติกรรมของบุคคลปกติโดยทั่วไป เกิดขึ้นหรือ กระทํ า ไปเพื่ อ แสวงหาอรรถประโยชน์ สู ง สุ ด ภายใต้ ข้ อ จํ า กั ด ของงบ ประมาณหรื อ รายได้ ที่ ต นมี (Utility maximization under budget constraint) อรรถประโยชน์ที่ได้นี้น่าจะนํามาซึ่งความพึงพอใจและความ สุขของบุคคลนั้นๆ นายเจเรมี เบนธัม (Jeremy Bentham, ค.ศ. 1748-1832) นัก ปรัชญาคนสําคัญชาวอังกฤษ และหนึ่งในผู้ให้กําเนิดแนวคิดเรื่อง Utility เคยกล่าวว่า “Happiness is the greatest good.” หรือแปลความหมาย ได้ว่า ความสุขคือสิ่งที่ยิ่งใหญ่ที่สุด ในการวิเคราะห์ของนักเศรษฐศาสตร์ สํานักนีโอคลาสสิก “ความสุข” (happiness) กับ “อรรถประโยชน์” (utility) มักจะถูกใช้ในความหมายเดียวกัน ตัวอย่างเช่น เมื่อมีการผลิตและการ บริโภคสินค้าชนิดใดชนิดหนึ่ง แสดงว่าสินค้าดังกล่าว รวมทั้งปัจจัยต่างๆ ทีใ่ ช้ในการผลิตสินค้านัน้ น่าจะสร้างความสุขให้แก่สงั คม แนวคิดเช่นนีท้ าํ ให้ เกิดการยอมรับทัว่ ไปว่า การเติบโตทางเศรษฐกิจทีท่ าํ ให้สงั คมมีทรัพยากร เศรษฐธรรม :: รวมบทปาฐกถากีรตยาจารย์แห่งเศรษฐศาสตร์ธรรมศาสตร์


153

สําหรับการอุปโภคบริโภคเพิม่ ขึน้ น่าจะทําให้อรรถประโยชน์รวมของสังคม เพิ่มขึ้น และสังคมก็น่าจะมีความสุขมากขึ้น อย่างไรก็ตาม หากเรานําคําสอนของพุทธศาสนามาพิจารณาเรือ่ ง ความสุข เราจะเห็นว่าความสุขในพุทธศาสนาคือการนิพพาน (นิพพานฺ ปรมฺ สุขขฺ) ซึ่งอยู่เหนือการใช้ชีวิตของสามัญชนในทางโลก ในขณะที่ชีวิต มนุษย์เต็มไปด้วยความทุกข์นับแต่วันที่เราเกิดมาในโลก และคําสอนของ พุทธศาสนาในเรื่องอริยสัจก็จะเน้นให้เราเข้าใจเรื่องความทุกข์ สาเหตุ ของความทุกข์ การดับทุกข์ และหนทางสู่การดับทุกข์ ดังนั้นจึงเกิดเป็น ประเด็นในใจของผูเ้ ขียนว่า หากเรามองปัญหาเศรษฐกิจจากมุมของความ ทุกข์ แทนทีจ่ ะมองจากมุมของความสุข จะทําให้แนวนโยบายเกีย่ วกับการ เจริญเติบโตทางเศรษฐกิจและการรักษาเสถียรภาพของเศรษฐกิจต่างไป จากการนําเสนอของนักเศรษฐศาสตร์กระแสหลักหรือไม่ บทความนี้จึงมีวัตถุประสงค์เพื่อทบทวนการวิเคราะห์วิจัยของ นั ก วิ ช าการ โดยเฉพาะนั ก เศรษฐศาสตร์ เกี่ ย วกั บ ความสุ ข และนํ า มุมมองของพุทธศาสนาเรือ่ งความสุขและความทุกข์มาวิเคราะห์วา่ นโยบาย เศรษฐกิจมหภาค โดยเฉพาะด้านการเจริญเติบโตและการรักษาเสถียรภาพ ทางเศรษฐกิจ ควรจะเป็นเช่นใด

ปราณี ทินกร


154

2. การวิเคราะห์ความสุขของนักเศรษฐศาสตร์

ภายในช่ ว งกว่ า ทศวรรษที่ ผ่ า นมา เราจะพบว่ า นั ก วิ ช าการทั้ ง ในด้ า น เศรษฐศาสตร์และศาสตร์อื่นๆ หันมาสนใจวิเคราะห์ความสุขกันมากขึ้น วารสารชื่อ Journal of Happiness Studies ถือกําเนิดขึ้นในปี ค.ศ. 2000 และยังคงตีพมิ พ์บทความเกีย่ วกับความสุขจากนักวิชาการในศาสตร์ตา่ งๆ มาจนถึงปัจจุบัน และยังมีผู้นําทั้งบทความและงานวิจัยในเรื่องความสุข มารวบรวมตีพิมพ์เป็นเล่มและเขียนเป็นหนังสือกันมาก ดังตัวอย่างงาน ต่างๆ ในเอกสารอ้างอิงท้ายบทความนี้ เมื่ อ เรี ย งลํ าดับผลงานต่างๆ เกี่ยวกับ “ความสุข” ตามเวลา ทีป่ รากฏสูส่ ายตาของนักวิชาการทางด้านเศรษฐศาสตร์ เราอาจกล่าวได้วา่ ริชาร์ด เอ. อีสเตอร์ลิน (Richard A. Easterlin) นับว่าเป็นนักเศรษฐศาสตร์ รุ่นแรกที่ตีพิมพ์ผลงานในด้านนี้ โดยในปี ค.ศ. 1974 อีสเตอร์ลินได้เขียน บทความชื่อ “Does Economic Growth Improve the Human Lot? Some Empirical Evidence” ซึ่งตีพิมพ์ในหนังสือชื่อ Nations and Households in Economic Growth: Essays in Honor of Moses Abramovitz โดยมี พอล เอ. เดวิด (Paul A. David) และ เมลวิน ดับเบิลยู. รีเดอร์ (Melvin W. Reder) เป็นบรรณาธิการ เศรษฐธรรม :: รวมบทปาฐกถากีรตยาจารย์แห่งเศรษฐศาสตร์ธรรมศาสตร์


155

ในบทความดังกล่าว อีสเตอร์ลินใช้ข้อมูลจากการสํารวจความ รู้สึกเกี่ยวกับความสุขของคนอเมริกันที่ได้จาก Gallup poll และข้อมูล การสํารวจความรู้สึกดังกล่าวของคนในประเทศต่างๆ จาก Cantril (1965) โดยข้อมูลเป็นลักษณะให้ผู้ตอบแบบสอบถามเป็นคนนิยามความสุขของ ตนเอง และประเมินความสุขของตนเองว่าอยู่ในระดับใด ระหว่าง 0 (worst possible life) ถึง 10 (best possible life) ผลการศึกษาพบว่า ภายใน แต่ละประเทศ ความสัมพันธ์ระหว่างรายได้และความสุขมักจะไปในทิศทาง เดียวกัน คือโดยเฉลี่ยแล้ว ผู้มีรายได้สูงมักจะมีระดับความสุขสูงกว่าผู้มี รายได้ตํ่า อย่างไรก็ตาม เมื่อเปรียบเทียบระหว่างประเทศ ความสัมพันธ์ ดังกล่าวกลับไม่ชัดเจน นั่นคือ ระดับความสุขของประชากรในประเทศที่มี รายได้ตอ่ หัวสูง บางทีกไ็ ม่ได้สงู กว่าระดับความสุขของประชากรในประเทศ ที่มีรายได้ต่อหัวตํ่ากว่า นอกจากนี้ จากการวิเคราะห์ข้อมูลข้ามเวลา (over time) ของ ประเทศสหรัฐอเมริกา อีสเตอร์ลินยังพบว่า รายได้ที่เพิ่มขึ้นมิได้ทําให้ ความสุขเพิม่ ขึน้ ซึง่ ต่อมาก็ได้รบั การยืนยันจากงานของ Frey and Stutzer (2002) ที่พบว่าในระหว่างปี ค.ศ. 1946 ถึง ค.ศ. 1996 รายได้ต่อหัวของ ประชากรสหรัฐอเมริกาเพิม่ ขึน้ 2.5 เท่า แต่ระดับความสุขของคนในประเทศ กลับอยู่คงที่ งานชิ้นแรกของอีสเตอร์ลินได้จุดประกายให้นักเศรษฐศาสตร์ จํานวนมากหันมาสนใจศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างรายได้กบั ความสุข และ ข้อมูลเชิงประจักษ์ส่วนใหญ่ก็ให้ผลคล้ายกับงานของอีสเตอร์ลิน ข้อสรุป ที่ดูเหมือนขัดกันเกี่ยวกับความสัมพันธ์ระหว่างระดับความสุขกับระดับ รายได้ที่พบจากข้อมูลภายในแต่ละประเทศ ณ เวลาใดเวลาหนึ่ง (at any point in time) ซึ่งขัดกับข้อมูลข้ามเวลา (over time) และข้อมูลระหว่าง ประเทศเช่นนี้ ถูกเรียกขานในวงวิชาการว่า “Happiness paradox” หรือ “Easterlin paradox”1 ซึ่งทําให้นักวิจัยจํานวนมากพยายามค้นหาเหตุผล Carol Graham (2005). “The Economics of Happiness: Insights on Globalization from a Novel Approach,” World Economics. Vol. 6, No. 3 July-September 2005. 1

ปราณี ทินกร


156

และคําตอบสําหรับปรากฏการณ์นี้ งานจํานวนมากของนักเศรษฐศาสตร์ในการค้นหาปัจจัยที่ส่ง ผลต่อความสุข อาศัยการวิเคราะห์เชิงเศรษฐมิติ โดยประมาณค่าสมการ ในลักษณะที่ให้ระดับความสุข (H) เป็นตัวแปรตาม ส่วนตัวแปรอิสระ (X) ทีม่ อี ทิ ธิพลต่อระดับความสุขมีหลากหลาย เช่น รายได้ เพศ ระดับการศึกษา อายุ สถานภาพการสมรส การมีงานทํา ศาสนา สิ่งอํานวยความสะดวก (เช่น โทรศัพท์ รถ) สุขภาพ อาชีพ สถานะโดยเปรียบเทียบในสังคม (การ กระจายรายได้) การทําประโยชน์ให้สังคม (community involvement and volunteer) ทัศนคติทางสังคมและการเมือง ระบบการเมือง ฯลฯ โดยเขียน เป็นสมการ ซึ่งอาจจะอยู่ในรูปเชิงเส้น (linear) หรือไม่ก็ได้ ดังนี้

H = f(X1, X2, X3, ...... , Xk )

งานต่างๆ เหล่านีม้ จี าํ นวนหลายร้อยชิน้ ซึง่ ผูเ้ ขียนไม่สามารถอ่าน ได้หมดภายในเวลาอันจํากัด ดังนั้นจึงได้เลือกอ่านและสรุปผลการศึกษา จากงานบางชิน้ ดังนี:้ Easterlin (1974); Morawetz, Atia, Bin-Nun, Felous, Gariplerden, Harris, Soustel, Tombros and Zarfaty (1977); Clark and Oswald (1994); Di Tella Mac Culloch and Oswald (2001); Easterlin (2001); Frey and Stutzer (2000, 2002); Graham and Pettinato (2002); Easterlin (2003); Blanchflower and Oswald (2004); Graham (2005); Borooah (2006); Easterlin (2006); Ovaska and Takashima (2006); Dynan and Ravina (2007); Dolan, Peasgood and White (2008). จากงานที่อ้างถึงข้างต้น เราอาจจัดกลุ่มของตัวแปรที่พบว่ามี อิทธิพลต่อระดับความสุขที่ผู้คนประเมินตนเอง ที่เรียกว่า self-rated happiness หรือในงานบางชิ้นใช้คําว่า subjective well-being ได้เป็น 3 ประเภทดังนี้ 1. ปัจจัยทางด้านเศรษฐกิจ ซึ่งได้แก่ รายได้ ประเภทของอาชีพ ที่ทํา การมีงานทํา/การว่างงาน ภาวะเงินเฟ้อ การกระจายรายได้ (หรือ เศรษฐธรรม :: รวมบทปาฐกถากีรตยาจารย์แห่งเศรษฐศาสตร์ธรรมศาสตร์


157

สถานะทางเศรษฐกิจโดยเปรียบเทียบ) 2. ปัจจัยส่วนบุคคล เช่น เพศ อายุ การศึกษา เชื้อชาติ หรือถิ่น กําเนิด สถานภาพการสมรส ความสัมพันธ์ทางเพศ การมีบุตร ความ สัมพันธ์กับบุคคลในครอบครัว และสุขภาพ 3. ปัจจัยเชิงสถาบันและสังคม เช่น ศาสนา โอกาสและการมี ส่วนร่วมในกิจกรรมทางสังคม ที่อยู่อาศัยและสิ่งแวดล้อม ระบบการเมือง เสรีภาพ คุณภาพของความสัมพันธ์ทางสังคม (quality of social relationship) ในกรณีของตัวแปรเชิงเศรษฐกิจ รายได้ต่อหัวของประชากร จะเป็นตัวแปรที่มีพื้นที่ในการวิเคราะห์ในงานต่างๆ มากที่สุด เริ่มต้นด้วย งานของอีสเตอร์ลินในปี ค.ศ. 1974 ซึ่งพบ “Easterlin Paradox” และการ ศึกษาของ Graham (2005) โดยใช้ขอ้ มูลในปี ค.ศ. 1990 ของประเทศต่างๆ ก็แสดงให้เห็นภาพทีค่ ล้ายคลึงกัน นัน่ คือ ภายในประเทศใด ณ เวลาใดเวลา หนึ่ง คนที่มีรายได้สูงมีความสุขมากกว่าคนที่มีรายได้ตํ่า แต่เมื่อพิจารณา ข้อมูลระหว่างประเทศแล้ว ความสัมพันธ์นกี้ ลับไม่ชดั เจน และเมือ่ พิจารณา ข้ามเวลาซึ่งรายได้เพิ่มขึ้น กลับพบว่าความสุขมักคงที่ Frey and Stutzer (2002) รายงานว่า หลังสงครามโลกครั้งที่สอง รายได้แท้จริงต่อหัวของประชากรในหลายประเทศเพิ่มขึ้น แต่ความสุข ของประชาชนกลับไม่เพิ่มขึ้น เช่นในประเทศสหรัฐอเมริกา รายได้แท้จริง ต่อหัวของประชากรเพิ่มขึ้นจาก 11,000 ดอลลาร์ ในปี ค.ศ. 1946 เป็น 27,000 ดอลลาร์ ในปี ค.ศ. 1992 แต่ระดับความสุขโดยการประเมินตนเอง (self-reported happiness) กลับไม่เปลี่ยนแปลง นอกจากนี้ งานวิจัยบางชิ้นยังพบว่า เมื่อควบคุม (control) ปัจจัย ด้านอื่น เช่น อายุ เพศ การศึกษา สถานภาพการสมรส ฯลฯ แล้ว รายได้ กลับไม่มีอิทธิพลต่อความสุข ในขณะที่งานบางชิ้นพบว่า การกระจาย รายได้ ที่ เ หลื่ อ มลํ้ า กั น มาก ทํ า ให้ ค วามสุ ข ของคนในสั ง คมลดน้ อ ยลง (Morawetz, et.al., 1977) ปราณี ทินกร


158

นอกจากรายได้และการกระจายรายได้จะมีผลต่อความสุขแล้ว ตัวแปรเชิงเศรษฐกิจทีม่ ผี ลกระทบอย่างสําคัญต่อความสุขคือ อัตราเงินเฟ้อ และอัตราการว่างงาน โดยทั้งสองตัวแปรนี้มีผลทางลบต่อความสุข แต่ อัตราการว่างงานจะมีผลกระทบสูงกว่าอัตราเงินเฟ้อ ดู Clark and Oswald (1994), Frey and Stutzer (2000,2002) และ Di Tella Mac Culloch and Oswald (2001) ทั้งอัตราการว่างงานและอัตราเงินเฟ้อเป็นตัวแปรสําคัญ ที่เกี่ยวข้องกับการดําเนินนโยบายการรักษาเสถียรภาพทางเศรษฐกิจ ซึ่ ง ผู้ เ ขี ย นจะนํ า ประเด็ น นี้ ม าพิ จ ารณาอย่ า งละเอี ย ดในตอนที่ 4 ของ บทความนี้ สําหรับปัจจัยอื่นๆ ที่มิใช่ปัจจัยด้านเศรษฐกิจนั้น เราอาจกล่าว ได้ ว่ า โดยเฉลี่ ย แล้ ว ผู้ ที่ มี ค วามสุ ข มากกว่ า มั ก จะเป็ น ผู้ ที่ มี สุ ข ภาพดี เป็นคนที่มีการศึกษาสูง เป็นผู้ที่สมรสแล้ว และมีความสัมพันธ์ที่ดีกับคน ในครอบครัว และเพศหญิงมักจะมีความสุขโดยเฉลี่ยสูงกว่าเพศชาย ในขณะที่ผู้ที่เชื่อมั่นในศาสนามักจะมีความสุขมากกว่าคนที่ไม่เห็นความ สําคัญของศาสนา การมีโอกาสทําประโยชน์ให้แก่สังคม เช่น งานอาสา สมัคร ก็จะมีผลทําให้รู้สึกมีความสุขมากขึ้นด้วย ดู Borooah (2006); Dynan and Ravina (2007); Graham and Pettinato (2002) และ Dolan et.al. (2008) เป็นต้น Lane (2000) ซึ่งเป็นนักรัฐศาสตร์ได้เสนอว่า ในระบบเศรษฐกิจ ที่พัฒนาแล้ว ความสุขหรือความเป็นอยู่ที่ดีมาจากมิตรภาพ (friendship) และชีวิตครอบครัวที่ดี (good family life) เขาเห็นว่าความรํ่ารวยของ ระบบเศรษฐกิจที่เพิ่มขึ้นมีผลสั่นคลอนสถาบันครอบครัวและความเป็น ปึกแผ่นของชุมชน (community integration) ทําให้ปัจเจกบุคคลสูญเสีย ความไว้เนื้อเชื่อใจกัน และเขาได้เสนอว่าเราควรจัดลําดับความสัมพันธ์ ในชีวิตใหม่ โดยหันมาเพิ่มความสําคัญของความเป็นเพื่อน (companionship) ถึงแม้ว่าอาจจะทําให้รายได้ลดลงก็ตาม หลั ง จากเขี ย นงานชิ้ น แรกเกี่ ย วกั บ ความสุ ข ในปี ค.ศ. 1974 อีสเตอร์ลนิ ยังคงวิจยั และเขียนบทความเกีย่ วกับเรือ่ งนีต้ อ่ เนือ่ งยาวนานถึง เศรษฐธรรม :: รวมบทปาฐกถากีรตยาจารย์แห่งเศรษฐศาสตร์ธรรมศาสตร์


159

30 ปี2 และในบทความทีเ่ ขียนในปี ค.ศ. 2003 Easterlin ระบุอย่างชัดเจนว่า ในงานเขียนของเขา เขาใช้คาํ ว่าความสุข (happiness) ในความหมายเดียว กันกับคําต่อไปนี้คือ อรรถประโยชน์ (utility) ความเป็นอยู่ที่ดี (well-being) ความพอใจในชีวิต (life satisfaction) และสวัสดิการ (welfare) Easterlin (2003) ระบุว่า คําเหล่านี้ใช้ทดแทนกันได้ (interchangeable) และวัดได้จากการตอบแบบสอบถามทีใ่ ห้ผตู้ อบประเมินระดับ ความสุขของตัวเอง เช่น การสํารวจ General Social Survey (GSS) ของ ประเทศสหรัฐอเมริกา ซึง่ จัดทํามาตัง้ แต่ปี ค.ศ. 19723 นอกจากอีสเตอร์ลนิ แล้ว นักวิชาการคนอื่นๆ ก็มักใช้คําเหล่านี้ทดแทนกันเช่นกัน เราจะเห็น ได้วา่ คําเหล่านีม้ นี าํ้ หนักทางด้านความรูส้ กึ หรือจิตใจ (subjective) ต่างกัน แม้ว่าจะมีความหมายใกล้เคียงกันก็ตาม ถึงแม้ว่าเราจะยอมรับความใกล้เคียงกันของคําเหล่านี้ แต่ก็ยัง อาจจะมีปัญหาเกี่ยวกับการวัด (measurement) ความสุข เนื่องจากอาจ จะมีความคลาดเคลื่อนว่าผู้ตอบรายงานความรู้สึกที่แท้จริงของตนหรือไม่ ซึ่งก่อให้เกิดปัญหาเกี่ยวกับความน่าเชื่อถือของข้อมูล ปัญหาอีกประการ หนึ่ ง ก็ คื อ การนํ า ระดั บ ความสุ ข ของผู้ ต อบแบบสอบถามแต่ ล ะคนมา เปรียบเทียบกัน อย่างไรก็ตาม นักจิตวิทยาซึ่งใช้ข้อมูล GSS ในการ วิเคราะห์เช่นกัน มีความเห็นว่า แม้ข้อมูลจะไม่สมบูรณ์ แต่ก็สะท้อนความ รู้สึกที่สําคัญของผู้ตอบเกี่ยวกับความพอใจในชีวิตของตนเอง และมีความ น่าเชื่อถือพอที่จะนํามาวิเคราะห์ได้

ดู Easterlin (1974), Easterlin (1987), Easterlin (1995), Easterlin and Schaeffer (1999), Easterlin (2001), Easterlin (2003), Easterlin (2006) 3 General Social Survey (GSS) เป็นการสํารวจเพื่อรวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับลักษณะของ ประชากร (demographic characteristic) และทัศนคติของพลเมืองในประเทศสหรัฐอเมริกา การสํารวจมีทุกปี ตลอดช่วงปี ค.ศ. 1972-1994 (ยกเว้นปี ค.ศ. 1979, 1981 และ 1992) และนับตั้งแต่ปี ค.ศ. 1994 การสํารวจนี้ทําทุก 2 ปี (ดูเว็บไซต์ http://en.wikipedia.org/wiki/ General-Social-Survey, accessed 21/5/2008) 2

ปราณี ทินกร


160

นอกจากปัญหาเรื่องการวัดระดับความสุขและความน่าเชื่อถือ แล้ว ยังมีปัญหาเรื่องการเปรียบเทียบความรู้สึกระหว่างบุคคล ว่าเรา เปรี ย บเที ย บได้ ห รื อ ไม่ หรื อ การเปรี ย บเที ย บระหว่ า งประเทศซึ่ ง มี วัฒนธรรมที่ต่างกัน เป็นต้น อย่างไรก็ตาม ในทัศนะของผู้เขียน ประเด็น สํ า คั ญ ที่ น่ า จะนํ า มาพิ จ ารณาคื อ นั ย ยะทางนโยบาย (policy implications) ของผลการศึกษาถึงปัจจัยที่มีต่อความสุข ในการวิเคราะห์ของ เศรษฐศาสตร์กระแสหลัก เรามักจะหลีกเลี่ยงการวิเคราะห์เกี่ยวกับความ รู้สึกหรือจิตใจ หากแต่มุ่งไปที่พฤติกรรมที่แสดงออกมาหรือ “revealed preference” เช่น ถ้าเราสังเกตเห็นบุคคลหนึ่งเลือกบริโภคสินค้าชุด (X2, Y2) มากกว่าชุด (X1, Y1) แสดงว่าการเลือก (X2, Y2) ย่อมทําให้เขารู้สึก ดีกว่าหรือมีความสุขกว่านั่นเอง นัยยะของการวิเคราะห์ดังกล่าวก็คือ เราสามารถทําให้คนมีความสุขมากขึ้น โดยทําให้เขามีรายได้เพิ่มขึ้น เนื่องจากการมีมากกว่าย่อมดีกว่า หรือ “more is better” ดังนั้นแนว นโยบายของรัฐสําหรับสังคมโดยรวมก็คือ การส่งเสริมการเจริญเติบโต ของเศรษฐกิจ เพราะจะทําให้คนในสังคมมีความเป็นอยู่ที่ดีขึ้นและมีความ สุขมากขึ้น อย่างไรก็ตาม Easterlin (2003) เห็นว่าแนวคิด “more is better” นั้นไม่น่าจะเป็นความจริง เพราะงานวิจัยจํานวนหนึ่งได้ชี้ให้เห็นว่า คนเรามีการปรับความคาดหวังมากขึ้นเมื่อรายได้เพิ่มขึ้น และยังทําการ เปรียบเทียบสถานะของตนกับคนอื่นๆ ซึ่งทั้งสองอย่างนี้จะทําให้คนรู้สึก ไม่พอใจกับรายได้ที่ตนมี ไม่ว่าจะในระดับใด ดังเช่นที่มีผู้กล่าวว่า ความ ต้องการของมนุษย์ไม่มีที่สิ้นสุด ดังนั้นคนที่มีมากกว่าอาจมิได้มีความสุข มากกว่าก็ได้ เพราะยังคงมีความต้องการเพิ่มขึ้นจากระดับที่ตนมีอยู่แล้ว ผลการวิ จั ย เรื่ อ งความสุ ข อี ก ประเด็ น หนึ่ ง ซึ่ ง มิ ไ ด้ มี นั ย ยะต่ อ นโยบายเศรษฐกิ จ ก็ คื อ การพบว่ า ความสั ม พั น ธ์ ท างเพศที่ ป กติ ห รื อ สมํ่าเสมอ (regular sex) มีผลอย่างสําคัญต่อความสุข ซึ่งในผลการศึกษา ของ Blanchflower and Oswald (2004) ชี้ว่า “sex” อาจจะมีความสําคัญ ต่อความสุขมากกว่าเงิน จากการวิเคราะห์ขอ้ มูลเกีย่ วกับกิจกรรมทางเพศ เศรษฐธรรม :: รวมบทปาฐกถากีรตยาจารย์แห่งเศรษฐศาสตร์ธรรมศาสตร์


161

และความสุขของกลุ่มคน 16,000 ตัวอย่าง Blanchflower and Oswald (2004) รายงานว่า “Sex enters so strongly and positively in happiness equations.” และนักวิชาการคู่นี้ยังได้ประมาณการว่า สําหรับคนอเมริกัน โดยเฉลี่ย (average American) หากมีการเพิ่มกิจกรรมความสัมพันธ์ ทางเพศจากเดือนละ 1 ครั้งเป็นเดือนละ 4 ครั้งหรือสัปดาห์ละครั้ง จะมีผล ต่อความสุขเทียบเท่ากับการมีรายได้เพิม่ ขึน้ ถึงปีละ 50,000 ดอลลาร์ (หรือ ประมาณ 1.5 ล้านบาท) และยังประมาณการว่า ชีวิตแต่งงานที่ยืนยาว (lasting marriage) มีผลต่อความสุขเทียบเท่ากับการได้รับเงินเพิ่มถึง ปีละ 100,000 ดอลลาร์ (ประมาณ 3.3 ล้านบาท) ในขณะที่การหย่าร้าง ทําให้ความสุขลดลงเทียบเท่ากับการสูญเงินปีละ 60,000 ดอลลาร์ ผลการ ศึกษาดังกล่าวอาจจะเป็นประโยชน์ต่อการดําเนินนโยบายทางด้านสังคม แต่เราไม่สามารถนํามาแปลงเป็นนโยบายทางเศรษฐกิจได้ เราอาจกล่าวโดยสรุปได้ว่า งานวิจัยต่างๆ เกี่ยวกับความสุขชี้ให้ เห็นว่า รายได้มีผลทางบวกต่อความสุขจนถึงระดับหนึ่ง แต่หลังจากนั้น แล้ว รายได้ที่เพิ่มขึ้นเกือบจะไม่มีผลต่อระดับความสุขอีก และความสุข ยังขึ้นอยู่กับปัจจัยต่างๆ ทั้งเรื่องส่วนตัว สังคม สิ่งแวดล้อม รวมทั้งระบบ การเมืองด้วย

ปราณี ทินกร


162

3. พุทธศาสนากับความสุขและความทุกข์

ในขณะที่ Blanchflower and Oswald (2004) พบว่าการเสพกามถือเป็น ความสุขที่สําคัญประการหนึ่งของคนอเมริกัน เทียบเท่ากับการได้รับเงิน จํานวนมาก แต่ในทางพุทธศาสนากลับมองว่าความสุขที่เกิดจากกามนั้น ถือเป็นความสุขทางโลก และเป็นที่มาของความทุกข์ ไม่อาจเทียบได้กับ ความสุขที่อยู่เหนือโลก ซึ่งเกิดจากปัญญาที่รู้เท่าทันความจริงของโลก ถึ ง แม้ ว่ า ในเนื้ อ หาของพระไตรปิ ฎ ก 4 ซึ่ ง จารึ ก คํ า สอนของ พระพุทธเจ้า จะมีการกล่าวถึงทั้งเรื่องความสุขและความทุกข์ แต่ใน หลักธรรมคําสอนของพระพุทธองค์จะเน้นไปที่เรื่องความทุกข์และการ ดับทุกข์มากกว่าการแสวงหาความสุข ตัวอย่างของคํากล่าวของพระพุทธองค์เกี่ยวกับเรื่องความสุขมีปรากฏอยู่ในพระสุตตันตปิฎกหลายตอน 5 เราสามารถอ่านพระไตรปิฎกและอรรถกถาไทยฉบับมหามกุฎราชวิทยาลัยได้ที่เว็บไซต์ http://www.dhammahome.com 5 ตัวอย่างเช่น * พระสุตตันตปิฎก ทีฆนิกาย ปาฏิกวรรค เล่ม 3 ภาค 1 ตอนที่ 115 ว่าด้วยการประกอบตนให้ตดิ ความสุข 4 อย่าง * พระสุตตันตปิฎก มัชฌิมนิกาย อุปริปณ ั ณาสก์ เล่ม 3 ภาค 2 ตอนที่ 659 ว่าด้วยความรูต้ ดั สิน ความสุข * พระสุตตันตปิฎก สังยุตตนิกาย สคาถวรรค์ เล่ม 1 ภาค 2 พหุธิติสูตร ว่าด้วยความสุข * พระสุตตันตปิฎก สังยุตตนิกาย สฬายตนวรรค เล่ม 4 ภาค 1 ตติยปัณณสก์ ตอนที่ 153 ว่าด้วย ความสุขความทุกข์อาศัยอะไรเกิด * พระสุตตันตปิฎก อังคุตรนิกาย ติกนิบาตร เล่ม 1 ภาค 3 หัตถกสูตร ว่าด้วยผู้มีความสุขแท้ 4

เศรษฐธรรม :: รวมบทปาฐกถากีรตยาจารย์แห่งเศรษฐศาสตร์ธรรมศาสตร์


163

หากกล่าวโดยย่อแล้ว ความสุขในแนวทางพุทธศาสนามีอยู่ 2 ประเภทคือ ความสุขทางโลกและความสุขเหนือโลก โดยบ่อเกิดของความสุขมาจาก6 1. กามสุข เป็นความสุขที่เกิดจากการสนองตอบประสาทสัมผัส ทั้งหก คือ ตา หู จมูก ลิ้น กาย และใจ 2. ฌานสุข เป็นความสุขของคนทีฝ่ กึ จิต ปฏิบตั สิ มาธิ จนเกิดความ ดื่มดํ่าลึกซึ้ง 3. วิมุติสุข เป็นความสุขที่เกิดจากจิตหลุดพ้นโดยสิ้นเชิงจาก พันธนาการของกิเลสทั้งปวง สําหรับปุถุชนคนธรรมดาโดยทั่วไปที่ยังคงติดอยู่ในกิเลสตัณหา ความสุขที่มาจากกามสุขเป็นสิ่งที่พึงปรารถนา แม้ว่าแนวทางของพุทธศาสนาจะไม่ได้ปฏิเสธความสุข แต่ก็ชี้ให้เห็นว่า ความสุขทางโลกนั้น ไม่จีรังยั่งยืน และทําให้เกิดความทุกข์ด้วยซํ้าไป ดังที่ท่านพุทธทาสภิกขุ เคยอธิบายธรรมไว้ว่า7 “ความสุขนั้น ถ้ารู้จักให้ดีๆ ก็หาง่ายแสนง่าย แต่ถ้าประมาท มีแต่ ความอยากได้ แต่ไม่ทําความรู้จักให้เข้าใจเสียก่อน ไขว่คว้าให้ตายก็ไม่ได้ การหลงใหลในความสุขนั้นแหละคือตัวความทุกข์ สังเกตดูให้ดี ได้ความ สุขมาหลงใหล นัน่ แหละคือตัวความทุกข์ จิตไม่ได้รอดพ้นจากเงือ้ มมือของ โลภะ โทสะ โมหะ แต่ประการใด ยิง่ หลงใหลในความสุข ก็ยงิ่ เพิม่ โลภะ โทสะ โมหะ มากขึ้น โลภะที่อยากจะได้มันก็มากขึ้น เมื่อไม่ได้ มันก็ขัดใจเป็น โทสะมากขึ้น แล้วก็อยู่ด้วยความหลงใหลในลักษณะนี้ตลอดเวลาที่ความ ทุกข์ ความทุกข์ก็เกิดมาจากความกระหายต่อความสุข ความกระหายต่อ ความสุขมันก็เป็นทุกข์แล้ว” เนือ่ งจากพระพุทธองค์ทรงเน้นการสอนให้คนเข้าใจเรือ่ งโลก ว่ามี สภาพเป็นอนิจจัง ทุกขัง อนัตตา ดังนั้นเนื้อหาเกี่ยวกับความทุกข์จึงมีอยู่ คําบรรยายธรรมของพระมหาวุฒิชัย วชิรเมธี (ว.วชิรเมธี) เรื่อง “ความสุขในพุทธศาสนา” แสดงทีจ่ ฬุ าลงกรณ์มหาวิทยาลัย วันที่ 19 สิงหาคม 2550 ดูเว็บไซต์ http://www.prajan.com 7 คลายทุกข์ด้วยวิถีแห่งพุทธ, เรียบเรียงโดย เรือนธรรม, สํานักพิมพ์ร่วมด้วยช่วยกัน, 2550 6

ปราณี ทินกร


164

มากมายในพระไตรปิฎก และทรงสอนว่าความทุกข์คอื อะไร (ทุกข์) เหตุให้ เกิดทุกข์ (สมุทยั ) ความดับทุกข์ (นิโรธ) และวิธใี ห้ถงึ ความดับทุกข์ (มรรค) ทั้งสี่เรื่องนี้รวมเรียกว่า หลักอริยสัจ ซึ่งผู้สนใจสามารถอ่านรายละเอียดได้ ในพระไตรปิฎกและในคําบรรยายธรรมของพระภิกษุหลายท่านที่เป็นที่ เคารพนับถือของพุทธศาสนิกชน เช่น ท่านพุทธทาสภิกขุ และท่านปัญญา นันทภิกขุ เป็นต้น ในทีน่ ผี้ เู้ ขียนขอยกเฉพาะคําสอนของพระพุทธเจ้าในส่วนทีอ่ ธิบาย “ความทุกข์” ตามที่ปรากฏอยู่ในพระไตรปิฎกมาดังนี8้ “ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ของจริงแห่งพระอริยสัจ คือ ทุกข์ เป็น อย่างไรเล่า แม้ชาต ก็เป็นทุกข์ แม้ชรา ก็เป็นทุกข์ แม้มรณะ ก็เป็นทุกข์ แม้ โสกะปริเทวะ (ความรํ่าไรรําพัน) ทุกข์ (ความไม่สบายกาย) โทมนัส (ความ เสียใจ) และอุปายาส (ความคับแค้นใจ) ก็เป็นทุกข์ ความประสบสัตว์และ สังขารซึ่งไม่เป็นที่รัก ก็เป็นทุกข์ ความพลัดพรากจากสัตว์และสังขารซึ่ง เป็นที่รัก ก็เป็นทุกข์ สัตว์ปรารถนาสิ่งใดย่อมไม่ได้ แม้ข้อที่ไม่สมประสงค์ นั้น ก็เป็นทุกข์ โดยย่ออุปาทานขันธ์ 5 (ขันธ์ประกอบด้วยอุปาทานความ ถือมั่น) เป็นทุกข์” หรือในคําพูดของท่านปัญญานันทภิกขุ9 ก็คือ “ความเกิดเป็น ทุกข์ ความแก่เป็นทุกข์ ความเจ็บไข้เป็นทุกข์ ความตายก็เป็นทุกข์ ความ ประจวบกับสิ่งที่ไม่รักเป็นทุกข์ ความพรากจากสิ่งที่รักเป็นทุกข์ ความ ปรารถนาสิ่งใดแล้วไม่ได้สิ่งนั้นเป็นทุกข์ กล่าวโดยย่อ ขันธ์ห้าที่ประกอบ ด้วยอุปาทานเป็นทุกข์”

พระไตรปิฎก พระสุตตันตปิฎก ทีฆนิกาย มหาวรรค เล่ม 2 ภาค 2 หน้า 232 จากเว็บไซต์ http://www.dhammahome.com (accessed 27/5/2008) 9 ทางสายกลาง วิถพี ทุ ธสูก่ ารดับทุกข์ วาระ 90 ปี ปัญญานันทภิกขุ, เรียบเรียงโดย เรือนธรรม, สํานักพิมพ์ร่วมด้วยช่วยกัน, พิมพ์ครั้งที่ 4, พฤศจิกายน 2550 8

เศรษฐธรรม :: รวมบทปาฐกถากีรตยาจารย์แห่งเศรษฐศาสตร์ธรรมศาสตร์


165

คําสอนดังกล่าวชี้ให้เห็นว่า โลกนี้เต็มไปด้วยความทุกข์ โดย มีทั้งความทุกข์ทางกายและความทุกข์ทางใจ การลดความทุกข์ลงก็น่า จะมีผลทําให้มีความสุขเพิ่มขึ้น นโยบายที่จะลดความทุกข์ให้ประชาชน อาจไม่ต้องใช้งบประมาณและความพยายามมากเท่ากับนโยบายที่จะเพิ่ม ความสุข เพราะมันเป็นธรรมชาติของมนุษย์ที่จะมีความต้องการมากขึ้น เรื่อยๆ ไม่มีที่สิ้นสุด ในขณะที่คําสอนของพระพุทธองค์เน้นให้เราเข้าใจ ความทุกข์และการดับทุกข์ หากเราเอาแนวคิดนี้มาประยุกต์ใช้ในการมอง ปัญหาเศรษฐกิจ เราก็นา่ จะมองจากมุมทีว่ า่ ในเชิงเศรษฐกิจนัน้ ประชาชน มีความทุกข์อะไรบ้าง และนโยบายที่จะลดความทุกข์ทางเศรษฐกิจของ ประชาชนน่าจะเป็นเช่นใด โดยผู้เขียนจะเน้นเฉพาะเรื่องความทุกข์ทาง กายเท่านัน้ เพราะผูเ้ ขียนทราบดีวา่ แม้ความทุกข์ทางใจจะสามารถเกิดขึน้ ได้จากความทุกข์ทางกาย แต่กม็ สี าเหตุอนื่ อีกมากมายเกินกว่าทีใ่ ครจะมา คิดแก้ปัญหาความทุกข์ทางใจให้ผู้อื่นได้ บุคคลแต่ละคนต้องเป็นที่พึ่งของ ตนในการหาทางดับทุกข์ทางใจของตนเอง

ปราณี ทินกร


166

4. ความทุกข์ระดับมหภาคในเศรษฐกิจไทย

เวลาที่ เ รารู้ สึ ก เป็ น ทุ ก ข์ แสดงว่ า เรามี ค วามไม่ ส บายกายไม่ ส บายใจ และหากพิจารณาเฉพาะทางกายแล้ว การที่ร่างกายมีทุกข์หรือมีความ ยากลําบาก ก็เพราะร่างกายเราขาดสิ่งจําเป็นพื้นฐาน (Basic Needs) สําหรับการดํารงชีวิตนั่นเอง เช่น หิวเพราะไม่มีอาหาร หนาวเพราะไม่มี เครื่องนุ่งห่ม เป็นต้น ถ้าหากเรามีรายได้เพียงพอ เราก็คงไม่ปล่อยให้ ร่างกายต้องทนทรมานจากการขาดสิ่งจําเป็นพื้นฐาน ดังนั้นความยากจน หรือการมีรายได้ไม่เพียงพอที่จะจัดหาสิ่งจําเป็นพื้นฐาน จึงเป็นความทุกข์ ทางเศรษฐกิจทีส่ าํ คัญ นักเศรษฐศาสตร์ทศี่ กึ ษาวิจยั เกีย่ วกับความยากจน และแนวนโยบายในการแก้ไขปัญหาความยากจน จึงเป็นผู้ที่มองปัญหา เศรษฐกิจจากมุมของความทุกข์ การแสวงหาแนวทางแก้ปัญหาความ ยากจนเป็นการแสวงหาหนทางบรรเทาทุกข์ให้คนที่อยู่ร่วมโลก นอกจากสิ่ ง จํ า เป็ น พื้ น ฐานสํ า หรั บ การดํ า รงชี วิ ต การเจ็ บ ไข้ ได้ป่วยก็เป็นความทุกข์ทางกายที่สําคัญ เพราะสามารถเกิดขึ้นได้กับทั้ง คนจนและคนไม่จน บางครัง้ คนไม่จนแต่ประสบปัญหาโรคภัยไข้เจ็บร้ายแรง ทําให้ต้องเสียเงินรักษาตัวจํานวนมาก อาจกลายเป็นคนจนก็ได้ เศรษฐธรรม :: รวมบทปาฐกถากีรตยาจารย์แห่งเศรษฐศาสตร์ธรรมศาสตร์


167

ในปัจจุบัน รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2550 ได้ระบุ ไว้ชัดเจนในมาตรา 51 ว่า “บุคคลย่อมมีสิทธิเสมอกันในการรับบริการทางสาธารณสุขที่ เหมาะสมและได้มาตรฐาน และผูย้ ากไร้มสี ทิ ธิได้รบั การรักษาพยาบาลจาก สถานบริการสาธารณสุขของรัฐโดยไม่เสียค่าใช้จ่าย” สิทธิดังกล่าวมีส่วนทําให้ภาระที่อาจจะเกิดขึ้นได้จากการเจ็บไข้ ได้ป่วยบรรเทาเบาบางลง เพราะไม่ต้องเสียค่าใช้จ่ายถ้าเข้ารับการรักษา พยาบาลจากสถานบริการของรัฐ เนื่องจากสถานบริการสาธารณสุขย่อม ใช้งบประมาณแผ่นดินที่มาจากภาษีที่จัดเก็บจากทุกคนในประเทศ จึง เท่ากับว่า ผู้ที่เสียภาษีทุกคน (ไม่ว่าทางตรงหรือทางอ้อม) มีส่วนร่วม ในการช่วยบรรเทาความทุกข์ที่เกิดจากการเจ็บไข้ได้ป่วยให้แก่เพื่อนร่วม ชาติ นอกจากความยากจนและการเจ็บไข้แล้ว ยังมีความทุกข์เชิง เศรษฐกิจอีก 2 ประเภทที่ส่งผลกระทบให้เกิดความทุกข์ทางกายแก่ คนในสังคม ความทุกข์ดังกล่าวเกิดขึ้นจากภาวะเศรษฐกิจ 2 ประการ คือ การว่างงานและภาวะเงินเฟ้อ การว่างงานย่อมทําให้คนไม่มีรายได้ มาเลี้ยงตนเองและครอบครัว ในขณะที่ภาวะเงินเฟ้อหรือภาวะที่ราคา สินค้าเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ โดยที่รายได้มิได้เพิ่มตาม ก็จะทําให้อํานาจซื้อที่ แท้จริงของรายได้ลดลง นักเศรษฐศาสตร์ชาวอเมริกันชื่อ อาร์เทอร์ โอคุน (Arthur Okun)10 จึงได้นําอัตราการว่างงานและอัตราเงินเฟ้อมารวมกัน และเรียกว่า ดัชนีความทุกข์ (Misery Index) ในส่วนที่เหลือของบทความนี้ ผู้เขียนจะนําประเด็นเรื่องความ ยากจนและดัชนีความทุกข์ในระดับมหภาคของประเทศไทยมาพิจารณา เพื่อวิเคราะห์ว่าสถานการณ์สองด้านนี้ของประเทศไทยมีแนวโน้มเป็น อาร์เทอร์ โอคุน (ค.ศ. 1928-1980) เคยดํารงตําแหน่งประธานคณะที่ปรึกษาเศรษฐกิจ (Chairman of the Council of Economic Advisor - CEA) ของอดีตประธานาธิบดีลินดอน บี. จอห์นสัน และก่อนหน้านีเ้ คยทํางานให้ CEA ในช่วงการดํารงตําแหน่งของอดีตประธานาธิบดี จอห์น เอฟ. เคนเนดี 10

ปราณี ทินกร


168

อย่างไร และหากเรายึดแนวทางในการลดความทุกข์ให้แก่ประชาชนแล้ว นโยบายเศรษฐกิจมหภาคควรมีทิศทางอย่างไร 4.1 แนวโน้มความยากจนของประเทศไทย ความยากจนนั้นมีหลายมิติ11 ทุกมิติล้วนแต่ก่อให้เกิดความทุกข์ ทัง้ นัน้ แต่หากเรามองจากมุมของความทุกข์ทางกาย เราก็ควรจะพิจารณา จากจุดที่ว่า บุคคลผู้นั้นขาดสิ่งจําเป็นพื้นฐานสําหรับการดํารงชีวิตหรือไม่ ซึง่ จะวัดจากทางด้านรายได้ (income) ว่ามีรายได้พอเพียงทีจ่ ะหาซือ้ ปัจจัย พืน้ ฐานหรือไม่ หรือจะวัดจากทางด้านรายจ่ายหรือการบริโภค (consumption) ว่ามีการบริโภคในระดับที่มีปัจจัยพื้นฐานพอเพียงหรือไม่ก็ได้ การ วัดสัดส่วนและจํานวนคนจนจากด้านรายจ่ายและด้านรายได้จะมีความ แตกต่างกันเล็กน้อย แต่ก็มีแนวโน้มคล้ายกัน ในประเทศไทย หน่วยงานทีท่ าํ หน้าทีต่ ดิ ตามสถานการณ์เกีย่ วกับ ความยากจนคือสํานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคม แห่งชาติ (สศช.) โดยใช้ขอ้ มูลจากการสํารวจภาวะเศรษฐกิจและสังคมของ ครัวเรือนที่จัดทําโดยสํานักงานสถิติแห่งชาติทุก 2 ปี ข้อมูลในตารางที่ 1 แสดงให้เห็นถึงแนวโน้มของจํานวนคนจนด้านการบริโภคในประเทศไทย ระหว่างปี พ.ศ. 2531 ถึง พ.ศ. 2549 จากข้อมูลล่าสุดของปี พ.ศ. 2549 เส้นความยากจนหรือระดับค่าใช้จ่ายขั้นตํ่าของปัจเจกบุคคลในการได้มา ซึง่ อาหารและสินค้าบริการจําเป็นพืน้ ฐานในการดํารงชีวติ อยูท่ ี่ 1,386 บาท ต่อคนต่อเดือน หรือประมาณ 46 บาทต่อวันเท่านั้น12 หากดู แ นวโน้ ม ระยะยาวแล้ ว เราจะเห็ น ว่ า สั ด ส่ ว นคนจนใน ประเทศไทยลดลงจากร้อยละ 42.2 ของประชากรทั่วประเทศในปี พ.ศ. 2531 เหลือร้อยละ 9.55 ในปี พ.ศ. 2549 ซึ่งมีผลทําให้จํานวนคนจน ดู ปราณี ทินกร (2550) และ World Bank (2000) ระดับค่าใช้จา่ ยนีเ้ ป็นระดับเฉลีย่ สําหรับทัง้ ประเทศ ซึง่ มาจากการคํานวณอย่างละเอียดของ ทุกจังหวัดและตามเขตที่อยู่อาศัย (เมือง/ชนบท) 11 12

เศรษฐธรรม :: รวมบทปาฐกถากีรตยาจารย์แห่งเศรษฐศาสตร์ธรรมศาสตร์


169

ลดลงจากประมาณ 22.1 ล้านคน เหลือเพียง 6.1 ล้านคน อย่างไรก็ตาม จะสังเกตเห็นได้ว่า ในระหว่างปี พ.ศ. 2539 ถึง พ.ศ. 2543 ทั้งสัดส่วนและจํานวนคนจนเพิ่มขึ้น เนื่องจากในช่วงดังกล่าว ประเทศไทยประสบปัญหาวิกฤตเศรษฐกิจที่เริ่มต้นจากวิกฤตการณ์ค่า เงิน (currency crisis) และลุกลามมาสู่วิกฤตการณ์เศรษฐกิจ (economic crisis) ความตกตํา่ ทางเศรษฐกิจทําให้จาํ นวนคนจนเพิม่ ขึน้ จาก 8.5 ล้านคน ในปี พ.ศ. 2539 เป็น 10.2 ล้านคนในปี พ.ศ. 2541 และ 12.6 ล้านคนในปี พ.ศ. 2543 หลังจากนัน้ เมือ่ เศรษฐกิจเริม่ ฟืน้ ตัว จํานวนคนยากจนจึงค่อยๆ ลดลงมาเหลือประมาณ 6.1 ล้านคนในปี พ.ศ. 2549 (รูปที่ 1 แสดงให้เห็น แนวโน้มของสัดส่วนคนจนและการเติบโตทางเศรษฐกิจ)

ปราณี ทินกร


หมายเหตุ: เส้นความยากจน (Poverty Line) เป็นเครื่องมือสําหรับใช้วัดภาวะความยากจน โดยคํานวณจากต้นทุนหรือค่าใช้จ่ายของปัจเจกบุคคลในการได้มาซึ่ง อาหารและสินค้าจําเป็นพื้นฐานในการดํารงชีวิต สัดส่วนคนจน คํานวณจากจํานวนประชากรที่มีรายจ่ายเพื่อการบริโภคตํ่ากว่าเส้นความยากจน หารด้วยจํานวนประชากรทั้งหมด คูณด้วย 100 จํานวนคนจน หมายถึง จํานวนประชากรที่มีรายจ่ายเพื่อการบริโภคตํ่ากว่าเส้นความยากจน

ที่มา: ข้อมูลจากการสํารวจภาวะเศรษฐกิจและสังคมของครัวเรือน สํานักงานสถิติแห่งชาติ ประมวลผลโดย สํานักพัฒนาเศรษฐกิจชุมชนและการกระจายรายได้ สศช. ดูเว็บไซต์ www.nesdb.go.th

ตารางที่ 1 เส้นความยากจน สัดส่วนคนจน และจํานวนคนจน พ.ศ. 2531-2549


รูปที่ 1 แนวโน้มของสัดส่วนคนจน ผลิตภัณฑ์รวมต่อหัว และอัตราการเติบโตของเศรษฐกิจไทย พ.ศ. 2531-2549

ที่มา: จากข้อมูลของสํานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ


172

ตารางที่ 2 แสดงค่าใช้จ่ายเฉลี่ยต่อเดือนของครัวเรือนยากจน ซึ่งเราจะเห็นได้ว่า รายการอาหารและเครื่องดื่มไม่มีแอลกอฮอล์มีสัดส่วน ประมาณครึ่ ง หนึ่ ง ของค่ า ใช้ จ่ า ยทั้ ง หมด โดยในเขตเมื อ งจะมี สั ด ส่ ว น ดังกล่าวตํ่ากว่าเล็กน้อย ซึ่งคงเป็นเพราะค่าครองชีพด้านอื่นจะสูงกว่า ในเขตชนบท และเนือ่ งจากอาหารและนํา้ เป็นสิง่ จําเป็นพืน้ ฐานทีส่ าํ คัญทีส่ ดุ ในบรรดาความจําเป็นพื้นฐานของการดํารงชีวิต ดังนั้นเมื่อเราพิจารณา ความยากจนเฉพาะที่เกิดจากการขาดปัจจัยด้านอาหารและนํ้าเท่านั้น จะพบว่าสัดส่วนและจํานวนคนยากจนลดลงมาเกือบสิบเท่า โดยจะเห็น ได้จากข้อมูลในตารางที่ 3 ว่าสัดส่วนคนจนด้านอาหารในปี พ.ศ. 2549 มีอยู่ร้อยละ 0.9 ของประชากรทั้งประเทศ หรือคิดเป็นจํานวนประมาณ 583,600 คน และในจํานวนนีก้ ว่าร้อยละ 50 อยูใ่ นภาคตะวันออกเฉียงเหนือ (ประมาณ 297,500 คน) และร้อยละ 35.2 อยู่ในภาคเหนือ ข้อมูลในตารางที่ 4 แสดงเส้นความยากจน สัดส่วนคนจน และ จํานวนคนจน ในปี พ.ศ. 2549 โดยแยกตามจังหวัด ถ้าดูจากสัดส่วนคนจน เราจะเห็นว่าจังหวัดแม่ฮ่องสอนมีสัดส่วนคนจนสูงที่สุด คือร้อยละ 52.5 ของประชากรในจั ง หวั ด แต่ เ นื่ อ งจากแม่ ฮ่ อ งสอนมี ป ระชากรไม่ ม าก สัดส่วนดังกล่าวจึงเทียบเป็นจํานวนคนจนประมาณ 161,700 คน ในขณะ ที่จังหวัดที่มีจํานวนคนยากจนมากที่สุดคือจังหวัดบุรีรัมย์ ซึ่งมีจํานวน คนยากจนประมาณ 483,800 คน และคิดเป็นร้อยละ 30.7 ของประชากร ในจังหวัด

เศรษฐธรรม :: รวมบทปาฐกถากีรตยาจารย์แห่งเศรษฐศาสตร์ธรรมศาสตร์


173

ตารางที่ 2 ค่าใช้จ่ายเฉลี่ยของครัวเรือนต่อเดือน เฉพาะครัวเรือนยากจนด้านรายจ่าย

ที่มา: ข้อมูลจากการสํารวจภาวะเศรษฐกิจและสังคมของครัวเรือน สํานักงานสถิติแห่งชาติ ประมวลผลโดย สํานักพัฒนาเศรษฐกิจชุมชนและการกระจายรายได้ สศช. ครัวเรือนยากจนคือครัวเรือนที่มีรายจ่ายเพื่อการบริโภคเฉลี่ยต่อคนของครัวเรือนตํ่ากว่า เส้นความยากจน

ปราณี ทินกร


174

ตารางที่ 3 (ก) สัดส่วนประชากรที่มีรายจ่ายเพื่อบริโภคเฉลี่ย ตํ่ากว่าเส้นความยากจนด้านอาหาร พ.ศ. 2531-2549

ตารางที่ 3 (ข) จํานวนประชากรที่มีรายจ่ายเพื่อบริโภคเฉลี่ย ตํ่ากว่าเส้นความยากจนด้านอาหาร พ.ศ. 2531-2549

ที่มา: ข้อมูลจากการสํารวจภาวะเศรษฐกิจและสังคมของครัวเรือน สํานักงานสถิติแห่งชาติ ประมวลผลโดย สํานักพัฒนาเศรษฐกิจชุมชนและการกระจายรายได้ สศช.

เศรษฐธรรม :: รวมบทปาฐกถากีรตยาจารย์แห่งเศรษฐศาสตร์ธรรมศาสตร์


175

ตารางที่ 4 เส้นความยากจน สัดส่วนคนจน จํานวนคนจน จําแนกตามจังหวัด พ.ศ. 2549

ปราณี ทินกร


176

เศรษฐธรรม :: รวมบทปาฐกถากีรตยาจารย์แห่งเศรษฐศาสตร์ธรรมศาสตร์


177

ที่มา: ข้อมูลจากการสํารวจภาวะเศรษฐกิจและสังคมของครัวเรือน สํานักงานสถิติแห่งชาติ ประมวลผลโดย สํานักพัฒนาเศรษฐกิจชุมชนและการกระจายรายได้ สศช. หมายเหตุ: สัดส่วนคนจน คํานวณจากจํานวนประชากรที่มีรายจ่ายเพื่อการบริโภคตํ่ากว่าเส้น ความยากจน หารด้วยจํานวนประชากรทั้งหมด คูณด้วย 100 จํานวนคนจน หมายถึง จํานวนประชากรทีม่ รี ายจ่ายเพือ่ การบริโภคตํา่ กว่าเส้นความ ยากจน

ปราณี ทินกร


178

ตารางที่ 5 แสดงสั ด ส่ ว นคนจนจํ า แนกตามอายุ ข องหั ว หน้ า ครัวเรือนและพื้นที่ระหว่างปี พ.ศ. 2545-2549 เราจะเห็นได้ว่า ครัวเรือน ที่หัวหน้ามีอายุ 60 ปีขึ้นไป จะมีสัดส่วนคนจนสูงกว่าครัวเรือนที่หัวหน้า อายุยังไม่ถึง 60 ปี นอกจากนี้ ผู้เขียนมีข้อสังเกตว่า ในอดีตเรามักพบ ว่าหัวหน้าครัวเรือนที่มีอายุน้อย (ไม่เกิน 19 ปี) มีสัดส่วนของคนจน ใกล้เคียงกับกลุ่มที่มีอายุมาก (เกิน 60 ปี) แต่ข้อมูลล่าสุดของระหว่างปี พ.ศ. 2545-2549 แสดงให้เห็นว่า ในกลุ่มครัวเรือนที่หัวหน้ามีอายุมาก จะ มีสัดส่วนคนจนมากกว่า นอกจากความแก่จะเป็นความทุกข์โดยตัวของมันเองแล้ว ยังก่อ ให้เกิดความทุกข์แก่คนในครัวเรือนอีกด้วย เนื่องจากหัวหน้าครัวเรือนที่ อายุมาก ย่อมมีความสามารถในการหารายได้มาเลี้ยงครอบครัวน้อยกว่า ช่วงอายุทยี่ งั หนุม่ สาว ซึง่ เป็นไปตามวัฏจักรของชีวติ (life cycle) ถึงแม้วา่ ความแก่จะเป็นภาวะที่ทุกคนต้องประสบอย่างหลีกหนีไม่พ้น แต่สังคม สามารถช่วยเหลือเกื้อกูลไม่ให้คนแก่ต้องมีทุกข์เพิ่มขึ้นจากสาเหตุของ ความยากจนหรือการไม่มีอาหารเพียงพอต่อการประทังชีวิต ปราณี ทินกร (2550) ได้เคยเสนอมาตรการการคลังเพื่อช่วยคน ยากจน ซึง่ ได้แก่ มาตรการลดช่องว่างรายได้ การจัดให้มหี ลักประกันสังคม และการสร้างโอกาสให้คนจนสามารถพัฒนาและพึ่งตนเองได้ แต่ถ้าเรา พิจารณาจากมุมของความทุกข์มาประกอบกัน เราจะเห็นว่าวิธที จี่ ะช่วยลด ความทุกข์ของคนจนได้ทนั ทีกค็ อื การจัดให้มสี งิ่ จําเป็นพืน้ ฐานต่อการดํารง ชีวิต และกลุ่มคนยากจนที่มีความทุกข์ทางกายมากกว่าคนอื่น คือคนแก่ และคนพิการที่ยากจน ก็น่าจะได้รับความสําคัญในลําดับต้นๆ ก่อนคน ยากจนกลุ่มอื่น นักวิชาการเศรษฐศาสตร์ในประเทศไทยได้ศึกษาวิเคราะห์วิจัย เกีย่ วกับปัญหาความยากจนจำ�นวนมาก13 งานแทบทุกชิน้ ทีศ่ กึ ษาลักษณะ ครัวเรือนยากจนพบข้อมูลที่คล้ายกัน นั่นคือ ครัวเรือนที่ยากจนมีหัวหน้า ครัวเรือนที่มีการศึกษาตํ่า มีขนาดของครัวเรือนค่อนข้างใหญ่ ส่วนใหญ่ ประกอบอาชีพในภาคการเกษตร และอาศัยอยู่ในเขตชนบท เศรษฐธรรม :: รวมบทปาฐกถากีรตยาจารย์แห่งเศรษฐศาสตร์ธรรมศาสตร์


179

ปัจจุบัน นักการเมืองได้หันมาสนใจและนําเสนอนโยบายที่จะได้ คะแนนเสียงจากคนจน ที่เรียกขานกันว่า นโยบายประชานิยม ซึ่งแม้จะ มิได้ชว่ ยคนจนทัง้ หมด แต่กท็ าํ ให้สงั คมตระหนักถึงความสําคัญของคนจน มากขึ้น โดยเฉพาะอย่างยิ่งในฐานะที่เป็นคะแนนเสียงส่วนใหญ่ของการ เลือกตั้ง ซึ่งทําให้สามารถจัดตั้งรัฐบาลได้

ผู้เขียนเองก็ได้มีส่วนเขียนงานวิชาการเกี่ยวกับความยากจนและการกระจายได้หลายชิ้น เช่น เมธีและปราณี (2528) ปราณี (2536) ปราณี (2545) ปราณี (2550) Sabater, Krongkaew and Tinakorn (1985) Sussangkarn, Tinakorn and Chongpeerapien (1988) Krongkaew, Tinakorn and Supachalasai (1992) Tinakorn (1995) นอกจากนี้ยังมีงานของนักวิชาการ ท่านอื่นๆ อีกเป็นจํานวนมาก ดูตัวอย่างการปริทัศน์ (review) งานวิชาการเรื่องนี้ใน ปราณี ทินกร (2545) 13

ปราณี ทินกร


180

ตารางที่ 5 สัดส่วนคนจน จําแนกตามอายุหัวหน้าครัวเรือน และเขตพื้นที่ พ.ศ. 2545, 2547 และ 2549

ที่มา: ข้อมูลจากการสํารวจภาวะเศรษฐกิจและสังคมของครัวเรือน สํานักงานสถิติแห่งชาติ ประมวลผลโดย สํานักพัฒนาเศรษฐกิจชุมชนและการกระจายรายได้ สศช. สัดส่วนคนจน คํานวณจากจํานวนประชากรที่มีรายจ่ายเพื่อการบริโภคตํ่ากว่าเส้นความยากจน หารด้วยจํานวนประชากรทั้งหมด คูณด้วย 100

เศรษฐธรรม :: รวมบทปาฐกถากีรตยาจารย์แห่งเศรษฐศาสตร์ธรรมศาสตร์


181

4.2 ดัชนีความทุกข์ของเศรษฐกิจไทย นับตั้งแต่ อาร์เทอร์ โอคุน14 ได้บัญญัติศัพท์ “Misery Index” หรือ “ดัชนีความทุกข์” ดัชนีดังกล่าวก็มักจะถูกใช้ในการหาเสียงเพื่อชิง ตําแหน่งประธานาธิบดีของสหรัฐอเมริกา โดยเฉพาะใช้เพื่อโจมตีผู้อยู่ใน ตําแหน่งว่าไม่สามารถแก้ไขปัญหาการว่างงานและปัญหาเงินเฟ้อได้ 15 และแม้แต่นักเศรษฐศาสตร์ที่มีชื่อเสียง เช่น Robert Barro (1999) ก็ใช้ ดัชนีนเี้ พือ่ จัดอันดับความสามารถในการบริหารจัดการนโยบายเศรษฐกิจ ของประธานาธิบดีสหรัฐอเมริกา16 แต่สําหรับประเทศไทย ดูเหมือนนัก การเมืองไม่เคยหยิบยกดัชนีความทุกข์ขึ้นมาเป็นประเด็นในการหาเสียง และในวงวิชาการเศรษฐศาสตร์ไทยก็ไม่ค่อยมีผู้ใดสนใจเรื่องนี้นัก17 ดัชนีความทุกข์แบบโอคุน คํานวณจากการเอาอัตราการว่างงาน และอัตราเงินเฟ้อมารวมกันเท่านัน้ การนํามารวมกันโดยให้นาํ้ หนักเท่ากัน มีนัยยะว่า อัตราการว่างงานที่เพิ่มขึ้น 1 เปอร์เซ็นต์ ส่งผลต่อความทุกข์ ของประชาชนเท่ากับอัตราเงินเฟ้อที่เพิ่มขึ้น 1 เปอร์เซ็นต์ ซึ่งนักวิชาการ บางคนเห็ น ว่ า ไม่ ส ะท้ อ นความรู้ สึ ก หรื อ ความทุ ก ข์ ที่ เ กิ ด ขึ้ น จริ ง จาก เหตุการณ์สองอย่างนี้ งานของ Clark and Oswald (1994) พบว่า คนว่างงานในประเทศ อังกฤษในปี ค.ศ. 1991 มีระดับของความเป็นสุขทางใจ (mental wellbeing) ตํ่ากว่าคนที่มีงานทํา และการไม่มีงานทําหรือการตกงานมีผล อันที่จริง อาร์ เ ทอร์ โอคุ น เป็ น ที่ รู้ จั ก ในหมู่ นั ก เศรษฐศาสตร์ ใ นเรื่ อ ง Okun’s Law ซึ่งอธิบายความสัมพันธ์ระหว่างเปอร์เซ็นต์การเปลี่ยนแปลงของการว่างงานและเปอร์เซ็นต์ การเปลี่ยนแปลงของ GNP 15 ตัวอย่างเช่น ในการหาเสียงของ จิมมี คาร์เตอร์ (Jimmy Carter) ในปี ค.ศ. 1976 และ ในการหาเสียงของ จอห์น เคอร์รี (John Kerry) ในปี ค.ศ. 2004 16 Barro ได้เพิ่มอัตราดอกเบี้ยและ GDP Shortfall และเรียกว่าเป็น Barro Misery Index ดู Barro (1999) “Reagan VS. Clinton: Who’s the Economic Champ?” Economic Viewpoint, February 22. 17 ผูเ้ ขียนเคยอภิปรายเรือ่ งดัชนีความทุกข์ในงานสัมมนาวิชาการของธนาคารแห่งประเทศไทย ประจําปี พ.ศ. 2547 14

ปราณี ทินกร


182

ทํ า ให้ ค วามสุ ข หายไปมากกว่ า การหย่ า ร้ า งหรื อ แยกกั น อยู่ กั บ คู่ ค รอง เสียอีก งานของ Frey and Stutzer (2000) ก็พบว่า การว่างงานมีผลกระทบ ให้เกิดความหดหู่ซึมเศร้าอย่างรุนแรง นอกจากนี้ ในการศึกษาเรื่อง “Preferences over Inflation and Unemployment: Evidence from Survey of Happiness” ของ Di Tella, MacCulloch and Oswald (2001) ซึ่งตีพิมพ์ในวารสาร The American Economic Review ก็ได้ขอ้ สรุปว่า การว่างงานทําให้เกิดความทุกข์มากกว่า อัตราเงินเฟ้อ และได้ประมาณการว่า คนเราจะยอมแลก (trade-off) ให้มี อัตราเงินเฟ้อเพิม่ ขึน้ ร้อยละ 1.7 ถ้าหากว่าอัตราการว่างงานจะลดลงร้อยละ 1 ในขณะที่งานของ Nordhaus (1989) ได้สรุปว่า การเพิ่มขึ้นของอัตรา การว่างงานร้อยละ 1 น่าจะทําให้เกิดความทุกข์มากกว่าการเพิ่มขึ้นของ ราคาสินค้าในอัตราเดียวกันถึง 4 เท่า ภาวะเงินเฟ้อคือภาวะที่ราคาสินค้าแพงขึ้นเรื่อยๆ และถ้ารายได้ ของเรามิได้เพิ่มขึ้นเท่ากับอัตราการเพิ่มของราคา ภาวะเงินเฟ้อก็จะมีผล ทําให้รายได้ที่แท้จริงหรืออํานาจซื้อของเราลดน้อยลง จึงทําให้คนเรามี ความทุกข์เพิม่ ขึน้ แต่อย่างน้อยเราก็ยงั มีรายได้อยูบ่ า้ ง ในขณะทีผ่ ลกระทบ ของการว่างงานก็ชดั เจนอยูแ่ ล้วว่าทําให้คนว่างงานไม่มรี ายได้ทจี่ ะมาเลีย้ ง ดูตนเองและครอบครัว ดังนั้นในประเทศไทยที่เพิ่งเริ่มมีระบบสวัสดิการ บางเรื่อง และหลักประกันทางสังคมของเรายังไม่ดีพอเท่ากับประเทศที่ พัฒนาแล้ว18 ความทุกข์จากการว่างงานจึงน่าจะมีมากกว่าความทุกข์ที่ เกิดจากภาวะเงินเฟ้อด้วยเช่นกัน และการยอมแลกระหว่างอัตราเงินเฟ้อ และอัตราการว่างงานอาจจะอยู่ใกล้เคียงกับข้อสรุปของ Nordhaus หรือ มากกว่าด้วยซํ้าไป ตารางที่ 6 แสดงข้อมูลอัตราเงินเฟ้อและอัตราการว่างงานในระบบ เศรษฐกิจไทย ระหว่างปี พ.ศ. 2526-2549 ซึ่งเมื่อนํามารวมกันโดยให้ ประเทศไทยเพิ่งเริ่มมีระบบประกันการว่างงานตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2547 โดย เป็นการขยายความคุ้มครองเพิ่มจากการประกันสังคม ดู พระราชกฤษฎีกากําหนดระยะ เวลาเริม่ ดําเนินการจัดเก็บเงินสมทบเพือ่ การให้ประโยชน์ทดแทนในกรณีวา่ งงาน พ.ศ. 2546 18

เศรษฐธรรม :: รวมบทปาฐกถากีรตยาจารย์แห่งเศรษฐศาสตร์ธรรมศาสตร์


183

นํ้าหนักเท่ากัน จะเป็นดัชนีความทุกข์ (1) และถ้าเพิ่มนํ้าหนักให้อัตรา การว่างงานเป็น 4 เท่าตามที่ระบุในงานของ Nordhaus (1989) ก็จะได้ ดัชนีความทุกข์ (2) ซึง่ แสดงถึงความทุกข์จากการว่างงานทีม่ มี ากกว่าโดย เปรียบเทียบ รูปที่ 2 แสดงการขึ้นลงของดัชนีความทุกข์ในประเทศไทย ระหว่างปี พ.ศ. 2526-2549 เราจะเห็นได้ว่า ดัชนีความทุกข์ (1) ของไทย ในช่วงเวลาดังกล่าวอยู่ที่จุดตํ่าสุด 2.37 ในปี พ.ศ. 2545 และจุดสูงสุด 11.51 ในปี พ.ศ. 2541 เมื่อนําดัชนีนี้ไปเปรียบเทียบกับระยะเวลาการดํารงตําแหน่งของ รัฐบาลในชุดต่างๆ ตามที่ปรากฏอยู่ในตารางที่ 7 เราจะพบว่าดัชนีนี้อยู่ ในระดับสูงในช่วงของรัฐบาลนายชวน หลีกภัย เนื่องจากในปี พ.ศ. 2541 อัตราเงินเฟ้ออยูใ่ นระดับสูงมาก (8.11%) และอัตราการว่างงานก็เพิม่ ขึน้ สูง เช่นกัน (3.41%) ดัชนีความทุกข์ (1) จึงสูงถึง 11.51 อย่างไรก็ตาม ระดับ ความทุกข์ที่ขึ้นสูงในปี พ.ศ. 2541 จะถือเป็นผลการดําเนินงานของรัฐบาล นายชวน หลีกภัย ก็คงจะไม่เป็นธรรมนัก เนื่องจากปัญหาวิกฤตเศรษฐกิจ ที่เกิดขึ้นในสมัยรัฐบาลพลเอกชวลิต ยงใจยุทธ ยังคงลากยาวมาถึงสมัย รัฐบาลนายชวน หลีกภัย ซึ่งเราจะเห็นได้ว่าในปี พ.ศ. 2542 เมื่อราคาได้มี การปรับตัวตามการปรับตัวของอัตราแลกเปลีย่ นแล้ว อัตราเงินเฟ้อก็มไิ ด้ พุง่ ขึน้ สูงอีก และในระหว่างปี พ.ศ. 2542-2544 ดัชนีความทุกข์ได้ลดระดับ ลงมาค่อนข้างมาก เพราะทัง้ อัตราเงินเฟ้อและอัตราการว่างงานอยูใ่ นระดับ ตํ่านั่นเอง19 19

ผูเ้ ขียนมีขอ้ สังเกตว่า อัตราการว่างงานของไทยอยูใ่ นระดับตํา่ มาก แม้ในช่วงวิกฤตเศรษฐกิจ อัตราการว่างงานเพิม่ ขึน้ จากประมาณร้อยละ 1 ในช่วงก่อนหน้า มาเป็นร้อยละ 3.4 ในปี พ.ศ. 2541 ทั้งๆ ที่อัตราการเติบโตทางเศรษฐกิจของไทยลดลงถึงร้อยละ 10.5 ในปีนั้น อัตราการ ว่างงานที่ระดับ 3.4 จะไม่ถือว่าอยู่ในภาวะวิกฤตในประเทศที่พัฒนาแล้ว เช่น ในประเทศ สหรัฐอเมริกาในช่วงสมัยที่ 2 ของอดีตประธานาธิบดีบิล คลินตัน ซึ่งเป็นช่วงที่เศรษฐกิจ ของสหรัฐอเมริกาขยายตัวในเกณฑ์ที่น่าพอใจ อัตราการว่างงานเฉลี่ยในช่วงดังกล่าวอยู่ที่ ร้อยละ 4.4 และในช่วง 7 ปีของการดํารงตําแหน่งของอดีตประธานาธิบดีจอร์จ ดับเบิลยู. บุช ระหว่างปี ค.ศ. 2001-2007 อัตราการว่างงานเฉลี่ยอยู่ที่ร้อยละ 5.2 (ข้อมูลจากเว็บไซต์ www.miseryindex.us) นอกจากนี้ ในช่วงที่เกิดภาวะเศรษฐกิจตกตํ่าทั่วโลก (The Great Depression) อัตราการว่างงานเฉลี่ยระหว่างปี ค.ศ. 1930-1938 ของสหรัฐอเมริกาสูงถึง ร้อยละ 26.1 ดู Temin (1989) ปราณี ทินกร


184

ตารางที่ 6 อัตราเงินเฟ้อ อัตราการว่างงาน และดัชนีความทุกข์ พ.ศ. 2526-2550

ที่มา: ดัชนีราคาผู้บริโภค จากสํานักงานดัชนีเศรษฐกิจการค้า กระทรวงพาณิชย์ อัตราการว่างงาน จากสํานักงานสถิติแห่งชาติ

เศรษฐธรรม :: รวมบทปาฐกถากีรตยาจารย์แห่งเศรษฐศาสตร์ธรรมศาสตร์


185

ตารางที่ 7 ลําดับเวลาการดํารงตําแหน่งนายกรัฐมนตรี และดัชนีความทุกข์ในระหว่างปี พ.ศ. 2526-2550

หมายเหตุ: รายชื่อนายกรัฐมนตรีและระยะเวลาดํารงตําแหน่ง จากเว็บไซต์ของสํานักงานเลขาธิการ นายกรัฐมนตรี (www.cabinet.thaigov.go.th)

ปราณี ทินกร


186

ในกรณีของดัชนีความทุกข์ (2) ซึง่ ให้นาํ้ หนักกับอัตราการว่างงาน มากกว่า เราจะเห็นได้ว่า จุดตํ่าสุดยังคงอยู่ที่ปี พ.ศ. 2545 โดยดัชนีความ ทุกข์ (2) อยู่ที่ระดับ 7.74 แต่จุดสูงสุดได้เปลี่ยนมาเป็นปี พ.ศ. 2530 โดย อยู่ที่ระดับ 25.50 ทั้งนี้เนื่องจากในปี พ.ศ. 2530 อัตราการว่างงานอยู่ที่ ร้อยละ 5.78 ในขณะที่ในปี พ.ศ. 2541 ซึ่งเกิดวิกฤตเศรษฐกิจ อัตรา การว่างงานอยู่ที่ร้อยละ 3.41 (ปี พ.ศ. 2530 เป็นปีที่อยู่ในช่วงการดํารง ตําแหน่งนายกรัฐมนตรีของพลเอกเปรม ติณสูลานนท์) รูปที่ 3 แสดงให้เห็นการเคลื่อนไหวขึ้นลงของอัตราเงินเฟ้อและ อัตราการว่างงานในช่วง 25 ปีที่ผ่านมา (พ.ศ. 2526-2550) เราจะสังเกต เห็นได้ว่า โดยเฉลี่ยแล้ว เมื่ออัตราเงินเฟ้อสูง อัตราการว่างงานมักจะตํ่า และเมื่ออัตราเงินเฟ้อตํ่า อัตราการว่างงานก็มักจะสูง ทั้งนี้โดยมีข้อยกเว้น สําหรับช่วงปี พ.ศ. 2540-2541 ซึ่งเกิดวิกฤตการณ์เศรษฐกิจอย่างรุนแรง นอกเหนือจากอัตราเงินเฟ้อและอัตราการว่างงานแล้ว เราอาจ สร้างดัชนีความทุกข์จากตัวแปรเศรษฐกิจอื่นก็ได้ เช่น Asher, Defina and Thanawala (1993) เสนอว่า ดัชนีความทุกข์ที่พิจารณาเฉพาะอัตรา เงินเฟ้อและอัตราการว่างงานนั้นยังขาดมิติเรื่องความเป็นธรรม และเรา ควรพิจารณาดัชนีที่สร้างจากสัดส่วนคนยากจน (poverty) และความ ไม่เท่าเทียมกันของการกระจายรายได้ (inequality) ด้วย ความเหลื่อมลํ้า ของการกระจายรายได้ทมี่ มี ากเกินไปน่าจะสร้างความทุกข์ให้สงั คม เพราะ คนเรามักจะเปรียบเทียบฐานะของตนกับคนอืน่ ๆ ในสังคม ถึงแม้วา่ รายได้ และรายจ่ายจะอยู่เหนือเส้นความยากจน แต่ถ้าเราอยู่ในกลุ่มที่มีรายได้ตํ่า สุด และมีช่องว่างของรายได้ห่างจากกลุ่มอื่นๆ มาก เราก็จะมีความทุกข์ เช่นกัน ตารางที่ 8 แสดงข้อมูลสัดส่วนรายได้ของประชากรจําแนกตาม กลุ่มรายได้ จากกลุ่มจนที่สุดไปกลุ่มรวยที่สุด 5 กลุ่ม (Quintile) และค่า สัมประสิทธิ์จีนี (Gini coefficient) ที่วัดความไม่เสมอภาคของการกระจาย รายได้ ซึ่งมีค่าจาก 0 ถึง 1 ค่าสัมประสิทธิ์จีนีที่สูงขึ้นจาก 0.487 ในปี พ.ศ. 2531 เป็น 0.515 ในปี พ.ศ. 2549 แสดงว่ามีความไม่เท่าเทียมกันมากขึ้น เศรษฐธรรม :: รวมบทปาฐกถากีรตยาจารย์แห่งเศรษฐศาสตร์ธรรมศาสตร์


187

นอกจากนี้ หากเราดูสัดส่วนรายได้ของกลุ่มที่รวยสุดว่าสูงเป็น กีเ่ ท่าของสัดส่วนรายได้ของกลุม่ ทีจ่ นสุด เราก็จะเห็นว่าช่องว่างรายได้ของ คนไทยถ่างจากกันมากขึ้น โดยสัดส่วนนี้อยู่ที่ 11.88 เท่าในปี พ.ศ. 2531 และเพิม่ ขึน้ มาเป็น 14.66 เท่าในปี พ.ศ. 2549 ข้อมูลในปี พ.ศ. 2549 แสดง ให้เห็นว่า ประชากร 1 ใน 5 ของประเทศที่จนสุด มีสัดส่วนรายได้เพียง ร้อยละ 3.84 ในขณะที่ประชากร 1 ใน 5 ที่รวยสุด มีสัดส่วนรายได้สูงถึง 56.29 ดังนั้นถึงแม้ว่าในช่วง 25 ปีที่ผ่านมา สัดส่วนคนจนของประเทศ ที่มีรายได้ตํ่ากว่าเส้นความยากจน หรือที่เรียกว่า ความยากจนสัมบูรณ์ (Absolute Poverty) จะมีแนวโน้มลดลง แต่ในขณะเดียวกัน ความ เหลือ่ มลํา้ ของการกระจายรายได้ทเี่ พิม่ มากขึน้ ก็ทาํ ให้ความยากจนสัมพัทธ์ หรือความยากจนโดยเปรียบเทียบ (Relative Poverty) เพิ่มมากขึ้น

ปราณี ทินกร


รูปที่ 2 ดัชนีความทุกข์ พ.ศ. 2526-2550

รูปที่ 3 อัตราการว่างงานและอัตราเงินเฟ้อ พ.ศ. 2526-2550


ที่มา: ข้อมูลจากการสํารวจภาวะเศรษฐกิจและสังคมของครัวเรือน สํานักงานสถิติแห่งชาติ ประมวลผลโดย สํานักพัฒนาเศรษฐกิจชุมชนและการกระจายรายได้ สศช.

ตารางที่ 8 สัดส่วนรายได้ของประชากร จําแนกตามกลุ่มประชากรตามระดับรายได้ และค่าสัมประสิทธิ์จีนี พ.ศ. 2531-2549


190

5. เป้าหมายเศรษฐกิจมหภาคกับความทุกข์

รัฐบาลในแทบทุกประเทศบริหารจัดการเศรษฐกิจมหภาคผ่านนโยบาย การคลัง (fiscal policy) และนโยบายการเงิน (monetary policy) โดยมี เป้าหมายหลักเพื่อให้ระบบเศรษฐกิจมีการจ้างงานเต็มที่ (full employment) มีการเติบโต (growth) มีเสถียรภาพ (stability) และมีความสมดุล ในกิจกรรมระหว่างประเทศ (external balance) เป้าหมายเหล่านี้มีระบุ อยู่ในตําราเศรษฐศาสตร์มหภาคแทบทุกเล่ม ในบทความนี้ ผู้เขียนจะนํา เฉพาะสามเป้าหมายแรกมาพิจารณาถึงความเกี่ยวโยงกับความทุกข์ ถึงแม้ว่าความสมดุลภายนอก หรือ external balance จะส่งผลกระทบต่อ ความเป็นอยู่และความทุกข์สุขของประชาชนในประเทศเช่นเดียวกัน แต่ ผู้ เ ขี ย นเห็ น ว่ า ความสมดุลภายนอกเป็นเรื่องที่มีความซับซ้อน และมี ประเด็นต้องพิจารณามากมายเกินกว่าทีจ่ ะนํามาเขียนได้หมดในบทความนี้

เศรษฐธรรม :: รวมบทปาฐกถากีรตยาจารย์แห่งเศรษฐศาสตร์ธรรมศาสตร์


191

5.1 การจ้างงานเต็มที่และการเติบโต เป้าหมายการจ้างงานเต็มทีแ่ ละเป้าหมายการเติบโตทางเศรษฐกิจ เป็นเป้าหมายที่ไม่มีความขัดแย้งกัน เพราะการขยายตัวทางเศรษฐกิจ มักจะทําให้เกิดการจ้างงานเพิม่ ขึน้ นอกจากเป้าหมายทัง้ สองจะไม่มคี วาม ขัดแย้งกันแล้ว ยังร่วมกันทําให้มีการว่างงานน้อยลง จึงทําให้ประชาชน มีความทุกข์น้อยลง ในกรณีของประเทศไทย เมื่อเราสังเกตดูแนวโน้มของการเติบโต ทางเศรษฐกิจ รายได้ต่อหัว และสัดส่วนคนจนตามที่แสดงในรูปที่ 1 เรา จะได้ภาพที่แม้จะไม่ชัด แต่ก็พอมองออกว่า การเติบโตทางเศรษฐกิจ ที่ทําให้รายได้ต่อหัวเพิ่มขึ้น20 น่าจะมีส่วนทําให้สัดส่วนคนจนลดลง งาน วิจยั หลายชิน้ ก็มกั พบภาพดังกล่าวในประเทศกําลังพัฒนาอืน่ ๆ เพราะการ เติบโตทางเศรษฐกิจทําให้ประเทศมีการจ้างงานเพิ่มขึ้นและมีทรัพยากร เพิ่ ม ขึ้ น ซึ่ ง เป็ น เงื่ อ นไขจํ า เป็ น เพื่ อ จะได้ มี ท รั พ ยากรไปแก้ ไ ขปั ญ หา เศรษฐกิจ แต่การเติบโตเพียงอย่างเดียว โดยมิได้มีนโยบายที่มุ่งแก้ปัญหา ความยากจนควบคูไ่ ปด้วย ก็คงไม่สามารถทําให้ปญ ั หาความยากจนลดลง ได้มากนัก โดยเฉพาะถ้าเป็นการเติบโตที่ทําให้ทรัพยากรไปกระจุกอยู่กับ กลุม่ คนทีร่ วยอยูแ่ ล้ว ดังนัน้ เราจึงควรมีนโยบายการเติบโตทีเ่ อือ้ ประโยชน์ ต่อคนจน 5.2 เสถียรภาพทางเศรษฐกิจและการขัดกัน (trade-off) ระหว่าง เป้าหมาย นอกจากเราจะต้องการให้ระบบเศรษฐกิจมีการจ้างงานเต็มที่ และมีการเจริญเติบโตแล้ว เรายังต้องการให้การเติบโตนั้นมีเสถียรภาพ ด้วย เนื่องจากระดับราคาและการเปลี่ยนแปลงของราคาเป็นตัวแปรทาง โดยรายได้ตอ่ หัวเพิม่ ขึน้ จาก 28,712 บาทในปี พ.ศ. 2531 เป็น 120,036 บาทในปี พ.ศ. 2549 และหากคิดในราคาคงที่ รายได้ตอ่ หัวเพิม่ จาก 28,712 บาท เป็น 62,116 บาท ระหว่างปี พ.ศ. 2531-2549 หรือเพิ่มขึ้น 2.16 เท่า 20

ปราณี ทินกร


192

เศรษฐกิจที่มีผลต่อพฤติกรรมของสถาบันต่างๆ ในระบบเศรษฐกิจ และ พฤติกรรมเหล่านี้จะส่งผลต่อการเจริญเติบโตในที่สุด ดังนั้นเราจึงต้องการ ให้ระบบเศรษฐกิจมีเสถียรภาพด้านราคา (Price Stability) ในกรณีของประเทศเล็กทีม่ รี ะบบเศรษฐกิจแบบเปิด (small open economy) กิจกรรมระหว่างประเทศ ทั้งการส่งออกและการนําเข้าสินค้า และบริการ และการไหลของเงินทุน ย่อมส่งผลต่อระบบเศรษฐกิจภายใน ประเทศอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ ไม่ว่าจะเป็นเรื่องการจ้างงาน การเติบโต หรือเสถียรภาพของราคา การใช้นโยบายรักษาเสถียรภาพของเศรษฐกิจ ตามการวิเคราะห์แบบเคนเซียน (Keynesian Analysis) จึงหมายถึงการ ใช้เครื่องมือทางการคลัง การเงิน และอัตราแลกเปลี่ยน (exchange rate) เพื่อให้บรรลุเป้าหมายของการจ้างงานเต็มที่ การเติบโต และเสถียรภาพ ของราคา ความสําเร็จของการบริหารนโยบายเศรษฐกิจมหภาคเพื่อ ให้บรรลุเป้าหมายต่างๆ ดังที่กล่าวมา จะขึ้นอยู่กับการประสานการใช้ เครื่องมือทางการเงินและการคลัง (coordination of monetary and fiscal instruments) ภายใต้กลไกการวิเคราะห์แบบเคนเซียน เป้าหมายการลดการ ว่างงานอาจมีความขัดแย้งหรือต้องแลกเปลี่ยน (trade-off) กับการเพิ่ม ขึ้นของระดับราคาหรือภาวะเงินเฟ้อ ซึ่งสามารถอธิบายผ่านการวิเคราะห์ อุปสงค์รวม (Aggregate Demand) และอุปทานรวม (Aggregate Supply) ของระบบเศรษฐกิจได้ดังนี้ ในภาวะที่ระบบเศรษฐกิจขยายตัวโดยมาจากการเพิ่มขึ้นของ อุปสงค์รวม จะทําให้ระดับราคาถีบตัวสูงขึ้น แต่ในขณะเดียวกัน การขยาย ตัวของระบบเศรษฐกิจก็จะทําให้เกิดการจ้างงานเพิ่มขึ้น และทําให้การ ว่างงานลดลง ในทางกลับกัน เมื่อเกิดภาวะเศรษฐกิจหดตัวจากการ ลดลงของอุปสงค์รวม จะมีผลทําให้ระดับราคาลดลง แต่ในขณะเดียวกัน การหดตัวของระบบเศรษฐกิจก็จะทําให้การจ้างงานลดลง และทําให้มี การว่างงานเพิม่ ขึน้ กลไกดังกล่าวจึงชีใ้ ห้เห็นถึงการเปลีย่ นแปลงในทิศทาง ตรงข้ามกันระหว่างภาวะเงินเฟ้อกับภาวะการว่างงาน เศรษฐธรรม :: รวมบทปาฐกถากีรตยาจารย์แห่งเศรษฐศาสตร์ธรรมศาสตร์


193

ในกรณีที่ภาวะเศรษฐกิจหดตัวโดยมีที่มาจากอุปทานรวม เช่น มี Supply Shocks จากภาวะดินฟ้าอากาศ หรือการเพิ่มขึ้นของราคา นํ้ามันหรือวัตถุดิบ ระบบเศรษฐกิจจะเกิดปัญหาภาวะเงินเฟ้อและมีการ หดตัว ซึ่งทําให้เกิดการว่างงานเพิ่มขึ้นด้วย หรือในทางกลับกัน ถ้ามีการ เพิ่มอุปทานรวม เช่น ความก้าวหน้าทางเทคโนโลยี ทําให้ประสิทธิภาพ การผลิตดีขึ้นและต้นทุนตํ่าลง จะมีผลดีต่อการขยายตัวทางเศรษฐกิจ โดยไม่มีปัญหาภาวะเงินเฟ้อและการว่างงาน นั ก เศรษฐศาสตร์ เ รี ย กภาพหรื อ เส้ น ที่ แ สดงการแลกเปลี่ ย น ระหว่างอัตราการเพิ่มขึ้นของราคา (inflation rate) กับอัตราการว่างงาน (unemployment rate) ว่า เส้นฟิลลิปส์ (Phillips Curve) เพื่อเป็นเกียรติ แก่ เอ. ดับเบิลยู. ฟิลลิปส์ (A. W. Phillips) ซึง่ พบความสัมพันธ์นจี้ ากข้อมูล อัตราการว่างงานและอัตราการเปลี่ยนแปลงของค่าจ้างในประเทศอังกฤษ ระหว่างปี ค.ศ. 1861-195721 จากการวิเคราะห์ของนักเศรษฐศาสตร์สํานักเคนเซียนที่ทําให้ เห็นการแลกเปลี่ยนระหว่างอัตราเงินเฟ้อและอัตราการว่างงานอันเกิด จากการเปลี่ยนแปลงของอุปสงค์รวม จึงทําให้นักเศรษฐศาสตร์สํานักนี้ มีความเห็นว่า รัฐบาลสามารถบริหารจัดการอุปสงค์รวม (Aggregate Demand Management) เพื่อให้ระบบเศรษฐกิจมีเสถียรภาพได้ เช่น ถ้า ระบบเศรษฐกิจหดตัวโดยมีอปุ สงค์รวมน้อยเกินไป และทําให้มกี ารว่างงาน สูงขึน้ รัฐบาลก็สามารถใช้นโยบายการเงินการคลังขยายตัวเพือ่ เพิม่ อุปสงค์ รวม และในยามที่มีอุปสงค์รวมมากเกินไป จนทําให้อัตราเงินเฟ้อเพิ่มสูง ขึ้น รัฐบาลก็สามารถใช้นโยบายการเงินการคลังหดตัวเพื่อลดอุปสงค์รวม ถ้าสามารถบริหารจัดการได้ดี ก็จะทําให้ลดความผันผวนของวัฏจักรธุรกิจ และระบบเศรษฐกิจโดยรวมก็จะมีเสถียรภาพ อย่างไรก็ตาม นักเศรษฐศาสตร์บางคนก็ไม่เห็นด้วยกับการใช้ นโยบายดังกล่าว เพราะเห็นว่ารัฐบาลจะเป็นผู้สร้างหรือซํ้าเติมความ 21

A. W. Phillips (1958) ปราณี ทินกร


194

ผันผวนให้ระบบเศรษฐกิจเสียเอง ผูน้ าํ ทางด้านความคิดของกลุม่ นีค้ อื มิลตัน ฟรีดแมน (Milton Friedman) (สํานัก Monetarist)22 และ โรเบิรต์ ลูคสั (Robert Lucas) (สํานัก New Classical Economics)23 โดยเฉพาะอย่างยิง่ ลูคสั ได้นาํ แนวคิดเรือ่ งอัตราการว่างงานตามธรรมชาติ (Natural Rate of Unemployment - NRU) และการคาดการณ์อย่างสมเหตุสมผล (rational expectation) มาอธิบายว่าคนเรามีการคาดการณ์โดยใช้ข้อมูลทั้งหมดที่เกี่ยวข้อง และ สามารถวิเคราะห์ข้อมูลอย่างชาญฉลาด24 จึงสามารถคาดเดาผลกระทบ ของนโยบายการเงิน และปรับพฤติกรรมได้อย่างทันที จึงทําให้การดําเนิน นโยบายการเงินเพื่อลดอัตราการว่างงาน นอกจากจะไม่เกิดผลในระยะ ยาวแล้ว ยังไม่เกิดผลในระยะสั้นด้วย การใช้นโยบายการเงินขยายตัวจะ มีผลเพียงทําให้อัตราเงินเฟ้อเพิ่มสูงขึ้นเท่านั้น ดังนั้นนักเศรษฐศาสตร์ กลุ่มนี้จึงไม่เชื่อว่ามีการแลกหรือ trade-off ระหว่างอัตราเงินเฟ้อกับ อัตราการว่างงาน และได้เสนอว่า ธนาคารกลางควรมีหน้าที่ในการรักษา เสถียรภาพของราคาเท่านั้น แนวคิดเกี่ยวกับอัตราการว่างงานตาม ธรรมชาติและการคาดการณ์อย่างสมเหตุสมผลเป็นรากฐานสําคัญของ การดําเนินนโยบายเป้าหมายเงินเฟ้อ หรือ Inflation Targeting ซึง่ ธนาคาร กลางในบางประเทศใช้ในการดําเนินนโยบายการเงิน รวมทั้งธนาคารแห่ง ประเทศไทยด้วย ซึ่งประกาศใช้นโยบายนี้ในปี พ.ศ. 2543 การโต้เถียงกันของนักวิชาการในเรื่องข้างต้นนั้นมาจากการมี สมมติฐานเกี่ยวกับการทํางานของระบบเศรษฐกิจที่แตกต่างกัน ซึ่งต่าง ก็มีเหตุผลของแต่ละฝ่าย แต่ถ้าเรามองจากข้อมูลอัตราเงินเฟ้อและอัตรา มิลตัน ฟรีดแมน ได้รับรางวัลโนเบลสาขาเศรษฐศาสตร์ ในปี ค.ศ. 1976 โรเบิร์ต ลูคัส ได้รับรางวัลโนเบลสาขาเศรษฐศาสตร์ ในปี ค.ศ. 1995 24 “According to the hypotheses of rational expectations, expectations are formed on the basis of all available relevant information concerning the variable being predicted. Furthermore, the hypothesis maintains that individuals use available information intelligently; that is they understand the way in which the variables they observe will affect the variable they are trying to predict.” ดู Froyen (2005, p. 263) 22 23

เศรษฐธรรม :: รวมบทปาฐกถากีรตยาจารย์แห่งเศรษฐศาสตร์ธรรมศาสตร์


195

การว่างงานทีเ่ กิดขึน้ มาแล้วในอดีต เราก็อาจจะพอมองเห็นภาพว่า ความ สัมพันธ์เชิงผกผันระหว่างอัตราเงินเฟ้อกับอัตราการว่างงานมีอยูจ่ ริงหรือไม่ รู ป ที่ 4 แสดงข้ อ มู ล อั ต ราเงิ น เฟ้ อ และอั ต ราการว่ า งงานของ ประเทศไทยในระหว่างปี พ.ศ. 2526-2550 หรือ 25 ปีที่ผ่านมา ซึ่ง เราจะเห็นได้ว่า ในภาพรวมแล้ว ความสัมพันธ์ของสองตัวแปรนี้อยู่ใน ลักษณะผกผันกัน โดยเฉพาะถ้าเราแยกข้อมูลของปี พ.ศ. 2541 ซึ่ง เป็ น ปี ที่ มี วิ ก ฤตการณ์ เ ศรษฐกิ จ ค่ อ นข้ า งรุ น แรงออกไป (ในปี พ.ศ. 2541อัตราการเติบโตติดลบร้อยละ 10.5 อัตราการว่างงานร้อยละ 3.4 และอัตราเงินเฟ้อร้อยละ 8.1) รูปที่ 5 แสดงข้อมูลของรูปที่ 4 แต่ได้แยกออกเป็น 2 ช่วงเวลา โดยในส่วน (ก) เป็นข้อมูลในระหว่างปี พ.ศ. 2526-2539 และในส่วน (ข) เป็นข้อมูลในระหว่างปี พ.ศ. 2540-2550 การแยกข้อมูลออกเป็น 2 ช่วง เช่นนี้ยิ่งทําให้เห็นภาพความสัมพันธ์เชิงผกผันกันระหว่างอัตราเงินเฟ้อ และอัตราการว่างงานชัดเจนขึ้น รูปที่ 4 อัตราการว่างงานและอัตราเงินเฟ้อ พ.ศ. 2526-2540

ปราณี ทินกร


196

รูปที่ 5 อัตราการว่างงานและอัตราเงินเฟ้อแบ่งเป็น 2 ช่วง (ก) พ.ศ. 2526-2539

(ข) พ.ศ. 2540-2550

เศรษฐธรรม :: รวมบทปาฐกถากีรตยาจารย์แห่งเศรษฐศาสตร์ธรรมศาสตร์


197

ความสั ม พั น ธ์ เ ชิ ง ผกผั น ระหว่ า งอั ต ราเงิ น เฟ้ อ กั บ อั ต ราการ ว่ า งงานในช่ ว ง 25 ปี ที่ ผ่ า นมาของไทย แสดงว่ า มี ค วามขั ด แย้ ง หรื อ แลกเปลี่ยนกัน (trade-off) ระหว่างทั้งสองตัวแปรนี้ แต่เราควรต้อง ประมาณค่ า สมการเพื่ อ ทดสอบนั ย สํ า คั ญ ทางสถิ ติ ข องความสั ม พั น ธ์ ดังกล่าว ตารางที่ 9 สรุปผลประมาณการความสัมพันธ์ระหว่างอัตรา เงินเฟ้อกับอัตราการว่างงานในรูปแบบ Reciprocal ซึ่งเป็นรูปแบบสมการ ที่ Phillips (1958) ใช้ อย่างไรก็ตาม แม้วา่ ค่าสัมประสิทธิใ์ นสมการ 9.1 จะมี นัยสําคัญทางสถิติ แต่ความสามารถในการอธิบายไม่สูงนัก ทั้งนี้เพราะมี ข้อมูลที่มีลักษณะผิดไปจากภาวะปกติ (outlier) ซึ่งก็คือข้อมูลของปี พ.ศ. 2541 ที่วิกฤตการณ์เศรษฐกิจส่งผลอย่างรุนแรงทั้งต่ออัตราเงินเฟ้อและ อัตราการว่างงาน ภาวะวิกฤตดังกล่าวสามารถกําจัดออกไปจากความสัมพันธ์เฉลีย่ โดยการใส่ตัวแปรหุ่น (Dummy variable) สําหรับปีที่ข้อมูลมีพฤติกรรม เบี่ยงเบนสูงมาก (พ.ศ. 2541) ผลประมาณการโดยใส่ตัวแปรหุ่นอยู่ใน สมการที่ 9.2 ซึ่งมีความสามารถในการอธิบายเพิ่มขึ้น อย่างไรก็ตาม ค่าสถิติ Durbin-Watson บ่งชี้ว่า สมการนี้มีปัญหาค่าความคลาดเคลื่อน มีความสัมพันธ์กัน (autocorrelation in error terms) และเมื่อใช้วิธี ประมาณค่าแบบ Cochrane-Orcutt Iteration เพื่อแก้ปัญหาดังกล่าว จะได้ ผ ลประมาณการตามที่ แ สดงในสมการที่ 9.3 ซึ่ ง เราจะเห็ น ว่ า นอกจากจะแก้ปัญหา autocorrelation แล้ว ค่า R2 ของสมการนี้ยังสูงขึ้น เป็น 0.6645 (ค่า Adjusted R2 = 0.6142) และค่าสัมประสิทธิ์ก็มีนัยสําคัญ ทางสถิติ ยกเว้นค่าคงที25่ อย่างไรก็ตาม เนื่องจากความสัมพันธ์เชิงเศรษฐมิติของข้อมูล อนุ ก รมเวลาที่ น่ า เชื่ อ ถื อ นั้ น ควรจะมาจากอนุ ก รมเวลาที่ มี ลั ก ษณะ เสถียร (stationary time series) ดังนั้นผู้เขียนจึงได้ตรวจสอบลักษณะ ดังกล่าวโดยใช้ Augmented Dickey Fuller Unit Root Test ซึ่งผลการ 25

ดูรายละเอียดอื่นๆ ของผลประมาณการในภาคผนวก (ก) ปราณี ทินกร


198

ตรวจสอบพบว่า ที่ระดับนัยสําคัญทางสถิติ 5% ตัวแปรทั้งสองนี้ไม่ผ่าน การทดสอบ แต่เมื่อตรวจลักษณะ stationary ของการเปลี่ยนแปลง ของตัวแปร หรือ First Difference (D(INF) และ D(U)) ปรากฏว่าการ เปลี่ยนแปลงของตัวแปรทั้งคู่มีลักษณะ stationary หรือในทางสถิติเรา กล่าวว่าตัวแปรทั้งสองนี้มีลักษณะ Integrated of order 1 หรือ I(1) ดังนั้นทั้งอัตราเงินเฟ้อและอัตราการว่างงานอาจจะมีลักษณะเป็น cointegrated variables ซึ่งจะมีผลทําให้ความสัมพันธ์ในสมการ 9.3 เป็น cointegrated regression และมีความน่าเชื่อถือ ซึ่งจะทดสอบได้จาก ค่าความผิดพลาด และเมื่อนําเอาค่าความผิดพลาดที่ประมาณการจาก สมการ 9.3 (ERR 9-3) มาทําการทดสอบ unit root test พบว่าตัวแปร ดังกล่าวผ่านการทดสอบและมีลักษณะ stationary ดังนั้นจึงสรุปได้ว่า อัตราเงินเฟ้อ (INF) และอัตราการว่างงาน (U) มีลักษณะเป็น cointegrated variables และมี ค วามสั ม พั น ธ์ ต่ อ กั น ในระยะยาว (ดู ผ ลการ ทดสอบ unit root test ของ D(INF) D(U) และ ERR9-3 ในภาคผนวก (ข)) จากผลการวิเคราะห์ทางสถิติ ผู้เขียนเห็นว่า สมการ 9.3 อยู่ ในเกณฑ์ที่น่ายอมรับได้ว่าเป็นสมการของเส้นฟิลลิปส์ของประเทศไทย ในช่วง 25 ปีที่ผ่านมา จากสมการนี้ เราสามารถคํานวณว่า ถ้าอัตราการ ว่างงานลดลง 1 หน่วยหรือร้อยละ 1 จะมีผลทําให้อัตราเงินเฟ้อเพิ่มขึ้น เท่าใด โดยเราหาค่าอนุพันธ์ของอัตราเงินเฟ้อเทียบกับอัตราการว่างงาน หรือค่า d(INF)/d(U) จากสมการ reciprocal relationship ได้เท่ากับ -ß( 1u ) และเนื่องจากค่า slope ของเส้นฟิลลิปส์ไม่คงที่ และขึ้นอยู่กับ u หรืออัตราการว่างงาน ดังนั้นผู้เขียนจึงใช้ค่าเฉลี่ยของอัตราการว่างงาน ตลอดช่วง 25 ปีที่ผ่านมาเป็นค่าที่คํานวณ slope และพบว่า ถ้าอัตรา การว่างงานเพิ่มขึ้นร้อยละ 1 อัตราเงินเฟ้อจะลดลงร้อยละ 0.761 หรือใน ทางกลับกัน ถ้าอัตราการว่างงานลดลงร้อยละ 1 อัตราเงินเฟ้อจะเพิ่มขึ้น ร้อยละ 0.761 ซึง่ แสดงว่า เมือ่ เศรษฐกิจขยายตัวและทําให้อตั ราการว่างงาน ลดลง ในขณะที่ทําให้อัตราเงินเฟ้อเพิ่มขึ้นนั้น อัตราเงินเฟ้อจะเพิ่มขึ้น 2

เศรษฐธรรม :: รวมบทปาฐกถากีรตยาจารย์แห่งเศรษฐศาสตร์ธรรมศาสตร์


199

ในอั ต ราที่ ตํ่ า กว่ า อั ต ราการว่ า งงานที่ ล ดลง อย่ า งไรก็ ต าม อั ต ราการ แลกเปลี่ยนกัน (trade-off) ระหว่างการว่างงานและเงินเฟ้อไม่คงที่ ขึ้นอยู่ กับว่าเราวัด ณ จุดใดของเส้นฟิลลิปส์ โดยหากระบบเศรษฐกิจอยู่ ณ จุดที่ อัตราการว่างงานอยูใ่ นระดับสูง การลดอัตราการว่างงานจะมีผลต่อเงินเฟ้อ น้อย แต่ถา้ เราอยู่ ณ จุดทีอ่ ตั ราการว่างงานอยูใ่ นระดับตํา่ การลดอัตราการ ว่างงานจะมีผลต่อเงินเฟ้อมาก จากข้ อ มู ล และผลประมาณการที่ มี อ ยู่ ใ นช่ ว ง 25 ปี ที่ ผ่ า นมา ผู้เขียนจึงมีความเห็นว่า เส้นฟิลลิปส์ของประเทศไทยไม่น่าจะเป็นเส้น ตั้งฉากที่ขยับออกไปทางด้านขวาตามความเชื่อของนักเศรษฐศาสตร์ สํานักคลาสสิกใหม่ ในขณะเดียวกัน ผู้เขียนยอมรับว่า การประมาณการ ความสัมพันธ์ดังกล่าวเป็นวิธีการทางเศรษฐมิติแบบง่ายๆ ไม่ซับซ้อน แต่ก็มีนักวิชาการท่านอื่นที่ใช้วิธีการประมาณค่าเส้นฟิลลิปส์ที่ซับซ้อน กว่ า โดยการประมาณค่ า สมการฟิ ล ลิ ป ส์ ใ นฐานะที่ เ ป็ น ส่ ว นหนึ่ ง ของ แบบจํ า ลองโครงสร้ า งเศรษฐกิ จ มหภาค และใส่ ตั ว แปรช่ อ งว่ า งของ ผลผลิต (output gap) การเปลี่ยนแปลงราคาสินค้านําเข้า และราคา นํ้ามัน ในสมการ เพื่ออธิบายอัตราเงินเฟ้อ ตัวอย่างเช่น ผลการศึกษา ของ Bhantumnavin (2002) และในงานดังกล่าวก็ยืนยันการดํารงอยู่ของ เส้นฟิลลิปส์สําหรับประเทศไทย26 นอกจากกรณี ข องประเทศไทย นั กวิ ช าการในบางประเทศก็ พบการดํารงอยู่ของการแลกเปลี่ยน (trade-off) บนเส้นฟิลลิปส์เช่น กัน ตัวอย่างเช่น Tang (2007) พบว่ามีการ trade-off บนเส้นฟิลลิปส์ ของประเทศมาเลเซียทั้งในระยะสั้นและระยะยาว และ Malinov and Southers (1997) พบว่ามีการ trade-off ของอัตราเงินเฟ้อกับอัตรา การว่างงานตามเส้นฟิลลิปส์ในประเทศกลุ่ม OECD ถึง 17 ประเทศ จากการวิเคราะห์ข้อมูลทั้งหมด 19 ประเทศ ข้อมูลเชิงประจักษ์เหล่านี้ Bhantumnavin (2002) พบว่า ความสัมพันธ์ตามลักษณะของเส้นฟิลลิปส์ในประเทศไทย เกิดขึ้นหลังจากเกิดวิกฤตการณ์เศรษฐกิจในปี พ.ศ.2540 26

ปราณี ทินกร


200

เป็นปรากฏการณ์ทางเศรษฐกิจมหภาคทีย่ นื ยันว่า เมือ่ อุปสงค์รวมขยายตัว ย่อมทําให้การว่างงานลดลง และในขณะเดียวกันก็ทําให้ราคาสูงขึ้น 5.3 นโยบายการเงินโดยกําหนดกรอบเป้าหมายเงินเฟ้อ (Inflation Targeting) นโยบายการเงิ น มี ห ลายรู ป แบบ สํ า หรั บ ประเทศไทยในช่ ว ง ก่อนเกิดวิกฤตในปี พ.ศ. 2540 ใช้วิธีผูกค่าเงินบาทกับตะกร้าเงิน (Basket of currency) ซึ่งเป็นระบบอัตราแลกเปลี่ยนแบบคงที่ และใช้อัตรา แลกเปลีย่ นทีค่ งทีเ่ ป็นหลักยึดของนโยบาย (policy anchor) แต่วกิ ฤตค่าเงิน (currency crisis) และวิกฤตสถาบันการเงิน (financial crisis) ที่ลุกลามไป สู่วิกฤตการณ์เศรษฐกิจในปี พ.ศ. 254027 ทําให้จําเป็นต้องหันมาใช้อัตรา แลกเปลี่ยนแบบลอยตัว จึงไม่สามารถใช้อัตราแลกเปลี่ยนเป็นหลักยึด เพราะการผันผวนขึ้นลงของอัตราแลกเปลี่ยนย่อมส่งผลต่อระดับราคา ภายในประเทศด้วย ธนาคารแห่งประเทศไทยจึงหันมาใช้การกําหนด เป้าหมายทางการเงิน (Monetary aggregates) อยู่ระยะหนึ่ง แต่เนื่องจาก ความสั ม พั น ธ์ ร ะหว่ า งปริ ม าณเงิ น กั บ การขยายตั ว ทางเศรษฐกิ จ ไม่ มี เสถียรภาพ ธนาคารแห่งประเทศไทยจึงได้หนั มาใช้กรอบเป้าหมายเงินเฟ้อ (Inflation Targeting) นับตั้งแต่เดือนพฤษภาคม พ.ศ. 2543 และได้ออก รายงานแนวโน้มเงินเฟ้อรายไตรมาสฉบับแรกในเดือนกรกฎาคม พ.ศ. 2543 ภายใต้กรอบเป้าหมายเงินเฟ้อ ธนาคารกลางจะใช้อัตราดอกเบี้ย เป็ น เครื่ อ งมื อ ในการทํ า ให้ อั ต ราเงิ น เฟ้ อ อยู่ ใ นขอบเขตของเป้ า หมาย (target) และภายในขอบเขตเวลา (time horizon) ที่กําหนดไว้ โดย อั ต ราเงิ น เฟ้ อ เป้ า หมายมั ก จะวั ด จากการเปลี่ ย นแปลงของดั ช นี ร าคา ในการต่อสูป้ กป้องค่าเงินบาท ธนาคารแห่งประเทศไทยได้ทาํ ให้ปริมาณเงินสํารองระหว่าง ประเทศสุทธิลดลงจาก 3,334.5 ล้านเหรียญสหรัฐ ณ สิ้นเดือนธันวาคม พ.ศ. 2539 เหลือ เพียง 2,843 ล้านเหรียญสหรัฐ ณ สิ้นเดือนมิถุนายน 2540 จึงจําเป็นต้องประกาศลอยตัว ค่าเงินบาทในวันที่ 2 กรกฎาคม 2540 ดู Tinakorn (2006) 27

เศรษฐธรรม :: รวมบทปาฐกถากีรตยาจารย์แห่งเศรษฐศาสตร์ธรรมศาสตร์


201

ตารางที่ 9 ผลประมาณการความสัมพันธ์ระหว่างอัตราเงินเฟ้อ (inf) และอัตราการว่างงาน (u) ในประเทศไทย ระหว่าง พ.ศ. 2526-2550

หมายเหตุ: * หมายถึงมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับความเชื่อมั่น 95% ปราณี ทินกร


202

ผู้บริโภค (CPI) และในบางประเทศ รวมทั้งประเทศไทย วัดจากดัชนีราคา ผู้บริโภคพื้นฐาน หรือ Core CPI ซึ่งไม่รวมราคาอาหารสดและพลังงาน (raw food and energy) นับตั้งแต่ประเทศนิวซีแลนด์ทําการปฏิรูปธนาคารกลาง และตรา กฎหมาย Reserve Bank of New Zealand Act of 1989 และหันมาใช้ นโยบายการเงินโดยกําหนดกรอบเป้าหมายเงินเฟ้อในปี ค.ศ. 1990 ได้มี ประเทศต่างๆ เริม่ หันมาร่วมเดินในเส้นทางนี้ ในช่วงแรก ประเทศทีห่ นั มา ใช้กรอบเป้าหมายเงินเฟ้อส่วนใหญ่เป็นประเทศอุตสาหกรรมทีเ่ คยประสบ ปัญหาเงินเฟ้อในระดับสูง แต่ช่วงปลายทศวรรษ 1990 ก็มีประเทศกําลัง พัฒนาจํานวนหนึ่งเข้าร่วมในเส้นทางนี้ รวมทั้งธนาคารแห่งประเทศไทย จากข้อมูลที่กองทุนการเงินระหว่างประเทศ หรือ IMF (2006) รวบรวม มีประเทศที่ใช้กรอบเป้าหมายเงินเฟ้อ ณ ต้นปี ค.ศ. 2006 รวมทั้งสิ้น 23 ประเทศ โดยเป็นประเทศอุตสาหกรรม 7 ประเทศ และ ประเทศกําลังพัฒนา 16 ประเทศ และถ้าเรานับประเทศตุรกีซึ่งเพิ่งเริ่มใช้ กรอบนี้ในปี ค.ศ. 2006 ด้วย ก็จะมีทั้งหมด 24 ประเทศ ข้อมูลในตารางที่ 10 แสดงรายชื่อประเทศต่างๆ ที่ใช้กรอบเป้าหมายเงินเฟ้อ รวมทั้งอัตรา เงินเฟ้อเป้าหมายของแต่ละประเทศ โดยผู้เขียนรวบรวมมาจากงานของ Petursson (2004) และ IMF (2006) อย่ า งไรก็ ต าม ประเทศอุ ต สาหกรรมยั ก ษ์ ใ หญ่ ข องโลก เช่ น สหรัฐอเมริกาและญีป่ นุ่ ยังคงมิได้นาํ กรอบเป้าหมายเงินเฟ้อมาเป็นอาณัติ (mandate) ของตน โดยเฉพาะอย่างยิ่งธนาคารกลางของสหรัฐอเมริกา (Federal Reserve Board) ซึ่งถูกกํากับด้วยกฎหมายที่สําคัญ 2 ฉบับคือ 1. The Employment Act of 1946 2. The Full Employment and Balanced Growth Act of 1978 ซึ่งมักเรียกกันว่า Humphrey-Hawkins Act ภายใต้กฎหมายดังกล่าว ธนาคารกลางของสหรัฐอเมริกาต้อง ดําเนินนโยบายการเงินเพื่อให้บรรลุเป้าหมายเศรษฐกิจมหภาคที่สําคัญ ดังนี้ เศรษฐธรรม :: รวมบทปาฐกถากีรตยาจารย์แห่งเศรษฐศาสตร์ธรรมศาสตร์


203

* การจ้างงานเต็มอัตรา (full employment) * การเติบโตแบบสมดุล (balanced growth) * ราคามีเสถียรภาพ (price stability) อลัน กรีนสแปน (Alan Greenspan) ซึ่งดํารงตําแหน่งประธาน ของ Federal Reserve Board เป็นเวลายาวนาน ตั้งแต่เดือนสิงหาคม พ.ศ. 2530 ถึงเดือนมกราคม พ.ศ. 2549 ไม่เห็นด้วยกับการกําหนดเป้าหมาย เงินเฟ้อ และถึงแม้วา่ ประธานคณะกรรมการของ Federal Reserve Board คนปัจจุบัน คือ เบน เบอร์แนนคี (Ben Bernanke) จะมีความโน้มเอียง ไปทางการใช้กรอบเป้าหมายเงินเฟ้อ แต่ก็ยอมรับว่า ถึงแม้ Federal Reserve จะไม่ยอมแขวนป้ายเป้าหมายเงินเฟ้อ แต่ก็สามารถสร้างความ น่าเชื่อถือจากการที่สามารถทําให้สหรัฐอเมริกามีเสถียรภาพของราคา นอกจากนี้ยังมีความเห็นว่า การใช้เป้าหมายเงินเฟ้อแบบเข้มงวด (strict inflation targeting) ซึ่งมีเป้าหมายเดียวคือเงินเฟ้อนั้น เป็นความคิดที่ผิด (misconception) และเห็นว่ากรอบเป้าหมายเงินเฟ้อแบบยืดหยุน่ (flexible inflation targeting) น่าจะเป็นแนวทางของธนาคารกลางทุกแห่ง เนือ่ งจาก กรอบนี้จะเปิดทางให้ผลผลิต (output) และการจ้างงาน (employment) เป็นเป้าหมายที่สําคัญของธนาคารกลางด้วย28 ในกรณีของประเทศญี่ปุ่น กฎหมายของธนาคารกลาง (Bank of Japan Law) ที่มีการแก้ไขในปี ค.ศ. 1998 ระบุไว้ว่า “Currency and monetary control shall be aimed at, through the pursuit of price stability, contributing to the sound development of the national economy.” และในการประชุมคณะกรรมการนโยบายการเงินของธนาคารกลางญี่ปุ่น ในวันที่ 8 มีนาคม ค.ศ. 2000 คณะกรรมการได้มีมติให้มีการศึกษา เชิงลึก (in-depth study) ถึงประเด็นต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับเสถียรภาพ ของราคา (price stability) และได้ข้อสรุปว่า คําว่า เสถียรภาพของราคา หมายถึง ไม่เกิดทั้งภาวะเงินเฟ้อและภาวะเงินฝืด (Price stability, a 28

Bernanke (2003) ปราณี ทินกร


204

situation neither inflationary nor deflationary)29 นอกจากนี้ยังระบุว่า เนื่องจากอัตราดอกเบี้ยไม่สามารถลดตํ่าลงกว่าศูนย์ได้ ดังนั้นการดําเนิน นโยบายการเงินต้องมีความระมัดระวังมิให้ระบบเศรษฐกิจตกลงไปอยู่ใน วังวนของภาวะเงินฝืด (deflationary spiral) และนโยบายการเงินควรมุง่ ไป ที่อัตราเงินเฟ้อที่เป็นบวกและมีค่าตํ่า30 หลังจากศึกษาประเด็นต่างๆ แล้ว คณะกรรมการนโยบายการเงินของธนาคารกลางของประเทศญีป่ นุ่ มีความ เห็นว่า ไม่เป็นการเหมาะสมทีจ่ ะนิยามเสถียรภาพของราคาด้วยตัวเลขใด31 ซึ่งประเทศที่ใช้กรอบเป้าหมายเงินเฟ้อจะต้องระบุตัวเลขเงินเฟ้อที่เป็น เป้าหมายเอาไว้ นักเศรษฐศาสตร์ที่มีชื่อเสียงหลายคนในสหรัฐอเมริกาไม่เห็น ด้วยกับการกําหนดกรอบเป้าหมายเงินเฟ้อ เช่น นาย Joseph Stiglitz ซึ่งได้รับรางวัลโนเบลสาขาเศรษฐศาสตร์ในปี ค.ศ. 2001 มีความเห็นว่า การกําหนดกรอบเป้าหมายเงินเฟ้อเป็นส่วนหนึง่ ของฉันทมติแห่งวอชิงตัน (Washington Consensus) ที่เชื่อว่าต้องควบคุมอัตราเงินเฟ้อให้อยู่ใน ระดับตํา่ เนือ่ งจากภาวะเงินเฟ้อสร้างต้นทุนให้ระบบเศรษฐกิจ และเมือ่ เกิด ภาวะเงินเฟ้อแล้วมักยากที่จะควบคุม ซึ่งการคิดเช่นนี้ทําให้นายธนาคาร กลาง (Central Bankers) ทั้งหลายต้องมุ่งควบคุมเงินเฟ้อ ถึงแม้ว่าสังคม จะพึงพอใจการว่างงานในระดับตํ่ามากกว่าอัตราเงินเฟ้อในระดับตํ่าก็ตาม

Bank of Japan (2000) “One Price Stability” (Online website: www.boj.or.jp/en/type/ release/zuiji/kako02/k001013a.gtm) 30 “The central bank conducts monetary policy aiming at a small but positive measured inflation rate.” ดู Bank of Japan (2000) 31 “Therefore, it is not deemed appropriate to define price stability by numerical values.” ดู Bank of Japan (2000) 29

เศรษฐธรรม :: รวมบทปาฐกถากีรตยาจารย์แห่งเศรษฐศาสตร์ธรรมศาสตร์


205

ตารางที่ 10 ประเทศที่ใช้นโยบายการเงินโดยการกําหนด กรอบเป้าหมายเงินเฟ้อ (Inflation Targeting)

ที่มา: รวบรวมจาก Petursson (2004) และ IMF (2006) (ดูหมายเหตุหน้าถัดไป)

ปราณี ทินกร


206

หมายเหตุ 1-6 ตามที่ปรากฏใน Petursson (2004): 1 The reserve banks of Australia and New Zealand ceased using a core index as a reference price index after mortgage interest costs were removed from the headline CPI. 2 The EU’s harmonised index of consumer price (HICP). Previously based on the retail price index excluding mortgage interest costs. 3 Previously based on headline CPI excluding regulated prices and the direct impact of indirect taxes and subsidies. 4 Retail price index less mortgage interest payments. 5 Headline CPI excluding energy and unprocessed foods. 6 Headline CPI excluding agricultural products and oil. 7 ในเว็บไซต์ของ Bank of Indonesia ระบุ target สําหรับปี ค.ศ. 2005 ขึ้นไป แต่ ออกกฎหมายเรื่องนี้ในปี ค.ศ. 1999 * ในงานของ Petursson (2004) มีชื่อประเทศสวิตเซอร์แลนด์ว่าเป็นประเทศที่ใช้ Inflation Targeting แต่ใน IMF (2006) ระบุว่า ถึงแม้นโยบายการเงินของสวิตเซอร์แลนด์ จะมีองค์ประกอบหลายอย่างที่คล้ายกับ Inflation Targeting แต่ธนาคารกลางของประเทศ สวิตเซอร์แลนด์ปฏิเสธการแขวนป้ายนี้สําหรับนโยบายการเงินของตน

Joseph Stiglitz (1998) มีความเห็นว่า หลักฐานจากข้อมูลเชิง ประจักษ์ (empirical evidence) แสดงแต่เพียงว่าอัตราเงินเฟ้อในระดับสูง เท่านัน้ ทีส่ ร้างต้นทุนต่อระบบเศรษฐกิจ เช่น งานของ Bruno and Easterly (1996) ที่ศึกษาข้อมูลของหลายประเทศ พบว่าประเทศที่มีอัตราเงินเฟ้อ สูงกว่า 40% จึงจะตกอยู่ในกับดักของ “high inflation - low growth” ส่วนประเทศทีม่ อี ตั ราเงินเฟ้อตํา่ กว่านี้ ไม่ปรากฏหลักฐานว่าอัตราเงินเฟ้อ ทําให้เกิดผลเสียต่ออัตราการเติบโตในระยะยาว งานของ Barro (1997) และ Fischer (1993) ก็พบว่าอัตราเงินเฟ้อในระดับสูงส่งผลเสียต่อการเติบโต แต่ไม่พบหลักฐานว่าอัตราเงินเฟ้อในระดับตํ่าถึงปานกลางสร้างต้นทุน ให้ระบบเศรษฐกิจ นอกจากนี้ การศึกษาของ Akerlof, Dickens, and Perry (1996) เสนอว่าอัตราเงินเฟ้อในระดับทีไ่ ม่มากเกินไปอาจทําให้ระบบ เศรษฐกิจทํางานได้ดีกว่ากรณีที่ไม่มีอัตราเงินเฟ้อเลย นอกจากไม่ ป รากฏหลั ก ฐานว่ า อั ต ราเงิ น เฟ้ อ ในระดั บ ตํ่ า ถึ ง ปานกลางสร้างความเสียหายให้ระบบเศรษฐกิจแล้ว ยังไม่มีหลักฐานที่จะ เศรษฐธรรม :: รวมบทปาฐกถากีรตยาจารย์แห่งเศรษฐศาสตร์ธรรมศาสตร์


207

ยืนยันว่าเมื่อเกิดอัตราเงินเฟ้อในระดับสูงแล้ว จะทําให้ยากที่จะควบคุม อัตราเงินเฟ้อในอนาคต ดังนั้นสติกลิตซ์จึงมีจุดยืนที่ชัดเจนว่าไม่เห็น ด้วยกับกรอบเป้าหมายเงินเฟ้อ และล่าสุดยังได้เขียนบทความชื่อ “The Failure of Inflation Targeting” ในเว็บไซต์ Project Syndicate พร้อมกับ แสดงความเห็นใจต่อพลเมืองที่โชคร้ายของประเทศที่ได้ประกาศใช้กรอบ เป้าหมายเงินเฟ้อไปแล้ว32 ประเด็นสําคัญประเด็นหนึ่งที่ธนาคารกลางมักจะหยิบยกขึ้นมา เป็นเหตุผลของการใช้กรอบเป้าหมายเงินเฟ้อคือ ความโปร่งใส (Transparency) ในการดําเนินนโยบายการเงิน ว่ามีเป้าหมายทีช่ ดั เจนทีจ่ ะสือ่ ให้แก่ สาธารณชน ในประเด็นนี้ ศาสตราจารย์ เบนจามิน ฟรีดแมน (Benjamin Friedman) แห่งมหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด (Harvard University) กลับเห็น ตรงกันข้ามว่า การใช้กรอบเป้าหมายเงินเฟ้อทําให้ธนาคารกลางไม่มคี วาม จําเป็นที่จะต้องอธิบายให้สาธารณชนได้รับรู้ถึงเป้าหมายเกี่ยวกับผลผลิต การจ้างงาน และประเด็นอื่นที่เกี่ยวกับภาคเศรษฐกิจจริง ทําให้ไม่เกิดการ โต้เถียงหรือวิวาทะที่เปิดเผยเกี่ยวกับเป้าหมายและการใช้นโยบาย การ ใช้กรอบเป้าหมายเงินเฟ้อจึงเป็นการดําเนินนโยบายการเงินที่ต่อต้าน ความโปร่งใส (คําศัพท์ที่ฟรีดแมนใช้คือ anti-transparency) และความ ไม่โปร่งใสดังกล่าวเป็นเหตุผลหนึ่งที่ฟรีดแมนไม่เห็นด้วยที่ธนาคารกลาง สหรัฐอเมริกาจะหันมาใช้กรอบเป้าหมายเงินเฟ้อ33 ในเดือนพฤษภาคม ค.ศ. 2008 สติกลิตซ์เขียนว่า “This crude price recipe (หมายถึง inflation targeting) is based on little economic theory or empirical evidence; there is no reason to expect that regardless of the source of inflation, the best response is to increase interest rates. One hopes that most countries will have the good sense not to implement inflation targeting; my sympathies go to the unfortunate citizens of those that do. (Among the list of those who have officially adopted inflation targeting in one form or another are: Israel, the Czech Republic, Poland, Brazil, Chile, Colombia, South Africa, Thailand, Korea, Mexico, Hungary, Peru, the Philippines, Slovakia, Indonesia, Romania, New Zealand, Canada, the United Kingdom, Sweden, Australia, Iceland and Norway.)” เว็บไซต์ www.project-syndicate.org/commentary/stiglitz 99 33 ดู Friedman (2002) และ Friedman (2004) 32

ปราณี ทินกร


208

ในกรณีประเทศไทย ธนาคารแห่งประเทศไทยได้หนั มาใช้นโยบาย การเงินแบบกําหนดกรอบเป้าหมายเงินเฟ้อตั้งแต่กลางปี พ.ศ. 2543 โดย นอกจากจะจัดสัมมนาวิชาการประจําปีเป็นครั้งแรกในเรื่องนี้แล้ว ธนาคาร แห่งประเทศไทยยังได้รณรงค์ประชาสัมพันธ์เรื่อง Inflation Targeting ทั้งทางหนังสือพิมพ์ วิทยุ โทรทัศน์ และยังว่าจ้างบริษัทประชาสัมพันธ์ ให้โฆษณาผลงานของธนาคารแห่งประเทศไทยด้วย ทั้งนี้มีนักวิชาการ บางคนตีความว่า ธนาคารแห่งประเทศไทยฝากความหวังไว้กับ Inflation Targeting อย่างมาก ว่ากรอบนี้จะช่วยฟื้นคืนศรัทธาของมหาชนที่มีต่อ ธนาคารแห่งประเทศไทย34 ผู้เขียนเองก็ได้รับเชิญให้ไปวิจารณ์แนวนโยบายดังกล่าว ซึ่ง ผู้เขียนได้ให้ความเห็นว่า ธนาคารแห่งประเทศไทยยังขาดงานวิจัยสําคัญ ทีจ่ ะรองรับการใช้กรอบนี้ โดยเฉพาะในเรือ่ งต้นทุนของการลดอัตราเงินเฟ้อ (cost of disinflation) และอัตราการเสียสละ (sacrifice ratio) รวมทั้งชี้ให้ เห็นว่า ในประเทศเล็กที่เปิดแบบประเทศไทย เราอาจประสบกับความ ขัดแย้งระหว่างอัตราเงินเฟ้อกับอัตราแลกเปลี่ยน และผู้เขียนตั้งคําถามว่า ธนาคารแห่ ง ประเทศไทยจะมี เ ป้ า หมายเกี่ ย วกั บ อั ต ราแลกเปลี่ ย นที่ เหมาะสมหรือไม่ ทั้งนี้เพราะการเคลื่อนย้ายเงินทุนระหว่างประเทศมี ความผันผวนสูง และทําให้อัตราแลกเปลี่ยนผันผวนตามไปด้วย ซึ่งส่งผล กระทบต่อการส่งออกและการนําเข้า รวมทั้งการเติบโตและการจ้างงาน อย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ สถานการณ์สมมุติที่ผู้เขียนยกตัวอย่างในการวิจารณ์นโยบาย ธนาคารแห่งประเทศไทยในปี พ.ศ. 2543 คือ ถ้าเกิดเหตุการณ์ที่มีเงินทุน ไหลเข้าจํานวนมาก ซึ่งจะทําให้เงินบาทแข็งค่าขึ้น ในด้านหนึ่ง ธนาคาร แห่งประเทศไทยก็อาจจะพอใจ เพราะค่าเงินบาททีแ่ ข็งขึน้ ย่อมทําให้ราคา สินค้านําเข้าในรูปของเงินบาทถูกลง ซึง่ ส่งผลให้อตั ราเงินเฟ้อลดลง แต่เงิน บาทที่แข็งค่าขึ้นเรื่อยๆ เป็นเวลานาน ย่อมส่งผลกระทบต่อความสามารถ 34

รังสรรค์ ธนะพรพันธ์ุ (2543)

เศรษฐธรรม :: รวมบทปาฐกถากีรตยาจารย์แห่งเศรษฐศาสตร์ธรรมศาสตร์


209

ในการส่งออกของประเทศ และอาจทําให้เราสูญเสียตลาดของเราไป ซึ่งจะ กระทบต่อการผลิต รายได้ และการจ้างงาน ผู้เขียนได้ถามในตอนนั้นว่า ธนาคารแห่งประเทศไทยจะยึดแต่ เป้าหมายเงินเฟ้อโดยไม่ยอมลดอัตราดอกเบีย้ เพือ่ ชะลอเงินทุนต่างประเทศ ไม่ให้ไหลเข้าหรือไม่ การณ์ปรากฏว่า เหตุการณ์สมมุติของผู้เขียนในปี พ.ศ. 2543 เกิดขึ้นจริงในปี พ.ศ. 2549 และธนาคารแห่งประเทศไทยต้าน แรงกดดันไม่ยอมลดอัตราดอกเบี้ย แต่หันไปใช้วิธีการควบคุมเงินทุน โดย ประกาศใช้มาตรการกันสํารอง 30% ดังที่ทราบกันโดยทั่วไป เหตุการณ์ นี้แสดงว่าธนาคารแห่งประเทศไทยมิได้มีเพียงเป้าหมายเงินเฟ้อ แต่มี เป้าหมายเกีย่ วกับอัตราแลกเปลีย่ นด้วย แต่หลีกเลีย่ งการใช้อตั ราดอกเบีย้ โดยหันมาควบคุมการไหลของเงินทุนแทน หากเราลําดับเหตุการณ์จากข้อความเกี่ยวกับเป้าหมายเงินเฟ้อ ตามที่ ป รากฏในเอกสารรายงานแนวโน้ ม เงิ น เฟ้ อ ของธนาคารแห่ ง ประเทศไทย เราจะพบว่า เมื่อเริ่มใช้นโยบายการเงินโดยการกําหนด กรอบเป้าหมายเงินเฟ้อนั้น ธนาคารแห่งประเทศไทยมีท่าทีที่เข้มงวดว่า จะใช้ strict inflation targeting คือคํานึงถึงเฉพาะเป้าหมายเงินเฟ้ออย่าง เดียว แต่ต่อมาเมื่อมีการเปลี่ยนตัวผู้ว่าการฯ และเปลี่ยนตัวกรรมการ นโยบายการเงิน ได้มีท่าทีในการนําประเด็นเรื่องเสถียรภาพภายนอก (external stability) และความไม่สมดุลทางการเงิน (financial imbalance) มาเป็นประเด็นในการพิจารณาด้วย ดังจะเห็นได้จากข้อความที่ปรากฏอยู่ ในกรอบกลยุทธ์การดําเนินนโยบายการเงินของประเทศไทย ดังนี35้

35

ดูประเด็นอื่นภายใต้กรอบนี้ในภาคผนวก (ค) ปราณี ทินกร


210

* รายงานแนวโน้มเงินเฟ้อ ตุลาคม 2543 ซึ่งมี ม.ร.ว.จัตุมงคล โสณกุล เป็นผู้ว่าการธนาคารแห่งประเทศไทย ระบุดังนี้ กระบวนการกําหนดนโยบายการเงิน คณะกรรมการนโยบายการเงินเป็นผู้รับผิดชอบในการ กําหนดทิศทางนโยบายการเงิน เพื่อรักษาไว้ซึ่งเสถียรภาพของ ระดับราคา เพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน เป้าหมาย คณะกรรมการฯ กําหนดเป้าหมายอัตราเงินเฟ้อพื้นฐาน (หักราคาสินค้าหมวดอาหารสดและพลังงาน) เป็นเป้าหมายในการ ดําเนินนโยบายการเงิน โดยกําหนดเป้าหมายอัตราเงินเฟ้อไว้ทรี่ อ้ ยละ 0-3.5 (เฉลี่ยรายไตรมาส) และคณะกรรมการฯ จะต้องชี้แจงเหตุผล แก่สาธารณชน หากอัตราเงินเฟ้อออกจากเป้าหมายที่กําหนดไว้

* รายงานแนวโน้มเงินเฟ้อ ตุลาคม 2544 ซึ่งมี ม.ร.ว.ปรีดิยาธร เทวกุล เป็นผู้ว่าการธนาคารแห่งประเทศไทย ระบุดังนี้ กระบวนการกําหนดนโยบายการเงิน คณะกรรมการนโยบายการเงินทําหน้าที่กําหนดนโยบาย การเงินเพือ่ สนับสนุนการเจริญเติบโตของเศรษฐกิจทีย่ งั่ ยืน และความ มีเสถียรภาพภายในประเทศทางด้านราคา (Internal Stability) ทั้งนี้คณะกรรมการฯ จะเข้าไปดูแลปัจจัยสําคัญในเรื่องการรักษา เสถียรภาพภายนอก (External Stability) พร้อมกันด้วย เป้าหมาย คณะกรรมการฯ กําหนดเป้าหมายอัตราเงินเฟ้อพื้นฐาน (หักราคาสินค้าหมวดอาหารสดและพลังงาน) เป็นเป้าหมายในการ ดําเนินนโยบายการเงิน โดยกําหนดเป้าหมายอัตราเงินเฟ้อไว้ที่ ร้อยละ 0-3.5 (เฉลี่ยรายไตรมาส) สําหรับช่วงปี 2543-2545 และ คณะกรรมการฯ จะต้องชีแ้ จงเหตุผลแก่สาธารณชน หากอัตราเงินเฟ้อ ออกจากเป้าหมายที่กําหนดไว้ เศรษฐธรรม :: รวมบทปาฐกถากีรตยาจารย์แห่งเศรษฐศาสตร์ธรรมศาสตร์


211

* รายงานแนวโน้มเงินเฟ้อ กรกฎาคม 2547 ซึ่งมี ม.ร.ว.ปรีดิยาธร เทวกุล เป็นผู้ว่าการธนาคารแห่งประเทศไทย ระบุดังนี้ กระบวนการกําหนดนโยบายการเงิน คณะกรรมการนโยบายการเงินทําหน้าที่กําหนดนโยบาย การเงิน เพือ่ สนับสนุนการเจริญเติบโตของเศรษฐกิจทีย่ งั่ ยืน และความ มีเสถียรภาพภายในประเทศทางด้านราคา (Internal Stability) ทั้งนี้ คณะกรรมการฯ จะเข้าไปดูแลเสถียรภาพภายนอก (External Stability) ตลอดจนความไม่สมดุลที่อาจส่อเค้าปัญหาทางการเงิน (Financial Imbalances) ในภาคเศรษฐกิจด้วย เป้าหมาย คณะกรรมการฯ กํ า หนดเป้ า หมายอั ต ราเงิ น เฟ้ อ พื้ น ฐาน (หักราคาสินค้าหมวดอาหารสดและพลังงาน) เป็นเป้าหมาย ในการดําเนินนโยบายการเงิน โดยกําหนดเป้าหมายอัตราเงินเฟ้อไว้ที่ ร้อยละ 0-3.5 (เฉลี่ยรายไตรมาส) และคณะกรรมการฯ จะต้อง ชี้แจงเหตุผลแก่สาธารณชน หากอัตราเงินเฟ้อออกจากเป้าหมายที่ กําหนดไว้

รายงานแนวโน้ ม เงิ น เฟ้ อ มกราคม 2550 ซึ่ ง มี น างธาริ ษ า วัฒนเกส เป็นผู้ว่าการธนาคารแห่งประเทศไทย ระบุกระบวนการกําหนด นโยบายการเงิ น และเป้ า หมายเหมื อ นรายงานฉบั บ กรกฎาคม 2547 ข้างต้น แต่มีการปรับเปลี่ยนเครื่องมือในการดําเนินนโยบายการเงิน จาก อัตราดอกเบี้ยตลาดซื้อคืนพันธบัตรระยะ 14 วัน เป็นระยะ 1 วัน โดยให้ เหตุผลว่า อัตราดอกเบี้ยตลาดซื้อคืน 1 วันสะท้อนถึงสภาพคล่องในตลาด ได้ดีที่สุดเมื่อเปรียบเทียบกับอัตราดอกเบี้ยในระยะอื่น ในการพิจารณาข้อมูลในตารางที่ 10 ประกอบกับลายลักษณ์ อักษรของธนาคารแห่งประเทศไทยตามที่ปรากฏในรายงานแนวโน้ม เงินเฟ้อ ผู้เขียนมีข้อสังเกตบางประการดังนี้ ปราณี ทินกร


212

ประการแรก เราจะเห็นจากข้อมูลในตารางที่ 10 และรูปที่ 6 ว่า เมื่อเปรียบเทียบกับประเทศอื่นแล้ว ณ เวลาที่เริ่มใช้ Inflation Targeting อัตราเงินเฟ้อของไทยเกือบอยู่ในระดับตํ่าสุด (ร้อยละ 1.66) รองจาก ประเทศเปรู ซึง่ มีอตั ราเงินเฟ้อติดลบ (-0.8) นอกจากนี้ การใช้กรอบนีข้ อง ธนาคารแห่งประเทศไทยในช่วงเวลาดังกล่าว ระบบเศรษฐกิจไทยยังอยูใ่ น ช่วงเศรษฐกิจเริม่ จะฟืน้ ตัวจากภาวะตกตํา่ อย่างรุนแรงของวิกฤตเศรษฐกิจ จึงทําให้สาธารณชนอดสงสัยไม่ได้ว่า ธนาคารแห่งประเทศไทยกําลังแก้ ปัญหาในสิ่งที่มิได้เป็นปัญหา ทั้งนี้ในอดีต ภาวะเงินเฟ้อที่รุนแรงของไทย ส่วนใหญ่เกิดจากปัจจัยด้านอุปทานหรือต้นทุนเป็นหลัก การใช้เป้าหมาย เงินเฟ้อในยามที่เศรษฐกิจซบเซา และในช่วงดังกล่าว อัตราเงินเฟ้อและ ราคานํ้ามันของโลกมิได้สูงอย่างเช่นในปีปัจจุบัน ทําให้อัตราเงินเฟ้อของ ไทยอยู่ในระดับตํ่า จึงอาจทําให้ธนาคารแห่งประเทศไทยคิดว่าประสบ ความสําเร็จในการควบคุมเงินเฟ้อ เราจะเห็นว่าในปัจจุบันนี้ การที่ราคา นํ้ามันและราคาสินค้าโภคภัณฑ์และสินค้าเกษตรในตลาดโลกเพิ่มสูงขึ้น ซึ่งส่งผลต่ออัตราเงินเฟ้อของไทยด้วยนั้น ธนาคารแห่งประเทศไทยอาจ จะไม่ประสบความสําเร็จตามกรอบเป้าหมายเงินเฟ้อ เพราะอัตราดอกเบีย้ เป็นเครื่องมือในการบริหารจัดการอุปสงค์เป็นหลัก ถ้านํามาแก้ปัญหา เงินเฟ้อจากด้านอุปทาน โดยทําให้อุปสงค์หดตัว จะยิ่งซํ้าเติมปัญหา เศรษฐกิจ ประการที่สอง ประเทศส่วนใหญ่ที่หันมาใช้กรอบ Inflation Targeting ในช่วงระหว่างปี ค.ศ. 1990-1995 เป็นประเทศอุตสาหกรรม ที่เคยประสบปัญหาเงินเฟ้อในระดับสูง และใช้กรอบนี้เพื่อให้ประชาชน เห็ น ว่ า ธนาคารกลางยกให้ อั ต ราเงิ น เฟ้ อ เป็ น เป้ า หมายสํ า คั ญ เหนื อ เป้ า หมายอื่ น ๆ จึ ง ทํ า ให้ ก รอบเป้ า หมายเงิ น เฟ้ อ ได้ รั บ การแขวนป้ า ย ว่าเป็นกรอบที่เข้มงวด (strict inflation targeting) รวมถึงเมื่อธนาคาร แห่งประเทศไทยเริ่มใช้กรอบนี้ ก็สื่อไปในทางเดียวกันว่าจะเข้มงวดทั้งใน ภาษาพูดและภาษาเขียน ดังที่ปรากฏในรายงานแนวโน้มเงินเฟ้อ ตุลาคม 2543 เศรษฐธรรม :: รวมบทปาฐกถากีรตยาจารย์แห่งเศรษฐศาสตร์ธรรมศาสตร์


213

รูปที่ 6 อัตราเงินเฟ้อ ณ เวลาที่เริ่มใช้ Inflation Targeting

ที่มา: ข้อมูลในตารางที่ 10

อย่างไรก็ตาม จากพฤติกรรมของธนาคารแห่งประเทศไทย ทัง้ จาก การแถลงข่าว36 และที่ปรากฏในรายงานแนวโน้มเงินเฟ้อในปี พ.ศ. 2544 และปีต่อๆ มา เราจะเห็นว่าธนาคารแห่งประเทศไทยได้ให้ความสําคัญกับ เป้าหมายอื่นๆ ของระบบเศรษฐกิจด้วย ดังนั้นกรอบ Inflation Targeting ของธนาคารแห่งประเทศไทยจึงเป็นกรอบที่ยืดหยุ่น (flexible) ซึ่งถือว่าได้ ถอยจากก้าวแรกที่แสดงท่าทีเข้มงวดมากในปี พ.ศ. 2543 ตัวอย่างเช่น การแถลงข่าวของนางธาริษา วัฒนเกส ผู้ว่าการธนาคารแห่งประเทศไทย ในวันที่ 16 มิถุนายน 2551 ที่กล่าวว่า “ขอยืนยันว่าการทํานโยบายดอกเบี้ย ธนาคาร แห่งประเทศไทยจะไม่ทําอะไรสุดโต่งโดยดูแต่เงินเฟ้อ โดยไม่ดูการขยายตัวของเศรษฐกิจ แต่อตั ราเงินเฟ้อทีอ่ ยูใ่ นอัตราสูงสร้างผลกระทบต่อประชาชน โดยเฉพาะผูท้ มี่ เี งินเดือนประจํา ก็ตอ้ งแก้ไข โดยทัง้ การเติบโตและเสถียรภาพต้องควบคูก่ นั ไป” ดูรายงานข่าวในหนังสือพิมพ์ ประชาชาติธุรกิจ วันพฤหัสบดีที่ 19 - วันอาทิตย์ที่ 22 มิถุนายน 2551 หน้า 2 36

ปราณี ทินกร


214

ประการที่สาม การใช้กรอบเป้าหมายเงินเฟ้อแบบยืดหยุ่น หรือ flexible inflation targeting เพื่อให้มีหลักยึดของนโยบาย (policy anchor) โดยคํ า นึ ง ถึ ง เป้ า หมายเศรษฐกิ จ มหภาคด้ า นอื่ น ๆ พร้ อ มกั น ไปด้ ว ย ก็เท่ากับธนาคารแห่งประเทศไทยมิได้เปลี่ยนแปลงเป้าหมายเศรษฐกิจ มหภาคของประเทศ ซึ่งผู้เขียนเห็นว่าพอยอมรับได้มากกว่าท่าทีเข้มงวด หรือ strict inflation targeting ในตอนเริ่มต้น แต่ในขณะเดียวกัน ธนาคาร แห่งประเทศไทยควรศึกษาวิจัยเกี่ยวกับ trade-off รวมทั้ง sacrifice ratio และความพึงพอใจ (preference) ของประชาชนด้วย ว่าระหว่าง อัตราเงินเฟ้อที่เพิ่มขึ้นและอัตราการว่างงานที่เพิ่มขึ้น ประชาชนมีความ พึงพอใจที่จะแลกกันอย่างไร ประการที่ สี่ การกํ า หนดช่ ว งเป้ า หมายเงิ น เฟ้ อ 0-3.5 นั้ น ผู้เขียนมีความเห็นว่าอาจจะตํ่าเกินไป ขีดขั้นตํ่าของเป้าหมายเงินเฟ้อ ไม่ควรจะเป็นศูนย์ ข้อมูลในตารางที่ 10 ชี้ให้เห็นว่า ไม่มีประเทศใด กําหนดเป้าหมายเงินเฟ้อที่เป็นช่วงลงไปถึงศูนย์ เพราะการที่ราคาไม่ เปลี่ยนแปลงเลย หรืออัตราการเปลี่ยนแปลงของราคาลงไปในแดนติดลบ นั้น เป็นอันตรายต่อระบบเศรษฐกิจมากกว่ามีอัตราเงินเฟ้อในระดับตํ่าถึง ปานกลาง ดังตัวอย่างที่หลายประเทศในโลกเคยประสบมาแล้ว เช่น ประเทศญี่ปุ่นที่ประสบปัญหาอัตราเงินเฟ้อลดลงในช่วงต้นทศวรรษ 1990 อยู่เป็นเวลาหลายปีกว่าจะหลุดพ้นจากวงจร deflationary spiral เราจะ เห็นได้จากข้อมูลในตารางที่ 10 ว่าประเทศนิวซีแลนด์ แคนาดา และ อิสราเอล กําหนดเป้าหมายเงินเฟ้อในช่วง 1-3 รวมถึงสวีเดนที่กําหนด 2(+1) แอฟริกาใต้กําหนด 3-6 เกาหลีใต้กําหนด 2.5-3.5 แต่ธนาคาร แห่งประเทศไทยมีความอาจหาญในการกําหนดอัตราเงินเฟ้อเป้าหมาย ให้ตํ่าได้ถึงระดับศูนย์ ประการที่ห้า เหตุผลหนึ่งที่เราต้องการให้เงินเฟ้ออยู่ในระดับตํ่า คือ การรักษาอํานาจซื้อของรายได้ โดยเฉพาะของคนที่มีรายได้น้อยและ เป็นตัวเงินที่มีลักษณะคงที่ (หรือเงินเดือนมิได้ขยับขึ้นตามภาวะเงินเฟ้อ) แต่ในข้อเท็จจริงเราจะพบว่าอาหารเป็นสัดส่วนสําคัญส่วนใหญ่ของผู้มี เศรษฐธรรม :: รวมบทปาฐกถากีรตยาจารย์แห่งเศรษฐศาสตร์ธรรมศาสตร์


215

รายได้น้อย และผู้มีรายได้น้อยน่าจะซื้ออาหารสดมาปรุงเองมากกว่าที่จะ ซื้ออาหารกระป๋องหรืออาหารที่ผ่านการแปรรูปแล้วมาบริโภค ดังนั้นการ ตั้งเป้าหมายเงินเฟ้อโดยดูเฉพาะอัตราเงินเฟ้อพื้นฐาน หรือ core inflation ซึ่งไม่รวมอาหารสดและพลังงาน จึงไม่สามารถนํามากล่าวอ้างได้ว่าใช้ กรอบเป้าหมายเงินเฟ้อเพือ่ รักษาอํานาจซือ้ ของผูม้ รี ายได้นอ้ ย เหตุการณ์ ปัจจุบันที่ราคาอาหารและราคานํ้ามันในตลาดโลกสูงขึ้น และทําให้อัตรา เงินเฟ้อของดัชนีราคาผู้บริโภคในประเทศไทยถีบตัวสูงขึ้นมาก จนผู้มี รายได้ น้ อ ยต่ า งก็ เ ดื อ ดร้ อ นกั น ไปหมด ก็ ไ ม่ อ ยู่ ใ นวิ สั ย ที่ ธ นาคารแห่ ง ประเทศไทยจะกระทํ า การอะไรได้ เพราะเครื่ อ งมื อ ของธนาคารแห่ ง ประเทศไทยคืออัตราดอกเบีย้ ซึง่ เป็นเครือ่ งมือทีส่ ง่ ผลต่ออุปสงค์เป็นหลัก นอกจากนี้ยังมีประเด็นในเรื่องขอบเขตของเวลา หรือ time horizon ในการทําให้อัตราเงินเฟ้ออยู่ในขอบเขตของเป้าหมายที่ตั้งไว้ ซึง่ มิได้ระบุไว้ในรายงานแนวโน้มเงินเฟ้อ37 ระบุแต่เพียงว่า “คณะกรรมการ นโยบายการเงินกําหนดเป้าหมายอัตราเงินเฟ้อ (พื้นฐาน) ไว้ที่ร้อยละ 0-3.5 (เฉลี่ยรายไตรมาส)” ซึ่งเราอาจตีความว่า time horizon ของ เป้ า หมายเงิ น เฟ้ อ เปิ ด กว้ า ง ไม่ มี ข อบเขตที่ แ น่ น อน แล้ ว แต่ ว่ า คณะ กรรมการนโยบายการเงินแต่ละชุดจะพิจารณาอย่างไร ประเทศนิวซีแลนด์ซึ่งเป็นประเทศแรกที่ใช้ inflation targeting เริ่มต้นโดยตั้ง time horizon ที่ 12 เดือน (4 ไตรมาส) และต่อมาหลังจาก ทบทวนแล้ว ได้ขยายเวลาเป็น 6-8 ไตรมาส ประเทศแคนาดาใช้ time horizon ที่ 18-24 เดือน หรือ 6-8 ไตรมาสเช่นกัน ส่วนประเทศออสเตรเลีย ใช้ช่วงเวลาของวัฏจักรธุรกิจ (business cycle) เป็น time horizon การตั้ง time horizon ที่สั้นเกินไปอาจสร้างความผันผวนให้ภาค เศรษฐกิจจริงมากเกินไปจากการปรับเปลีย่ นอัตราดอกเบีย้ ในขณะเดียวกัน ในรายงานแนวโน้มเงินเฟ้อ ตุลาคม 2544 ได้มีการระบุว่า กําหนดเป้าหมายอัตราเงินเฟ้อ ไว้ที่ร้อยละ 0-3.5 (เฉลี่ยรายไตรมาส) สําหรับช่วงปี 2543-2545 แต่ในรายงานแนวโน้ม เงินเฟ้อฉบับอื่นๆ นอกเหนือจากรายงานเดือนตุลาคม 2544 มิได้มีการระบุระยะเวลา time horizon แต่อย่างใด 37

ปราณี ทินกร


216

time horizon ที่ยาวนานก็ทําให้เกิดความเสี่ยงต่อการไม่บรรลุเป้าหมาย เงินเฟ้อ ในกรณีของประเทศนิวซีแลนด์ที่ธนาคารกลางได้ตัดสินใจปรับ time horizon ให้ยาวนานขึ้นนั้น มีพื้นฐานมาจากการวิเคราะห์วิจัยข้อมูล รองรับ เมื่อประมวลเหตุการณ์ต่างๆ แล้ว ผู้เขียนเห็นว่า การที่ธนาคาร แห่งประเทศไทยกระโดดเข้ามาใช้กรอบเป้าหมายเงินเฟ้อในตอนแรกนั้น อาจมิได้มีการวิเคราะห์วิจัยที่รองรับการตั้งเป้าหมาย (target) และการ กําหนดขอบเขต (time horizon) ที่เหมาะสมสําหรับเศรษฐกิจไทย และ อาจเริ่มดําเนินการโดยปราศจากกระบวนการวิเคราะห์วิจัยที่น่าเชื่อถือ ว่าเมื่อใช้กรอบเป้าหมายเงินเฟ้อแล้ว จะเกิดต้นทุนและผลประโยชน์ต่อ สังคมไทยทัง้ ในระยะสัน้ และระยะยาวอย่างไรบ้าง โดยเฉพาะถ้าเราคํานึงว่า การดําเนินนโยบายการเงินเกีย่ วพันกับความทุกข์ทสี่ าํ คัญทัง้ สองด้านของ ประชาชน คืออัตราเงินเฟ้อและอัตราการว่างงาน สาธารณชนมีสิทธิที่จะ ถามและรับรู้เกี่ยวกับต้นทุนของการลดเงินเฟ้อ (cost of disinflation) และ อัตราส่วนการเสียสละ (sacrifice ratio) ธนาคารแห่งประเทศไทยมีหน้าที่ชัดเจนในการดูแลเสถียรภาพ ของราคา ซึ่ ง เป็ น ความทุ ก ข์ ท างเศรษฐกิ จ ที่ สํ า คั ญ ประการหนึ่ ง ของ ประชาชน แต่หากธนาคารแห่งประเทศไทยมุ่งกดอัตราเงินเฟ้อให้ตํ่ามาก เกินไป โดยไม่คํานึงว่าจะมีผลต่อการว่างงานหรือไม่ นโยบายการเงินของ ธนาคารแห่งประเทศไทยอาจไปสร้างความทุกข์ให้แก่ประชาชนโดยการ เพิ่มการว่างงานได้ ทั้งนี้เพราะระบบสวัสดิการของประเทศไทยทั้งในด้าน การประกันการว่างงานและด้านอื่นๆ ยังไม่เพียงพอเทียบเท่ากับประเทศ ที่พัฒนาแล้ว อัตราการว่างงานที่เพิ่มขึ้นร้อยละ 1 น่าจะสร้างความทุกข์ ให้ประชาชนมากกว่าอัตราเงินเฟ้อที่เพิ่มขึ้นร้อยละ 1 ผู้ที่สนับสนุนและ รับผิดชอบการใช้กรอบเป้าหมายเงินเฟ้อควรจะสํารวจความพึงพอใจ (preference) ของประชาชน ว่าจะยอมรับผลกระทบของกรอบเป้าหมาย เงินเฟ้อได้ที่ระดับใด เศรษฐธรรม :: รวมบทปาฐกถากีรตยาจารย์แห่งเศรษฐศาสตร์ธรรมศาสตร์


217

6. บทสรุป

บทความนี้มีจุดเริ่มต้นจากข้อสังเกตเกี่ยวกับการศึกษาวิจัยเรื่องความสุข ของนักเศรษฐศาสตร์ตะวันตก ซึ่งงานส่วนใหญ่พบว่า ณ เวลาใดเวลาหนึ่ง คนที่มีรายได้สูงมีความสุขมากกว่าคนที่มีรายได้ตํ่า แต่เมื่อพิจารณาข้าม เวลา (overtime) กลับพบว่ารายได้ต่อหัวที่เพิ่มขึ้นมิได้ทําให้ความสุขของ คนในสังคมเพิ่มขึ้น รวมทั้งยังพบว่าประชาชนในประเทศที่มีรายได้ต่อ หัวสูงบางประเทศมิได้มีความสุขมากกว่าประชาชนในประเทศที่มีรายได้ ต่อหัวตํ่ากว่า ปัจจัยที่ส่งผลกระทบต่อความสุขของประชาชนมีทั้งปัจจัย เศรษฐกิจ ปัจจัยส่วนบุคคล ปัจจัยทางสถาบันและสังคม สิ่งแวดล้อม รวมทั้งระบบการเมืองด้วย เนื่องจากคนเรามีความต้องการที่ไม่จํากัด การพยายามเพิ่ม ความสุขให้ประชาชนอาจจะต้องใช้งบประมาณเพิ่มขึ้นไปเรื่อยๆ ผู้เขียน จึงได้นํามุมมองของพุทธศาสนาที่สอนเรื่องความทุกข์และการดับทุกข์ มาประยุกต์ในการพิจารณาการดําเนินนโยบายเศรษฐกิจ โดยเริ่มจาก การพิจารณาว่า ความทุกข์ทางเศรษฐกิจที่สําคัญมีอะไรบ้าง และจากการ พิจารณาในระดับมหภาค ปัญหาเศรษฐกิจที่สร้างความทุกข์ให้ประชาชน ในทุกประเทศคือ ปัญหาความยากจน ปัญหาการว่างงาน และปัญหา ปราณี ทินกร


218

เงินเฟ้อ ในด้านปัญหาความยากจน ข้อมูลของประเทศไทยที่คํานวณโดย สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ระหว่าง ปี พ.ศ. 2531 ถึง พ.ศ. 2549 แสดงว่า สัดส่วนคนยากจนลดลงจาก ร้อยละ 42.2 (ประมาณ 22 ล้านคน) เหลือร้อยละ 9.6 (ประมาณ 6 ล้าน คน) โดยในช่วงเวลาดังกล่าว ผลผลิตหรือ GDP ต่อหัวในราคาประจําปี เพิ่มขึ้นจาก 28,712 บาท เป็น 120,036 บาท และเมื่อคิดในราคาคงที่ เพิ่มขึ้นจาก 28,712 บาท เป็น 62,116 บาท ข้อมูลดังกล่าวแสดงว่า การ เติบโตทางเศรษฐกิจที่ทําให้สังคมมีรายได้และทรัพยากรเพิ่มขึ้น คงมี ส่วนช่วยให้จำ�นวนประชาชนที่ได้รับความทุกข์จากความยากจนมีน้อยลง แต่การเติบโตเป็นเพียงเงื่อนไขจําเป็นเท่านั้น แต่ยังไม่เพียงพอ เพราะ การเติบโตอาจเกิดการกระจุกตัวของรายได้ในกลุ่มผู้ที่มีรายได้สูงอยู่แล้ว รัฐบาลควรมีนโยบายสนับสนุนการเติบโตในลักษณะที่เอื้อประโยชน์ต่อ คนจนด้วย สําหรับอัตราการว่างงานและอัตราเงินเฟ้อนั้น เมื่อนํามารวมกัน จะเรียกว่า ดัชนีความทุกข์ (Misery Index) เนื่องจากปัญหาทั้งสองสร้าง ความทุกข์ให้ทุกคน จากข้อมูลระหว่างปี พ.ศ. 2526 ถึง พ.ศ. 2550 ดัชนี ความทุกข์ของไทยปรับตัวขึ้นลงตามภาวะเศรษฐกิจ และดัชนีความทุกข์ อยู่ในระดับสูงมากในช่วงเกิดวิกฤตเศรษฐกิจ โดยอยู่ที่ระดับ 11.5 ในปี พ.ศ. 2541 ซึ่งเกิดจากอัตราการว่างงานที่ร้อยละ 3.4 และอัตราเงินเฟ้อ ที่ร้อยละ 8.1 จากงานวิจัยของประเทศอื่น เราจะพบว่า ความทุกข์ที่เกิด จากการว่างงานมีความรุนแรงมากกว่าความทุกข์ที่เกิดจากอัตราเงินเฟ้อ โดยในงานบางชิ้นสรุปว่า เมื่ออัตราการว่างงานเพิ่มขึ้นร้อยละ 1 จะทําให้ ประชาชนมีความทุกข์มากกว่าอัตราเงินเฟ้อที่เพิ่มขึ้นร้อยละ 1-1.7 และ ในบางกรณีถึงร้อยละ 4 เมื่ อ พิ จ ารณาถึ ง เป้ า หมายของการดํ า เนิ น โยบายเศรษฐกิ จ มหภาค ซึ่ ง ได้ แ ก่ การจ้ า งงานเต็ ม ที่ การเติ บ โตที่ ส มดุ ล และการมี เสถียรภาพของราคา เราจะเห็นว่าเป้าหมายการเติบโตและการจ้างงาน เศรษฐธรรม :: รวมบทปาฐกถากีรตยาจารย์แห่งเศรษฐศาสตร์ธรรมศาสตร์


219

ไม่มีความขัดแย้งกัน ทั้งการเติบโตและการจ้างงานที่เพิ่มขึ้น จะมีส่วน ช่ ว ยลดความยากจนและความทุกข์ของประชาชน แต่เมื่อพิจารณา เป้าหมายเสถียรภาพของราคา นโยบายที่ทําให้เศรษฐกิจหดตัวเพื่อลด ปัญหาเงินเฟ้ออาจจะกระทบต่อปัญหาการว่างงาน จากการพิจารณา ข้อมูลอัตราการว่างงานและอัตราเงินเฟ้อของประเทศไทยในช่วง 25 ปี ที่ผ่านมา (พ.ศ. 2526-2550) พบว่าตัวแปรทั้งสองนี้มีความสัมพันธ์ เชิงผกผันกัน ซึ่งสามารถอธิบายได้ด้วยทฤษฎีเศรษฐศาสตร์มหภาค ตามแบบจําลองเคนเซียน ลักษณะผกผันระหว่างอัตราเงินเฟ้อและ อั ต ราการว่ า งงานนี้ มิ ไ ด้ เ ป็ น ไปตามสมมุ ติ ฐ านและความเชื่ อ ของนั ก เศรษฐศาสตร์สํานักคลาสสิกใหม่ ซึ่งเป็นพื้นฐานสําคัญของการสนับสนุน การดําเนินนโยบายการเงินโดยกําหนดกรอบเป้าหมายเงินเฟ้อ หรือ Inflation Targeting ในขณะที่นักเศรษฐศาสตร์สํานักคลาสสิกใหม่สนับสนุนการใช้ กรอบเป้าหมายเงินเฟ้อ เพราะเห็นว่านโยบายการเงินไม่ส่งผลต่ออัตรา การว่างงาน และอัตราเงินเฟ้อสร้างต้นทุนให้สังคม เมื่ออัตราเงินเฟ้อ สูงขึ้นแล้วยากที่จะควบคุม แต่งานวิจัยหลายชิ้นก็พบว่าอัตราเงินเฟ้อ ในระดับสูงมากเท่านั้นที่ส่งผลเสียต่อการเติบโตในระยะยาว โดยไม่พบ หลักฐานว่าอัตราเงินเฟ้อในระดับตํ่าถึงปานกลางสร้างต้นทุนให้ระบบ เศรษฐกิ จ นอกจากนี้ ยั ง ไม่ มี ห ลั ก ฐานยื น ยั น ว่ า เมื่ อ เกิ ด อั ต ราเงิ น เฟ้ อ ในระดับสูงแล้วจะทําให้ยากที่จะควบคุมในอนาคต โจเซฟ สติกลิตซ์ ซึ่งได้รับรางวัลโนเบลสาขาเศรษฐศาสตร์ในปี พ.ศ. 2544 แสดงความเห็นในเดือนพฤษภาคม พ.ศ. 2551 ว่า ไม่มีเหตุผล ทั้งทางทฤษฎีและหลักฐานเชิงประจักษ์ว่าเราควรโต้ตอบอัตราเงินเฟ้อ ที่เพิ่มขึ้นในทุกกรณีด้วยการขึ้นอัตราดอกเบี้ย ทั้งนี้เพราะการขึ้นอัตรา ดอกเบีย้ เพือ่ ต่อสูก้ บั อัตราเงินเฟ้อทีม่ าจากด้านอุปทานหรือต้นทุนทีส่ งู ขึน้ จะส่งผลลบต่อการเติบโตและการจ้างงาน ผู้เขียนได้พิจารณาการดําเนินนโยบายการเงินโดยกําหนดกรอบ เป้ า หมายเงิ น เฟ้ อ ของธนาคารแห่ ง ประเทศไทย และพบว่ า ธนาคาร ปราณี ทินกร


220

แห่งประเทศไทยได้ถอยจากท่าทีที่เข้มงวดในตอนเริ่มต้นที่ใช้กรอบนี้ โดยระบุไว้เป็นลายลักษณ์อักษรในรายงานแนวโน้มเงินเฟ้อตั้งแต่เดือน ตุลาคม 2547 ว่าจะดูแลเสถียรภาพภายในด้านราคา (internal stability) เสถียรภาพภายนอก (external stability) และความไม่สมดุลของปัญหา ทางการเงิน (financial imbalances) ด้วย ถ้ า เรามองปั ญ หาเศรษฐกิ จ จากมุ ม ความทุ ก ข์ ข องประชาชน เราจะเห็นว่าทัง้ ปัญหาเงินเฟ้อและปัญหาการว่างงานต่างก็สร้างความทุกข์ ให้แก่ประชาชน การประกาศใช้กรอบเป้าหมายเงินเฟ้อทําให้ประชาชน คาดหวังให้ธนาคารแห่งประเทศไทยเป็นหน่วยงานที่รับผิดชอบเมื่อเกิด ปัญหาเงินเฟ้อ แต่ในด้านปัญหาการว่างงาน เมื่อเกิดขึ้นแล้ว กระทรวง แรงงานดูเสมือนเป็นหน่วยงานที่ช่วยจัดหางานให้แก่คนว่างงาน ซึ่งก็ ช่วยได้เพียงส่วนน้อย คําถามพื้นฐานก็คือ ประเทศไทยมีระบบสวัสดิการ ทีส่ ามารถรองรับปัญหาการว่างงานได้ดเี พียงใด โดยเราเพิง่ มีระบบประกัน การว่างงานในปี พ.ศ. 2547 เท่านั้น ประเทศอุตสาหกรรมที่ใช้กรอบ เป้าหมายเงินเฟ้อทุกประเทศต่างก็มีระบบสวัสดิการการว่างงานและหลัก ประกันสังคมที่สามารถช่วยลดความทุกข์ของคนว่างงานได้ ข้ อ สั ง เกตของผู้ เ ขี ย นอี ก ประการหนึ่ ง คื อ แม้ ว่ า ธนาคารแห่ ง ประเทศไทยจะเป็นหน่วยงานทีป่ ระกาศรับผิดชอบดูแลปัญหาเงินเฟ้อ ทัง้ ๆ ที่ปัญหาเงินเฟ้อเป็นปรากฏการณ์เศรษฐกิจมหภาค มิใช่ปรากฏการณ์ ทางการเงินแต่เพียงอย่างเดียว จึงทําให้ประชาชนคาดหวังว่าธนาคาร แห่งประเทศไทยจะช่วยลดความทุกข์จากอัตราเงินเฟ้อ แต่เนื่องจาก ธนาคารแห่งประเทศไทยได้จํากัดการดูแลเฉพาะดัชนีราคาที่ไม่เกี่ยวกับ อาหารสดและพลังงาน ในข้อเท็จจริงจึงไม่สามารถลดความเดือดร้อน ของประชาชนจากราคาอาหารและราคานํ้ามันที่แพงขึ้นได้ แน่นอนว่า ธนาคารแห่งประเทศไทยมีหน้าที่ชัดเจนในการดูแลเสถียรภาพของราคา และอัตราเงินเฟ้อเป็นความทุกข์ทางเศรษฐกิจที่สําคัญประการหนึ่งของ ประชาชน แต่หากธนาคารแห่งประเทศไทยมุ่งกดอัตราเงินเฟ้อให้ตํ่า มากเกินไปโดยไม่คํานึงว่าจะมีผลต่อการว่างงานหรือไม่ นโยบายการเงิน เศรษฐธรรม :: รวมบทปาฐกถากีรตยาจารย์แห่งเศรษฐศาสตร์ธรรมศาสตร์


221

ของธนาคารแห่งประเทศไทยที่มุ่งลดความทุกข์ในด้านหนึ่ง อาจไปสร้าง ความทุกข์ในอีกด้านหนึ่งที่รุนแรงกว่าให้แก่ประชาชนได้

ปราณี ทินกร


222

เอกสารอ้างอิง ภาษาไทย ธนาคารแห่งประเทศไทย รายงานแนวโน้มเงินเฟ้อ รายไตรมาส, พ.ศ. 2543 2550. ปราณี ทินกร (2536) “การเติบโต การกระจายรายได้ และความยากจน ในประเทศไทย” วารสารสมาคมเศรษฐศาสตร์ ปีที่ 3 ฉบับที่ 11, หน้า 44-49. ปราณี ทินกร (2545) “ความเหลื่อมลํ้าของการกระจารายได้ในช่วงสี่ทศวรรษ ของการพัฒนาประเทศ: 2504-2544” บทความเสนอในการสัมมนา วิชาการประจําปีคณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ และ ตีพิมพ์ใน วารสารเศรษฐศาสตร์ธรรมศาสตร์ ปีที่ 20 ฉบับที่ 2-3 มิถุนายน-กันยายน, หน้า 141-208. ปราณี ทินกร (2550) นโยบายการคลังเพื่อสังคมและสุขภาวะ: มาตรการเพื่อ คนยากจนและด้อยโอกาส จัดพิมพ์และเผยแพร่โดยมูลนิธสิ าธารณสุข แห่งชาติ พุทธทาสภิกขุ คู่มือมนุษย์ฉบับสมบูรณ์ สํานักพิมพ์สุขภาพใจ พิมพ์ครั้งที่ 4 2547. เมธี ครองแก้ว และ ปราณี ทินกร (2528) “สภาวะความยากจนและการกระจาย รายได้ในประเทศไทย ปี 2518/19 และ 2524” วารสารเศรษฐศาสตร์ ธรรมศาสตร์ ปีที่ 3 ฉบับที่ 4, หน้า 55-99. รังสรรค์ ธนะพรพันธ์ุ (2543) “Inflation Targeting” คอลัมน์ “เศรษฐทรรศน์ เจ้าพระยา” ผู้จัดการรายเดือน ฉบับเดือนมีนาคม. เรือนธรรม (เรียบเรียง) คลายทุกข์ด้วยวิถีแห่งพุทธ สํานักพิมพ์ร่วมด้วย ช่วยกัน 2550. เรือนธรรม (เรียบเรียง) ทางสายกลาง วิถีพุทธสู่การดับทุกข์ วาระ 90 ปี ปัญญานันทภิกขุ สํานักพิมพ์ร่วมด้วยช่วยกัน พิมพ์ครั้งที่ 4 2550.

เศรษฐธรรม :: รวมบทปาฐกถากีรตยาจารย์แห่งเศรษฐศาสตร์ธรรมศาสตร์


223

ภาษาอังกฤษ Akerlof, G., W. Dickens, and G. Perry (1996) The Macroeconomics of Low Inflation. Brookings Papers on Economic Activity. Asher, M.A., Defina, R.H., and Thanawala, K. (1993) “The Misery Index: Only Part of the Story” Challenge, March-April. Barro, R. (1997). Determinants of Economic Growth, Cambridge, MIT Press. Bernanke, B.S. (2003). “A Perspective on Inflation Targeting.” Remarks by Governor Ben S. Bernanke at the Annual Washington Policy Conference of the National Association of Business Economists, Washington, D.C. March 25, 2003. Berg, C. and Lars, J. (1998). “Pioneering Price Level Targeting: The Swed ish Experience 1931-1937.” SSE/EFI Working Paper Series in Economics and Finance No. 290 December. Bhanthumnavin, K. (2002). “The Phillips Curve in Thailand.” Paper presented at the Gorman Workshop Series, Department of Economics, University of Oxford. (Online at www.ecomod.net/ conferences/ecomod2002/papers/bhantumnavin.pdf). Blanchflower, D.G. and Oswald, A.J. (2004). “Money, sex and happiness: An crupirical study.” Scanelinavian Journal of Economics, 106(3), 303-415. Borooah, Vani K. (2006). “How much happiness is there in the world? A Cross-country study.” Applied Economics Letters, 2006, 13, pp. 483-488. Bruni, L. and Porta, P.L. (editors, 2007). Handbook on the Economics of Happiness. Edward Elgar Publishing, Cheltenham, U.K., and Northampton, MA. USA. Bruno, M. and W. Easterly (1996). “Inflation and Growth: In Search of a Stable Relationship.” Federal Reserve Bank of St. Louis Review, 78(3), 139-46. ปราณี ทินกร


224

Clark, A.E. Oswald (1994). “Unhappiness and Unemployment.” Economic Journal, 104(424), May, 648-59. Di Tella, R., MacCulloch, R.J. and Oswald, A.J. (2001). “Peferences over Inflation and Unemployment: Evidence from Suverys of Happi ness.” American Economic Review, Vol. 91, No. 1, March, 335 341. Dolan, P., Peasgood, T and White, M. (2008). “Do we really know what makes us happy? A review of the economic literature on the factor associated with subjective well-being.” Journal of Economic Psychology, 29 (2008), 94-122. Dynan, K.E. and Ravina, E. (2007). “Increasing Income Inequality, External Habits, and Self-Reported Happiness.” American Economic Review, Vol. 97, Issue 2, May, 226-231. Easterlin, R.A. (1974). “Does Economic Growth Improve the Human Lot? Some Empirical Evidence.” in P.A. David and M.W. Reder (eds.), Nations and Households in Economic Growth: Essays in Honor of Moses Abramovitz, New York and London, Academic Press, 89-125. Easterlin, R.A. (1987). Birth and Fortune: The Impact of Numbers on Personal Welfare, second edition, University of Chicago Press, Chicago. Easterlin, R.A. (1995). “Will Raising the Incomes of All Increase the Happiness of All?” Journal of Economic Behavior and Organiza tion, 27, 35-47. Easterlin, R.A. (2001). “Income and Happiness: Towards a Unified Theory.” Economic Journal, Vol. 111, No. 473, July, 465-484. Easterlin, R.A. (editor, 2002). Happiness in Economics, Edward Elgar Publishing, Cheltenham, U.K., and Northampton, MA. USA.

เศรษฐธรรม :: รวมบทปาฐกถากีรตยาจารย์แห่งเศรษฐศาสตร์ธรรมศาสตร์


225

Easterlin, R.A. (2003). “Explaining Happiness.” Proceedings of the National Academy of Sciences of the United States of America, Vol. 100, No. 19, Sep., 11176-11183. Easterlin, R.A. (2006). “Life cycle happiness and its sources: Intersec tion of psychology, economics, and demograply.” Journal of Economic Psychology 27 (2006), 463-482. Fischer, S. (1993) “The Role of Macroeconomics Factors in Growth.” Journal of Monetary Economics 32, 485-512. Friedman, B.M. (2002). “The Use and Meaning of Words in Central Banking: Inflation Targeting, Credibility and Transparency.” National Bureau of Economic Research Working Paper 8972. Friedman, B.M. (2004). “Why the Federal Reserve Should Not Adopt Inflation Targeting” International Finance 7:1, 129-136. Frey, B.S. and Stutzer, A. (2000). “Happiness, Economy and Institution.” Economic Journal, Vol. 110, No. 466, Oct., 918-938. Frey, B.S. and Stutzer, A. (2002). “What Can Economists Learn from Happiness Research?” Journal of Economic Literature, Vol. 40, No. 2, June, 402-435. Frey, B.S. and Stutzer, A. (2002). Happiness and Economics, Princeton University Press, Princeton and Oxford. Froyen, R.T. Macroeconomics: Theories and Policies (eighth edition), Pearson Prentice Hall, New Jersey. Graham, C. (2005). “The Economics of Happiness: Insights on globalization from a novel approach.” World Economics, Vol. 6, No. 3, July September. Graham, C. and Pettinato, S. (2002). “Happiness and Hardshep; Opportu nity and Insecurity in New Market Economics.” The Brookings Institution, Washington, D.C.

ปราณี ทินกร


226

IMF (2006). “Inflation Targeting and the IMF.” Report prepared by Monetary and Financial Systems Department, Policy and Devel opment Review Department and Research Department. Krongkaew, M., Tinakorn, P and Supachalasai, S. (1992) “Rural Poverty in Thailand: Policy Issues and Responses.” Asian Development Review, Vol. 10, No. 1, 199-225. Lane, R.E. (2000). The Loss of Happiness in Market Democracies, Yale University Press, New Haven and London. Malinov, M.J. and Sommers, P.M. (1997). “A New Line on the Phillips Curve.” Social Science Quarterly 78(3): 740-746. Morawetz, D., Atia, E., Bin-Nun, G., Felous, L., Gariplerden, Y., Harris, E., Soustiel, S., Tombros, G. and Zarfaty, Y. (1977), “Income Distribution and Self-Rated Happiness: Some Empirical Evidence.” Economic Journal, Vol. 87, No. 347, Sep., 511-522. Nordhaus, W. (1989). “Alternative Approach to the Political Business Cycle.” Brookings Papers on Economic Activity, Vol. 1989, No. 2. Ovaska, T., and Takashima, R. (2006). “Economic Policy and the Level of Self-Perceived Well-Being: An International Comparison.” Journal of Socio-Economics 35, 308-325. Peturson, T.G. (2004). “Formulation of Inflation Targeting Around the World.” Monetary Bulletin 2004/1, 57-84. Phillips, A.W. (1958). “The Relation between Unemployment and the Rate of Change of Money Wages in the United Kingdom, 1861 1957.” Economica, November, 285-299. Sabater, E.R., Krongkaew, M. and Tinakorn, P. (1985). “Thailand Poverty Review.” Research Report Prepared for the World Bank’s Country Program Department, East Asia and Pacific Regional Office, Washington, D.C. เศรษฐธรรม :: รวมบทปาฐกถากีรตยาจารย์แห่งเศรษฐศาสตร์ธรรมศาสตร์


227

Stiglitz, Stiglitz,

J.E. (1998a). “Central Banking in a Democratic Society.” De Economist 146, No. 2, 199-226. J.E. (1998b). “More Instruments and Broader Goals: Moving Toward the Post-Washington Consensus.” UNU World Institute for Development Economics Research, WIDER Annual Lectures 2.

Sussangkarn, C., Tinakorn, P. and Chongpeerapien (1988). “The Tax Structure in Thailand and Its Distributional Implication.” TDRI Research report presented at the 1988 TDRI Year-End Confer ence. Tang, C.F. (2007). “Is the Phillips Curve Stable for Malaysia? New Empirical Evidence.” Malaysian Journal of Economic Studies, December. Temin, , P. (1989). Lessons from the Great Depression (The Lionel Robbins Lectures for 1989). The MIT Press, Cambridge, MA, and London. Tinakorn, P. (1995). “Industrialization and Welfare: How Poverty and Income Distribution are Affected.” In Medhi Krongkaew (ed.) Thailand’s Industrialization and Its Consequence, St. Martin Press, 1995. Tinakorn, P. (2006). “Indicators and Analysis of Vulnerability to Currency Crisis.” Research Report under the Project EADN Regional Project on Indicators and Analysis of Vulnerabilities to Economic Crises, publishied in Klein, L.R. and S. Tayyeb (eds.) Recent Financial Crises: Analysis, Challenges and Implications, Edward Elgar Publishing Inc., 69-117.

ปราณี ทินกร


228

ภาคผนวก (ก) ผลประมาณการความสัมพันธ์ระหว่างอัตราเงินเฟ้อและอัตราการว่างงาน

เศรษฐธรรม :: รวมบทปาฐกถากีรตยาจารย์แห่งเศรษฐศาสตร์ธรรมศาสตร์


229

ปราณี ทินกร


230

เศรษฐธรรม :: รวมบทปาฐกถากีรตยาจารย์แห่งเศรษฐศาสตร์ธรรมศาสตร์


231

ภาคผนวก (ข)

ปราณี ทินกร


232

เศรษฐธรรม :: รวมบทปาฐกถากีรตยาจารย์แห่งเศรษฐศาสตร์ธรรมศาสตร์


233

ปราณี ทินกร


234

ภาคผนวก (ค) ข้อมูลจากรายงานแนวโน้มเงินเฟ้อของธนาคารแห่งประเทศไทย 1. รายงานแนวโน้มเงินเฟ้อ ตุลาคม 2543

รายชื่อคณะกรรมการนโยบายการเงิน ม.ร.ว.จัตุมงคล โสณกุล ประธาน นายปกรณ์ มาลากุล ณ อยุธยา รองประธาน นายกิตติ พัฒนพงศ์พิบูล กรรมการ นางธัญญา ศิริเวทิน กรรมการ นายฉลองภพ สุสังกร์กาญจน์ กรรมการ นายปิยสวัสดิ์ อัมระนันทน์ กรรมการ นายเทียนฉาย กีระนันทน์ กรรมการ นายเชษฐทวี เจริญพิทักษ์ กรรมการ นายธีระชัย ภูวนาถนรานุบาล กรรมการและเลขานุการ

กลยุทธ์การดําเนินนโยบายการเงินของประเทศไทย กระบวนการกําหนดนโยบายการเงิน * คณะกรรมการนโยบายการเงินเป็นผู้รับผิดชอบในการกําหนดทิศทางนโยบาย การเงิน เพื่อรักษาไว้ซึ่งเสถียรภาพของระดับราคา เพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน เครื่องมือในการดําเนินนโยบายการเงิน * คณะกรรมการฯ กําหนดให้ใช้อัตราดอกเบี้ยตลาดซื้อคืนพันธบัตรระยะ 14 วัน เป็นอัตราดอกเบี้ยนโยบาย และเป็นเครื่องมือในการส่งสัญญาณทางการเงิน เป้าหมาย * คณะกรรมการฯ กําหนดเป้าหมายอัตราเงินเฟ้อพื้นฐาน (หักราคาสินค้าหมวด อาหารสดและพลังงาน) เป็นเป้าหมายในการดําเนินนโยบายการเงิน โดยกําหนดเป้าหมาย อัตราเงินเฟ้อไว้ที่ร้อยละ 0-3.5 (เฉลี่ยรายไตรมาส) และคณะกรรมการฯ จะต้องชี้แจงเหตุผล แก่สาธารณชน หากอัตราเงินเฟ้อออกจากเป้าหมายที่กําหนดไว้ เครื่องมือในการพยากรณ์ * ธนาคารแห่งประเทศไทยได้พัฒนาแบบจําลองเศรษฐกิจมหภาค เพื่อเป็น เครื่องมือช่วยในการกําหนดนโยบาย กล่าวคือ ใช้ในการพยากรณ์ภาวะเศรษฐกิจและอัตรา เงินเฟ้อ พร้อมทั้งศึกษาผลกระทบของปัจจัยต่างๆ ต่อเศรษฐกิจ รวมทั้งเสนอแนะนโยบาย การเงินที่เหมาะสม เพื่อประกอบกระบวนการตัดสินนโยบายการเงินของคณะกรรมการฯ เศรษฐธรรม :: รวมบทปาฐกถากีรตยาจารย์แห่งเศรษฐศาสตร์ธรรมศาสตร์


235

2. รายงานแนวโน้มเงินเฟ้อ ตุลาคม 2544 รายชื่อคณะกรรมการนโยบายการเงิน ม.ร.ว.ปรีดิยาธร เทวกุล ประธาน นายปกรณ์ มาลากุล ณ อยุธยา รองประธาน นางธัญญา ศิริเวทิน กรรมการ นายธีระชัย ภูวนาถนรานุบาล กรรมการ นายเชษฐทวี เจริญพิทักษ์ กรรมการ นายบัณฑิต นิจถาวร กรรมการ นางทัศนา รัชตโพธิ์ กรรมการ นางอัจนา ไวความดี กรรมการและเลขานุการ ที่ปรึกษาคณะกรรมการนโยบายการเงิน นายชัยวัฒน์ วิบูลย์สวัสดิ์ นายอรัญ ธรรมโน กลยุทธ์การดําเนินนโยบายการเงินของประเทศไทย กระบวนการกําหนดนโยบายการเงิน * คณะกรรมการนโยบายการเงินทําหน้าที่กําหนดนโยบายการเงิน เพื่อสนับสนุน การเจริญเติบโตของเศรษฐกิจที่ยั่งยืนและความมีเสถียรภาพภายในประเทศทางด้านราคา (Internal Stability) ทั้งนี้คณะกรรมการฯ จะเข้าไปดูแลปัจจัยสําคัญในเรื่องการรักษา เสถียรภาพภายนอก (External Stability) พร้อมกันด้วย เครื่องมือในการดําเนินนโยบายการเงิน * คณะกรรมการฯ กําหนดให้ใช้อัตราดอกเบี้ยตลาดซื้อคืนพันธบัตรระยะ 14 วัน เป็นอัตราดอกเบี้ยนโยบาย เพื่อส่งสัญญาณทิศทางนโยบายการเงิน เป้าหมาย * คณะกรรมการฯ กําหนดเป้าหมายอัตราเงินเฟ้อพื้นฐาน (หักราคาสินค้าหมวด อาหารสดและพลังงาน) เป็นเป้าหมายในการดําเนินนโยบายการเงิน โดยกําหนดเป้าหมาย อัตราเงินเฟ้อไว้ที่ร้อยละ 0-3.5 (เฉลี่ยรายไตรมาส) สําหรับช่วงปี 2543-2545 และคณะ กรรมการฯ จะต้ อ งชี้ แ จงเหตุ ผ ลแก่ ส าธารณชน หากอั ต ราเงิ น เฟ้ อ ออกจากเป้ า หมาย ที่กําหนดไว้ เครื่องมือในการพยากรณ์ * ธนาคารแห่งประเทศไทยได้พัฒนาแบบจําลองเศรษฐกิจมหภาค เพื่อเป็น เครื่องมือช่วยในการกําหนดนโยบาย กล่าวคือ ใช้ในการพยากรณ์ภาวะเศรษฐกิจและอัตรา เงินเฟ้อ พร้อมทั้งศึกษาผลกระทบของปัจจัยต่างๆ ต่อเศรษฐกิจ รวมทั้งเสนอแนะนโยบาย การเงินที่เหมาะสม เพื่อประกอบกระบวนการตัดสินนโยบายการเงินของคณะกรรมการฯ ปราณี ทินกร


236

3. รายงานแนวโน้มเงินเฟ้อ กรกฎาคม 2547

รายชื่อคณะกรรมการนโยบายการเงิน ม.ร.ว.ปรีดิยาธร เทวกุล ประธาน นายบัณฑิต นิจถาวร รองประธาน นางธาริษา วัฒนเกส กรรมการ นายอรัญ ธรรมโน กรรมการ นายชัยวัฒน์ วิบูลย์สวัสดิ์ กรรมการ นายเกริกไกร จีระแพทย์ กรรมการ นายจักรมณฑ์ ผาสุกวณิช กรรมการ

กลยุทธ์การดําเนินนโยบายการเงินของประเทศไทย กระบวนการกําหนดนโยบายการเงิน * คณะกรรมการนโยบายการเงินทําหน้าที่กําหนดนโยบายการเงิน เพื่อสนับสนุน การเจริญเติบโตของเศรษฐกิจที่ยั่งยืนและความมีเสถียรภาพภายในประเทศทางด้านราคา (Internal Stability) ทั้งนี้คณะกรรมการฯ จะเข้าไปดูแลเสถียรภาพภายนอก (External Stability) ตลอดจนความไม่สมดุลที่อาจส่อเค้าปัญหาทางการเงิน (Financial Imbalances) ในภาคเศรษฐกิจด้วย เครื่องมือในการดําเนินนโยบายการเงิน * คณะกรรมการฯ กําหนดให้ใช้อัตราดอกเบี้ยตลาดซื้อคืนพันธบัตรระยะ 14 วัน เป็นอัตราดอกเบี้ยนโยบาย เพื่อส่งสัญญาณทิศทางนโยบายการเงิน เป้าหมาย * คณะกรรมการฯ กําหนดเป้าหมายอัตราเงินเฟ้อพื้นฐาน (หักราคาสินค้าหมวด อาหารสดและพลังงาน) เป็นเป้าหมายในการดําเนินนโยบายการเงิน โดยกําหนดเป้าหมาย อัตราเงินเฟ้อไว้ที่ร้อยละ 0-3.5 (เฉลี่ยรายไตรมาส) และคณะกรรมการฯ จะต้องชี้แจงเหตุผล แก่สาธารณชน หากอัตราเงินเฟ้อออกจากเป้าหมายที่กําหนดไว้ เครื่องมือในการพยากรณ์ * ธนาคารแห่งประเทศไทยได้พัฒนาแบบจําลองเศรษฐกิจมหภาค เพื่อเป็น เครื่องมือช่วยในการกําหนดนโยบาย กล่าวคือ ใช้ในการพยากรณ์ภาวะเศรษฐกิจและอัตรา เงินเฟ้อ พร้อมทั้งศึกษาผลกระทบของปัจจัยต่างๆ ต่อเศรษฐกิจ รวมทั้งเสนอแนะนโยบาย การเงินที่เหมาะสม เพื่อประกอบกระบวนการตัดสินนโยบายการเงินของคณะกรรมการฯ

เศรษฐธรรม :: รวมบทปาฐกถากีรตยาจารย์แห่งเศรษฐศาสตร์ธรรมศาสตร์


237

4. รายงานแนวโน้มเงินเฟ้อ มกราคม 2550

รายชื่อคณะกรรมการนโยบายการเงิน นางธาริษา วัฒนเกส ประธาน นางอัจนา ไวความดี รองประธาน นายบัณฑิต นิจถาวร กรรมการ นายอรัญ ธรรมโน กรรมการ นายจักรมณฑ์ ผาสุกวณิช กรรมการ นายอําพน กิตติอําพน กรรมการ นายการุณ กิตติสถาพร กรรมการ

กลยุทธ์การดําเนินนโยบายการเงินของประเทศไทย กระบวนการกําหนดนโยบายการเงิน * คณะกรรมการนโยบายการเงิ น ทํ า หน้ า ที่ กํ า หนดนโยบายการเงิ น เพื่ อ สนับสนุนการเจริญเติบโตของเศรษฐกิจที่ยั่งยืนและความมีเสถียรภาพภายในประเทศ ทางด้านราคา (Internal Stability) ทั้งนี้คณะกรรมการฯ จะเข้าไปดูแลเสถียรภาพภายนอก (External Stability) ตลอดจนความไม่สมดุลที่อาจส่อเค้าปัญหาทางการเงิน (Financial Imbalances) ในภาคเศรษฐกิจด้วย เครื่องมือในการดําเนินนโยบายการเงิน * คณะกรรมการฯ กําหนดให้ใช้อัตราดอกเบี้ยตลาดซื้อคืนพันธบัตรระยะ 1 วัน เป็นอัตราดอกเบี้ยนโยบาย เพื่อส่งสัญญาณทิศทางนโยบายการเงิน เป้าหมาย * คณะกรรมการฯ กําหนดเป้าหมายอัตราเงินเฟ้อพื้นฐาน (หักราคาสินค้าหมวด อาหารสดและพลังงาน) เป็นเป้าหมายในการดําเนินนโยบายการเงิน โดยกําหนดเป้าหมาย อัตราเงินเฟ้อไว้ที่ร้อยละ 0-3.5 (เฉลี่ยรายไตรมาส) และคณะกรรมการฯ จะต้องชี้แจงเหตุผล แก่สาธารณชน หากอัตราเงินเฟ้อออกจากเป้าหมายที่กําหนดไว้ เครื่องมือในการพยากรณ์ * ธนาคารแห่งประเทศไทยได้พัฒนาแบบจําลองเศรษฐกิจมหภาค เพื่อเป็น เครื่องมือช่วยในการกําหนดนโยบาย กล่าวคือ ใช้ในการพยากรณ์ภาวะเศรษฐกิจและอัตรา เงินเฟ้อ พร้อมทั้งศึกษาผลกระทบของปัจจัยต่างๆ ต่อเศรษฐกิจ รวมทั้งเสนอแนะนโยบาย การเงินที่เหมาะสม เพื่อประกอบกระบวนการตัดสินนโยบายการเงินของคณะกรรมการฯ

ปราณี ทินกร


237

4. รายงานแนวโน้มเงินเฟ้อ มกราคม 2550 รายชื่อคณะกรรมการนโยบายการเงิน นางธาริษา วัฒนเกส ประธาน นางอัจนา ไวความดี รองประธาน นายบัณฑิต นิจถาวร กรรมการ นายอรัญ ธรรมโน กรรมการ นายจักรมณฑ์ ผาสุกวณิช กรรมการ นายอําพน กิตติอําพน กรรมการ นายการุณ กิตติสถาพร กรรมการ

กลยุทธ์การดําเนินนโยบายการเงินของประเทศไทย กระบวนการกําหนดนโยบายการเงิน * คณะกรรมการนโยบายการเงิ น ทํ า หน้ า ที่ กํ า หนดนโยบายการเงิ น เพื่ อ สนับสนุนการเจริญเติบโตของเศรษฐกิจที่ยั่งยืนและความมีเสถียรภาพภายในประเทศ ทางด้านราคา (Internal Stability) ทั้งนี้คณะกรรมการฯ จะเข้าไปดูแลเสถียรภาพภายนอก (External Stability) ตลอดจนความไม่สมดุลที่อาจส่อเค้าปัญหาทางการเงิน (Financial Imbalances) ในภาคเศรษฐกิจด้วย เครื่องมือในการดําเนินนโยบายการเงิน * คณะกรรมการฯ กําหนดให้ใช้อัตราดอกเบี้ยตลาดซื้อคืนพันธบัตรระยะ 1 วัน เป็นอัตราดอกเบี้ยนโยบาย เพื่อส่งสัญญาณทิศทางนโยบายการเงิน เป้าหมาย * คณะกรรมการฯ กําหนดเป้าหมายอัตราเงินเฟ้อพื้นฐาน (หักราคาสินค้าหมวด อาหารสดและพลังงาน) เป็นเป้าหมายในการดําเนินนโยบายการเงิน โดยกําหนดเป้าหมาย อัตราเงินเฟ้อไว้ที่ร้อยละ 0-3.5 (เฉลี่ยรายไตรมาส) และคณะกรรมการฯ จะต้องชี้แจงเหตุผล แก่สาธารณชน หากอัตราเงินเฟ้อออกจากเป้าหมายที่กําหนดไว้ เครื่องมือในการพยากรณ์ * ธนาคารแห่งประเทศไทยได้พัฒนาแบบจําลองเศรษฐกิจมหภาค เพื่อเป็น เครื่องมือช่วยในการกําหนดนโยบาย กล่าวคือ ใช้ในการพยากรณ์ภาวะเศรษฐกิจและอัตรา เงินเฟ้อ พร้อมทั้งศึกษาผลกระทบของปัจจัยต่างๆ ต่อเศรษฐกิจ รวมทั้งเสนอแนะนโยบาย การเงินที่เหมาะสม เพื่อประกอบกระบวนการตัดสินนโยบายการเงินของคณะกรรมการฯ

ภาณุพงศ์ปราณี นิธิประภา ทินกร


3132333 238

5

นโยบายการคลัง เพื่อความมั่นคง

ปาฐกถาเนือ่ งในโอกาสรับตำ�แหน่งกีรตยาจารย์แห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ สาขาสังคมศาสตร์ ประจำ�ปี 2551 เมื่อวันที่ 27 มิถุนายน 2552 ณ ห้องประชุมสัญญา ธรรมศักดิ์ มหาวิทยาลัย ธรรมศาสตร์ ท่าพระจันทร์ เศรษฐธรรม :: รวมบทปาฐกถากีรตยาจารย์แห่งเศรษฐศาสตร์ธรรมศาสตร์


239

รองศาสตราจารย์ ดร.ภาณุพงศ์ นิธิประภา กีรตยาจารย์แห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ สาขาสังคมศาสตร์ ประจำ�ปี 2551

ภาณุพงศ์ นิธิประภา


240

กราบเรียนท่านรองอธิการบดี ท่านคณบดี และท่านคณาจารย์ที่เคย ประสิทธิ์ประสาทความรู้ให้ ที่พิธีกรบอกว่าผมอยู่ธรรมศาสตร์มา 30 ปี แต่ความจริงยาวกว่านั้น เพราะผมเรียนหนังสือที่ธรรมศาสตร์เหมือน กัน เพราะฉะนั้นต้องบวกกับระยะเวลาที่เรียนตั้งแต่ปี 2514 ตอนนั้น ท่านอาจารย์ชูศรีก็เป็นอาจารย์ที่ปรึกษาของผม ต้องขอขอบพระคุณ อาจารย์ทั้งหลายที่นั่งอยู่ที่นี่ ที่ได้ร่วมถ่ายทอดความรู้ให้กับผมด้วย และ ต้องขอขอบคุณท่านคณบดีที่ส่งชื่อผมให้กับทางมหาวิทยาลัยได้พิจารณา วันนีห้ วั ข้อคือ นโยบายการคลัง โดยผมได้ตงั้ ไว้เมือ่ สามเดือนทีแ่ ล้ว ด้วยเหตุผลทีว่ า่ ผมไม่มคี วามรูเ้ ท่าไรทางด้านเศรษฐศาสตร์การคลัง ก็เลย อยากจะรูบ้ า้ งว่า มีอะไรทีล่ กึ ซึง้ อยู่ ก็ตอ้ งขอขอบคุณทางมหาวิทยาลัยทีใ่ ห้ โอกาสผมได้ศึกษาค้นคว้าเกี่ยวกับเรื่องนี้ นโยบายการคลังกับความมัน่ คง เราก็ตอ้ งถามกับตัวเองว่า ความ มั่นคงที่ว่าคือความมั่นคงของใคร ของเศรษฐกิจไทย หรือว่าของประเทศ ชาติ * ขอขอบคุณ คุณพนิต วัฒนกูล สำ�หรับการเรียบเรียงและจัดทำ�ต้นฉบับ เศรษฐธรรม :: รวมบทปาฐกถากีรตยาจารย์แห่งเศรษฐศาสตร์ธรรมศาสตร์


241

ผมตัง้ คำ�ถามสามข้อ ข้อแรก นโยบายการกระตุน้ เศรษฐกิจทีใ่ ช้อยู่ หรือกำ�ลังจะใช้ สามารถทำ�ให้เกิดการขยายตัว และเกิดความยั่งยืนในการ ฟืน้ ฟูทางเศรษฐกิจได้มากน้อยแค่ไหน เป็นการฟืน้ ตัวแบบชัว่ ครัง้ ชัว่ คราว ชั่วครู่ชั่วยาม หรือว่าเป็นอยู่โดยถาวร คำ�ถามที่สองที่นักเรียนเศรษฐศาสตร์ควรจะถามคือ ถ้าหากการ ใช้นโยบายการคลังที่กระตุ้นเศรษฐกิจได้ผลจริง จะมีทางอื่นหรือเปล่า ที่มีประสิทธิภาพมากกว่านั้น เรื่องนี้ก็เป็นเรื่องที่คนที่ได้รับการอบรมทาง เศรษฐศาสตร์มักจะถามว่า นโยบายเศรษฐกิจของเรามีประสิทธิภาพมาก น้อยแค่ไหน คำ�ถามที่สามคือ การกระตุ้นเศรษฐกิจโดยการใช้งบประมาณ ที่ผ่านรัฐสภาจะมีผลกระทบอะไรบ้าง

ภาณุพงศ์ นิธิประภา


242

เหตุใดจึงจำ�เป็นต้องใช้นโยบายการคลังกระตุ้นเศรษฐกิจ

ลองมาดูวา่ มีสาเหตุอะไรทีท่ ำ�ให้รฐั บาลต้องกระตุน้ เศรษฐกิจโดยใช้นโยบาย การคลัง การกระตุน้ เศรษฐกิจคงจะทำ�ได้ลำ�บาก ถ้าหากใช้นโยบายการเงิน เพราะว่าดอกเบีย้ ตํา่ อยูแ่ ล้ว ทางด้านนักลงทุนก็คงไม่สามารถมองเห็นได้วา่ ในอนาคตจะให้ผลตอบแทนคุ้มค่ากับการลงทุนหรือไม่ ในแง่ของผู้บริโภค ก็เป็นเรื่องลำ�บาก เมื่อไม่แน่ใจในอนาคต เราก็พยายามที่จะประหยัด เก็บ ออม ไม่ใช้จ่ายมาก เพราะในอนาคตไม่แน่ว่าจะเกิดอะไรขึ้น

เศรษฐธรรม :: รวมบทปาฐกถากีรตยาจารย์แห่งเศรษฐศาสตร์ธรรมศาสตร์


243

รูปที่ 1 การหดตัวของการส่งออก

ที่มา: ธนาคารแห่งประเทศไทย

ตัวแปรสำ�คัญที่กระตุ้นเศรษฐกิจก็คือการส่งออก แต่การส่งออก ลดลงอย่างรุนแรงในปี 2009 (รูปที่ 1) ถ้าย้อนไปดูข้อมูลในอดีตจะเห็น ว่าการส่งออกเพิม่ ขึน้ เรือ่ ยๆ และมีอตั ราลดลงอยูบ่ างช่วง ช่วงทีเ่ กิดวิกฤต เศรษฐกิจเป็นช่วงที่ค่าเงินบาทแข็งมากเกินไป ช่วงนั้นการส่งออกก็ลดลง แต่ตอนนั้นเป็นช่วงวิกฤต ซึ่งพอมีการปรับอัตราแลกเปลี่ยน การส่งออก ก็ดีขึ้น เพราะประเทศอื่นๆ ที่นำ�เข้าสินค้าจากไทยไม่ได้ประสบภาวะ เศรษฐกิจตกตํ่า การส่งออกก็ช่วยเราได้ จะเห็นว่าการส่งออกตกลงอย่าง ต่อเนื่องตลอดช่วง 6-7 เดือนที่ผ่านมา โดยสรุปก็คือ ไม่มีทางเลือกอื่น แล้ว จึงต้องใช้นโยบายการคลังในการกระตุ้นเศรษฐกิจ เพราะเครื่องยนต์ ที่เคยกระตุ้นการเจริญเติบโตนั้นดับลงไปหมดแล้ว การบริโภคและการ ลงทุนไม่สามารถที่จะทำ�งานได้ สุดท้ายการส่งออกก็ไม่สามารถช่วยชะลอ ความตกตํ่าทางเศรษฐกิจได้ ภาณุพงศ์ นิธิประภา


244

การผลิตสินค้าอุตสาหกรรมในช่วงวิกฤตเศรษฐกิจชะลอตัวอยู่ พักหนึ่ง หลังจากนั้นก็เริ่มฟื้นตัว จากนั้นก็ผันผวนลงมาอีกในช่วงปีที่ผ่าน มา นี่ก็เป็นเรื่องหนึ่งที่เราก็ตั้งคำ�ถามว่า แล้วเมื่อใดการผลิตจะฟื้นคืนได้ จำ�นวนผู้ว่างงานจะได้ลดลง รูปที่ 2 ดัชนีความเชื่อมั่นภาคธุรกิจ

ที่มา: ธนาคารแห่งประเทศไทย

ธนาคารแห่งประเทศไทยได้สำ�รวจความเชื่อมั่นทางเศรษฐกิจ ของภาคธุรกิจ ถ้าหากดัชนีสูงเกินกว่า 50 (รูปที่ 2) แสดงว่าธุรกิจมีความ มั่นใจ ถ้าตํ่ากว่า 50 แสดงว่าไม่ค่อยแน่ใจเท่าไร ไม่ว่าจะเป็นการลงทุน หรือการจ้างงาน ทุกรายการตํ่าลงหมด ข้อสังเกตก็คือ เมื่อเร็วๆ นี้กลับมี คำ�สั่งซื้อเพิ่มขึ้น ก็ใจชื้นขึ้นมาบ้าง เราคงไม่น่ามีปัญหาที่หนักกว่าเก่าแล้ว ประเด็นก็คือ การฟื้นขึ้นมามีความยั่งยืนมากน้อยเพียงใด เศรษฐธรรม :: รวมบทปาฐกถากีรตยาจารย์แห่งเศรษฐศาสตร์ธรรมศาสตร์


245

ความสามารถของนโยบายการคลังในการลดความผันผวนของ วัฏจักรเศรษฐกิจ

สิง่ ทีผ่ มจะพูดในวันนีก้ ค็ อื ความสามารถของนโยบายการคลังทีจ่ ะใช้ในการ ลดความผันผวนของวัฏจักรเศรษฐกิจ โดยจะเน้นพูดถึงเรื่องความสำ�คัญ ของความเชื่อมั่น เพราะคนขาดความเชื่อมั่นในช่วงเศรษฐกิจตกตํ่าครั้ง ใหญ่เมื่อ 80 ปีก่อน ทำ�ให้นึกถึง จอห์น เมย์นาร์ด เคนส์ (John Maynard Keynes) ขึ้นมาอีกครั้ง หลายๆ คนก็บอกว่า เคนส์เขียนหนังสือเสร็จแล้ว ก็สิ้นชีพไปนมนานแล้ว แนวคิดก็คงตายตามไปด้วย แต่สุดท้ายก็ต้องกลับ ไปเปิดตำ�ราเก่า ผมก็กลับไปเปิดดูเหมือนกัน ในหนังสือ General Theory of Employment, Interest and Money เคนส์พูดถึงเรื่องความมั่นใจของ นักลงทุน เขาบอกว่ามันเหมือนกับเป็นวิญญาณชนิดหนึ่งของนักลงทุน (Animal Spirits) ที่เขาเรียกว่าสัตว์ป่า เพราะตื่นตระหนกง่าย ถ้าหาก เศรษฐกิจชะลอตัวลงเล็กน้อย แต่นักลงทุนสูญเสียความเชื่อมั่น ก็จะทำ�ให้ การชะลอถดถอยเล็กน้อยกลับกลายเป็นการทำ�ให้เศรษฐกิจตกตํ่าอย่าง รุนแรงได้ ผมจะพูดถึงเรื่องการใช้จ่ายของรัฐบาล โดยเฉพาะอย่างยิ่งการ ใช้จ่ายด้านการป้องกันประเทศ ที่มีลักษณะเป็นวัฏจักร แล้วจะพูดถึงเรื่อง ภาระหนี้สาธารณะ และสุดท้ายจะพูดถึงระเบียบวินัยทางการคลัง ภาณุพงศ์ นิธิประภา


246

รูปที่ 3 การเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจกับดุลงบประมาณ

ที่มา: ธนาคารแห่งประเทศไทย

การเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจมีความสัมพันธ์กับภาวะทางการ คลังของรัฐบาล (รูปที่ 3) ในช่วงที่มีการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจเกินกว่า สิบเปอร์เซ็นต์ สิ่งที่ตามมาก็คือ งบประมาณของรัฐบาลก็จะมีภาวะเกิน ดุล สัดส่วนของการเกินดุลต่อจีดีพีก็สูงขึ้นตามไปด้วย สองตัวนี้จะมีความ สัมพันธ์ซึ่งกันและกัน ในช่วงเศรษฐกิจตกตํ่า รายรับรัฐบาลจะลดลงมาก โดยรายจ่ายยังคงเท่าเดิม ทำ�ให้เกิดภาวะขาดดุล ซึ่งเป็นเรื่องที่ดีถ้าหาก เราจะใช้นโยบายการคลังในการรักษาเสถียรภาพทางเศรษฐกิจ งานศึกษาหลายๆ ชิ้นมองว่า การที่เศรษฐกิจจะเจริญเติบโต ได้อย่างต่อเนื่องนั้นขึ้นกับปัจจัยหลายๆ อย่าง ไม่ได้ขึ้นกับปัจจัยทาง เศรษฐกิจเพียงอย่างเดียว แต่ยังขึ้นกับปัจจัยทางการเมือง ซึ่งเกี่ยวพัน กับการกระจายรายได้ ถ้าหากว่ามีความเป็นธรรม การเจริญเติบโตก็จะ เป็นไปได้อย่างต่อเนื่อง ปัจจัยกำ�หนดการเจริญเติบโตยังรวมถึงสถาบัน เศรษฐธรรม :: รวมบทปาฐกถากีรตยาจารย์แห่งเศรษฐศาสตร์ธรรมศาสตร์


247

ทางด้านประชาธิปไตยและการเปิดภาคการค้าการลงทุนจากต่างประเทศ อันนี้ก็เป็นประจักษ์พยานในประเทศจีน อินเดีย และพม่า เพราะทำ�ให้เกิด ความแตกต่าง นอกจากนี้การที่จะเติบโตได้อย่างมีเสถียรภาพต่อเนื่อง ยังขึ้นอยู่กับว่าเราผลิตและส่งออกอะไร แล้วสิ่งที่เราส่งออกนี้อาจจะต้อง เป็นสินค้าที่มีความสลับซับซ้อนพอสมควร ถ้าเราเอาแต่ส่งออกข้าวโดยที่ ไม่ได้ทำ�ให้สินค้ามีความซับซ้อนขึ้น โอกาสที่จะเจริญเติบโตอย่างต่อเนื่อง ก็จะมีน้อยลง ถ้าเจริญเติบโตได้โดยไม่ติดขัด รายได้ก็จะเพิ่มขึ้นมาก แต่ เราต้องหลีกเลี่ยงการชะลอตัวของเศรษฐกิจ แน่นอนว่าถ้ามีการลดค่าเงิน อย่างรุนแรง สิ่งนี้ก็จะทำ�ให้เกิดการสะดุด ก็กลับมาสู่คำ�ถามที่ว่า ทำ�ไม บ้านเมืองเราถึงได้ยุ่งเหยิงนัก ปัญหาเกิดจากอะไร แน่นอน ความไม่เท่าเทียมกันทางด้านรายได้ก็เป็นปัจจัยหนึ่ง นักเศรษฐศาสตร์ชื่อ Sachs (1989) เคยพูดไว้นานแล้วว่า ความขัดแย้ง ในสังคมนำ�ไปสู่นโยบายประชานิยม ซึ่งเราจะเห็นได้จากประเทศละติน อเมริกาหรือแอฟริกา และถ้าสถาบันในการจัดการเศรษฐกิจ สังคม และ การเมือง มีความอ่อนแอ ความสามารถในการจัดการผลกระทบจาก ภายนอกที่เกิดขึ้นก็จะมีน้อยลง (Rodrik, 1999) ถ้าเรามัวแต่มีปัญหาใน บ้าน ไม่สามารถที่จะแก้ไขอะไรได้ ก็จะมีพลังเหลือน้อยมากที่จะไปสู้กับ การเปลี่ยนแปลงที่เกิดจากนอกประเทศ

ภาณุพงศ์ นิธิประภา


248

รูปที่ 4 การผันผวนของรายจ่ายและรายรับของรัฐบาล

ที่มา: ธนาคารแห่งประเทศไทย

ถ้าลองมาดูการผันผวนทางด้านรายได้ (CYCLER) และรายจ่าย ของรัฐบาล (CYCLEG) วัดจากค่าเบี่ยงเบนไปจากแนวโน้มระยะยาว จะ เห็นได้วา่ มีการเปลีย่ นแปลงทีเ่ พิม่ ขึน้ มากในช่วงหลังๆ โดยเฉพาะในช่วงปี 2004-2006 (รูปที่ 4) หากขจัดตัวแปรปรวนทั้งหลายออกไปเพื่อพิจารณา แนวโน้มระยะยาว (รูปที่ 5) ผลที่เกิดขึ้นก็ชี้ให้เห็นว่า ถ้าหากรัฐบาลจะ รักษาฐานะทางด้านการคลัง เมื่อรายรับมีค่าลดลง [D(GTREND)] ราย จ่ายของรัฐบาล [D(RTREND)] ก็จะมีค่าลดลงตามไปด้วย ถ้ารายรับเพิ่ม สูงขึ้น เศรษฐกิจฟื้นตัว รายจ่ายก็จะสูงขึ้นตามไปด้วย สิ่งเหล่านี้เกิดการ เปลีย่ นแปลงมาตัง้ แต่ชว่ งปี 2005-2007 เมือ่ รายรับมีแนวโน้มลดลง แทนที่ รายจ่ายจะลดลงตาม รายจ่ายกลับมีค่ามากขึ้น เพราะฉะนั้นจะเห็นว่าช่อง ว่างจะถ่างขึ้น

เศรษฐธรรม :: รวมบทปาฐกถากีรตยาจารย์แห่งเศรษฐศาสตร์ธรรมศาสตร์


249

รูปที่ 5 การเปลี่ยนแปลงของแนวโน้มตัวแปรทางการคลังในระยะยาว

ที่มา: คำ�นวณจากข้อมูลของธนาคารแห่งประเทศไทย

ส่วนต่างนี้ก็นำ�มาสู่ประเด็นคำ�ถามที่ว่า เป็นเรื่องที่ดีหรือไม่ใน แง่ของการรักษาเสถียรภาพ เรื่องนี้เป็นเรื่องปกติธรรมดาของการรักษา เสถียรภาพอย่างอัตโนมัติ ในช่วงเศรษฐกิจตกตํ่า บริษัทมีกำ�ไรน้อย เก็บ ภาษีได้น้อย คนมีรายได้ตํ่า ตกงาน ภาษีเงินได้ก็เก็บได้ไม่ตามเป้า นี่เป็น เรื่องปกติธรรมดา เราปฏิเสธไม่ได้ว่า การที่รัฐบาลมีงบประมาณขาดดุล ก็เป็นสัญลักษณ์อย่างหนึ่งของการไร้เสถียรภาพทางด้านเศรษฐกิจ นั่น หมายความว่า การเจริญเติบโตระยะยาวจะถูกกระทบไปด้วย ยิ่งขาดดุล มากเท่าไร หนี้สาธารณะจะเพิ่มมากขึ้น สิ่งที่สำ�คัญก็คือ ในอนาคตอีก ไม่ช้าไม่นาน เราจะต้องยอมรับความจริงที่ว่า อัตราภาษีจะต้องสูงขึ้น ถ้าหากเรากู้ยืมมากขึ้น งบประมาณก็ต้องเทให้กับการชำ�ระหนี้ ดังนั้น รายจ่ายเพื่อการลงทุนของภาครัฐก็จะลดลงไปด้วย ในช่วงที่เศรษฐกิจ เจริญเติบโตแบบค่อยเป็นค่อยไปหรือตกตํ่า การขาดดุลทางการคลังและ ภาระหนี้ก็จะมีมากขึ้น ภาณุพงศ์ นิธิประภา


250

วินัยทางการคลัง

รูปที่ 6 วินัยการคลังด้านการก่อหนี้

ที่มา: สำ�นักงานเศรษฐกิจการคลัง เศรษฐธรรม :: รวมบทปาฐกถากีรตยาจารย์แห่งเศรษฐศาสตร์ธรรมศาสตร์


251

กฎข้อหนึง่ วินยั ทางการคลังตามกฎแห่งความยัง่ ยืนทางการคลัง ของสำ�นักงานเศรษฐกิจและการคลัง กล่าวถึงงบประมาณสมดุล ซึ่งเรา ไม่สามารถมีไปได้ตลอด เพราะจะทำ�ให้เกิดความผิดปกติในช่วงเศรษฐกิจ ตกตํ่า (รูปที่ 6) ในช่วงปี 2002-2007 ภาระหนี้ต่อจีดีพีลดลงเรื่อยๆ จาก 54 เปอร์เซ็นต์ของรายได้ทั้งหมด เหลือ 37 เปอร์เซ็นต์ เดิมเพดานอยู่ที่ 60 เปอร์เซ็นต์ ลดลงเหลือ 55 และ 50 เปอร์เซ็นต์ แสดงว่ากฎเข้มขึ้น รัฐบาลก่อหนี้ได้ไม่เกิน 50 เปอร์เซ็นต์ของรายได้ประชาชาติ สำ�หรับปี 2009 สัดส่วนหนี้ต่อรายได้ประชาชาติจะต้องเพิ่มสูงขึ้น แล้วเราจะกลับ เข้ามาสู่ความมั่นคงทางด้านการคลังตามกฎอีกครั้งหนึ่งได้อย่างไร ถ้า เราดูสัดส่วนของหนี้ ช่วงที่เรากู้จากต่างประเทศ การกู้หนี้ต่างประเทศ ก็มีสัดส่วนสูงขึ้น ในขณะที่หนี้ในประเทศมีสัดส่วนที่ลดลง แต่หลังจากนั้น สัดส่วนหนี้ภายในประเทศก็เพิ่มสูงขึ้นไปด้วย นั่นก็เป็นเรื่องที่ดี เพราะเรา พึง่ พาเงินภายในบ้านของเรา ไม่ตอ้ งไปกูเ้ งินข้างนอก แต่จะทำ�ให้เกิดปัจจัย เสี่ยงจากอัตราดอกเบี้ยที่ผันผวน กฎข้อทีส่ อง ถ้าหากจะมีความยัง่ ยืนทางด้านการคลัง สัดส่วนของ การใช้จ่ายภาระหนี้ไม่ควรจะเกิน 15 เปอร์เซ็นต์ ถ้าพูดถึงหนี้ต่างประเทศ การชำ�ระหนี้ต่อการส่งออกที่ได้เป็นเงินตราต่างประเทศมีแนวโน้มที่ลดลง เพราะฉะนัน้ ทุกอย่างก็อยูใ่ นภาวะทีม่ นั่ คง หลังจากทีเ่ คยมากมายมหาศาล ก็กลับลดตํ่าลงไป แต่นั่นก็เป็นช่วงก่อนเกิดภาวะวิกฤตเศรษฐกิจ ปัญหา ในปี 1997 เป็นเรื่องของหนี้ที่ก่อโดยภาคเอกชน แต่อย่างไรก็ตาม รัฐบาล ก็ต้องเข้าไปรับภาระอยู่ดี เพราะฉะนั้นรัฐไม่สามารถที่จะปฏิเสธความ รับผิดชอบในเรื่องของสถาบันการเงินที่มีปัญหาได้ ที่สำ�คัญก็คือ หลังจาก นี้เป็นต้นไป สัดส่วนหนี้ของประเทศที่สูงขึ้นเกิดจากรัฐบาล ไม่ใช่เกิดจาก ภาคเอกชน กฎอีกข้อหนึ่งสำ�หรับการเจริญเติบโตอย่างมีเสถียรภาพบอกว่า ควรลงทุนไม่ตํ่ากว่า 25 เปอร์เซ็นต์ เผื่อไว้ให้ลูกหลานด้วย ถ้าดูตามนี้ สัดส่วนการลงทุนในรายจ่ายของรัฐบาลสูงถึง 26 เปอร์เซ็นต์ สูงกว่าเกณฑ์ ขั้นตํ่าที่ตั้งไว้ ต่อมาในปี 2007 ลดลงไปเหลือ 23 เปอร์เซ็นต์ แต่พอมาดู ภาณุพงศ์ นิธิประภา


252

งบประมาณปีนี้ เหลือแค่ 12.5 เปอร์เซ็นต์ เพราะเราเจียดเงินมาใช้สำ�หรับ การจ่ายเงินประจำ�อย่างเงินเดือนข้าราชการทัง้ หลายด้วย งบประมาณทีจ่ ะ ใช้ลงทุนก็มีน้อยลงไปด้วย นั่นก็เกิดคำ�ถามขึ้นว่า เราจะเติบโตได้อย่างไร ถ้าเราลงทุนน้อยลง สำ�หรับเรื่องการใช้จ่ายทางด้านต่างๆ ในอดีต การศึกษาได้รับ งบประมาณสูงมาก บางช่วงสูงถึง 7 เปอร์เซ็นต์ของรายได้ประชาชาติ แต่ถ้าลงไปในรูปของการก่อสร้างโรงเรียนที่สวยงาม โดยไม่ได้ปรับปรุง หลักสูตรและคุณภาพของครู นั่นก็ทำ�ให้เกิดปัญหาได้เหมือนกัน สิ่งที่ เกิดขึ้นจริงในหลายๆ ประเทศก็คือ หากพูดถึงการลงทุนในหมวดต่างๆ ถ้าภาครัฐลงทุนด้านการขนส่งและการคมนาคม การลงทุนในสิ่งเหล่านี้ จะมีผลตอบแทนที่สูงกว่าปกติ และนั่นก็จะเป็นการเพิ่มความเข้มแข็ง ของระบบเศรษฐกิจด้วย ทำ�ให้เกิดการเจริญเติบโต เป็นการลงทุนด้าน โครงสร้างพื้นฐาน ต่อมาในช่วงปี 2005-2007 งบประมาณด้านการศึกษา จากที่เคยสูงถึง 7 เปอร์เซ็นต์ ก็ลดลงมาเหลือ 4 เปอร์เซ็นต์กว่าๆ ของ รายได้ประชาชาติ ในขณะเดียวกัน งบประมาณเกี่ยวกับสุขภาพอนามัย และสวัสดิการกลับสูงขึ้น ในปี 2007 สัดส่วนของงบประมาณด้านการ ป้องกันประเทศเพิ่มสูงขึ้น

เศรษฐธรรม :: รวมบทปาฐกถากีรตยาจารย์แห่งเศรษฐศาสตร์ธรรมศาสตร์


253

รูปที่ 7 ความสำ�คัญของการบริโภคและการนำ�เข้า (Ability to Dampen the Cycle)

ที่มา: International Finance Statistics (IFS)

ย้อนไปในปี 1950 (รูปที่ 7) จะเห็นว่าสัดส่วนรายจ่ายรัฐบาลเพื่อ การบริโภคไม่ได้เปลี่ยนแปลงไปมากเมื่อเทียบกับการนำ�เข้า โดยสัดส่วน การนำ�เข้าต่อรายได้ประชาชาติสูงขึ้นเรื่อยๆ ฉะนั้นรายได้ที่เพิ่มขึ้นหนึ่ง บาท จะไปเพิ่มการนำ�เข้า ในช่วงห้าสิบปีที่ผ่านมา โครงสร้างการผลิต ได้เปลี่ยนแปลงไป การพึ่งพิงการนำ�เข้าสินค้าวัตถุดิบเพิ่มมากขึ้นเรื่อยๆ ขณะเดียวกัน สัดส่วนของการบริโภคก็ลดลงทีละน้อย

ภาณุพงศ์ นิธิประภา


254

รูปที่ 8 การเปลีย่ นแปลงการบริโภคและการนำ�เข้าเมือ่ รายได้เปลีย่ นแปลง (Marginal Propensity)

ที่มา: การประมาณค่า

ในช่วงหลังๆ (รูปที่ 8) แนวโน้มส่วนเพิ่มการบริโภค (Marginal Propensity to Consume: MPC) ลดลงจาก 0.52 เหลือ 0.36 คือเมื่อ รายได้ เ พิ่ ม ขึ้ น เราบริ โ ภคน้ อ ยลงเมื่ อ เปรี ย บเที ย บกั บ ช่ ว งก่ อ นวิ ก ฤต เศรษฐกิจ (ช่วงปี 1954-1997) ขณะเดียวกัน เราก็นำ�เข้ามากขึ้น แนวโน้ม ส่วนเพิ่มการนำ�เข้า (Marginal Propensity to Import: MPM) เพิ่มขึ้นจาก 0.54 เป็น 0.64 ผลก็คอื พละกำ�ลังของเราในการกระตุน้ เศรษฐกิจไม่เท่ากับ ในสมัยก่อน นัน่ ก็เพราะมีสว่ นหนึง่ รัว่ ไหลออกนอกประเทศ ถ้ารัฐบาลใช้จา่ ย และนำ�เข้ามากขึ้น ผลที่จะเกิดขึ้นในประเทศก็จะน้อยลง คนก็บริโภคน้อย ลงและออมมากขึ้น พอไปถามคนที่ได้รับเงินพิเศษต่างๆ ว่าเขาเอาไปใช้ มากน้อยแค่ไหน แน่นอน ส่วนหนึ่งเขาก็เอาไปเก็บออมไว้ ทำ�ไมเขาต้อง เก็บออมมากขึ้น ก็เพราะเขาไม่ค่อยแน่ใจสำ�หรับอนาคต และเศรษฐกิจก็ เศรษฐธรรม :: รวมบทปาฐกถากีรตยาจารย์แห่งเศรษฐศาสตร์ธรรมศาสตร์


255

ชะลอตัวด้วย ส่วนที่ว่าทำ�ไมเราจึงนำ�เข้ามากขึ้น นั่นก็เป็นส่วนหนึ่งของ เศรษฐกิจไทยที่พึ่งพิงการนำ�เข้าวัตถุดิบมาก จะส่งออกมากขึ้น เราก็ต้อง นำ�เข้าสินค้าวัตถุดิบมากขึ้น ถามว่าทำ�ไมการกระตุ้นเศรษฐกิจบางครั้งจึงได้ผล บางครั้งจึง ไม่ได้ผล สิ่งเหล่านี้ขึ้นอยู่กับระยะเวลาด้วย ถ้าคุณกระตุ้นในช่วงที่ภาวะ เศรษฐกิจไม่มีความเชื่อมั่นมากเท่าไร เมื่อรัฐบาลใช้จ่ายเงินไป คนก็เก็บ ไว้ ไม่ได้เอาไปใช้จา่ ยต่อ ผลก็ไม่เกิดขึน้ กับตัวทวีคณ ู แล้วต้องแน่ใจด้วยว่า เงินที่ใช้ลงไปถึงกลุ่มคนที่จะใช้จ่ายเงินเพิ่มขึ้น ซึ่งเป็นกลุ่มคนเป้าหมาย สมมุติว่าถ้าคุณกระจายเม็ดเงินลงไปถึงกลุ่มคนบางกลุ่มซึ่งยังไงเขาก็ ไม่ใช้จ่ายเงินเพิ่มขึ้น สุดท้ายก็ไม่ได้ผลมาก นอกจากนี้ยังขึ้นอยู่กับสภาพ คล่องอีกด้วย หมายความว่า ถ้าคุณอยากจะใช้เงิน แต่คุณไม่มีเงินใช้ พอ รัฐบาลให้เงินมา คุณก็จะรีบใช้ทันที ภาคธุรกิจมีส่วนสำ�คัญ ถ้าหากว่าเขา ขาดแคลนเงินสด เมื่อเขาได้เงินไป เขาก็จะรีบใช้ แต่ถ้าหากว่าภายใน ประเทศมีสภาพคล่องเหลือล้นหลาม พออัดฉีดเงินเข้าไป ก็ไม่มอี ะไรเกิดขึน้ ทีนี้มาดูผลกระทบทางด้านดอกเบี้ย ปกติตำ�ราบอกว่า รัฐใช้จ่าย เงินเพิ่มขึ้น สิ่งที่ตามมาก็คือ ดอกเบี้ยจะสูงขึ้น เพราะรัฐบาลกู้เงินแข่งกับ ภาคเอกชน เมื่ออัตราดอกเบี้ยสูงขึ้น การลงทุนจากภาคเอกชนก็จะลดลง แต่อัตราดอกเบี้ยจะสูงขึ้นหรือไม่ก็ขึ้นอยู่กับว่ามีปัจจัยอะไรบ้าง ส่วนหนึ่ง ขึ้นอยู่กับขนาดของการขาดดุล ถ้าหากการขาดดุลมีมหาศาล ผลกระทบ ต่อดอกเบี้ยก็จะสูงขึ้น ถามว่าการชดเชยงบประมาณขาดดุลนั้นเกิดมา จากการชดเชยโดยอาศัยเงินจากภายในประเทศหรือเงินจากต่างประเทศ ถ้าเป็นเงินจากภายในประเทศ อัตราดอกเบี้ยภายในประเทศจะสูงขึ้น แต่ ถ้าเป็นเงินจากต่างประเทศ อัตราดอกเบี้ยก็จะไม่สูงขึ้น เพราะฉะนั้นเรา ต้องดูด้วยว่าภาระหนี้ภายในประเทศเป็นอย่างไร แล้วถามว่าภาวะเศรษฐกิจมีการติดต่อหรือใกล้ชดิ กับภาคการเงิน ของโลกมากน้อยแค่ไหน เพราะอัตราดอกเบี้ยจะเชื่อมโยงกันตลอด การที่ รัฐบาลของหลายประเทศพยายามที่จะใช้นโยบายการคลังขยายตัว ผลที่ ตามมาก็คือ อัตราดอกเบี้ยมีแนวโน้มสูงขึ้นโดยตลอด ถ้าใครสนใจไปซื้อ ภาณุพงศ์ นิธิประภา


256

พันธบัตรรัฐบาลที่ได้ดอกเบี้ยสูงๆ ก็ควรจะต้องมองไปในอนาคตด้วยว่า เราจะสูญเสียโอกาสที่จะได้ดอกเบี้ยงามๆ หลังจากที่ดอกเบี้ยในตลาดโลก มีแนวโน้มสูงขึ้น ความลุ่มลึกทางการเงินเป็นปัจจัยสำ�คัญต่อภาวะดอกเบี้ย เช่น สหรัฐอเมริกามีความเป็นปึกแผ่นลุ่มลึกทางการเงินค่อนข้างสูง ถ้าเป็น อย่างนี้ อัตราดอกเบีย้ จะไม่ได้รบั ผลกระทบมากนักจากการใช้งบประมาณ ขาดดุ ล เมื่ อ ธนาคารกลางของสหรั ฐ อเมริ ก ายั ง คงรั ก ษาระดั บ อั ต รา ดอกเบี้ยไว้ที่ร้อยละ 0.25 ผลกระทบของอัตราดอกเบี้ยก็จะมีไม่มาก หลังจากมีการกระตุ้นเศรษฐกิจค่อนข้างแรง

เศรษฐธรรม :: รวมบทปาฐกถากีรตยาจารย์แห่งเศรษฐศาสตร์ธรรมศาสตร์


257

ผลการศึกษา

การศึกษานี้ ผมใช้ข้อมูลรายเดือน ช่วงปี 1999 ถึงเดือนมีนาคม ปี 2009 ตัวแปรที่ใช้ก็จะเป็นผลผลิตอุตสาหกรรม รายรับรายจ่ายของรัฐ ดัชนี ความเชื่อมั่น อัตราแลกเปลี่ยน และระดับราคาสินค้า ถ้าเราลองใส่ shock ในระบบ หรือถ้ามีการเปลี่ยนแปลงภาษี รายจ่ายรัฐบาล รวมถึงความ เชื่อมั่น จะเกิดอะไรขึ้น ผลกระทบจากการใช้จ่ายของรัฐจะเพิ่มสูงขึ้นในช่วง 2 เดือนแรก หลังจากนั้นก็แผ่วไปจนติดลบ ถ้ารัฐบาลสามารถกอบกู้ความเชื่อมั่นกลับ มาได้ ถ้านักธุรกิจเชื่อมั่นในนโยบายของรัฐบาล ก็จะเห็นได้ว่ามีผลทำ�ให้ ผลผลิตเพิม่ ขึน้ และมีความยัง่ ยืนกว่าการกระตุน้ ทางด้านนโยบายการคลัง ถ้าเก็บภาษีสูงขึ้น ผลผลิตจะลดลง เช่น การเพิ่มอัตราภาษี สรรพสามิตนํ้ามันจากลิตรละ 5 บาทเป็น 7 บาท ในทางกลับกัน ถ้าหาก เราไม่ขึ้นภาษี แต่ลดภาษี โดยไม่เพิ่มค่าใช้จ่าย ผลก็คือเราอาจจะทำ�อะไร ที่ให้ประโยชน์อย่างยั่งยืนได้มากกว่า ในเรื่องของความเชื่อมั่น จะเน้นเสมอในส่วนของความเชื่อมั่น ของภาคธุรกิจ ซึง่ เกีย่ วโยงกับความเชือ่ มัน่ ของผูบ้ ริโภค โดยจะมีผลทีย่ งั่ ยืน ภาณุพงศ์ นิธิประภา


258

และยาวนานกว่า ช่วงที่ค่าเงินแข็งขึ้น ก็มีผลกระทบต่อผลผลิตด้วย เรื่องนี้ก็เกี่ยว พันกับภาคธุรกิจ ภาคธุรกิจจะขอให้ภาครัฐดำ�เนินนโยบายค่าเงินบาทที่ ค่อนข้างจะอ่อน โดยจะพบว่าการที่ค่าเงินบาทแข็งขึ้น ทำ�ให้ผลผลิตลดลง ก็จริงอยู่ แต่สุดท้ายกลับดีขึ้น เพราะฉะนั้นค่าเงินบาทที่แข็งขึ้นไม่จำ�เป็น เสมอไปว่าจะทำ�ให้ผลผลิตหดตัวลง สำ�หรับค่าเงินบาท ช่วงนั้น 180 บาท มีค่า 1 ดอลลาร์ ปัจจุบันอยู่ที่ 34 บาทต่อ 1 ดอลลาร์ แสดงว่าค่าเงินบาท แข็งค่าขึ้นมาก การส่งออกไม่ได้ขึ้นอยู่กับค่าเงินเพียงอย่างเดียว การที่ค่าเงิน บาทแข็ง ยิง่ ทำ�ให้ภาคส่งออกต้องปรับปรุงตัวให้ดขี นึ้ การทีอ่ ยากให้ภาครัฐ เข้าไปช่วยให้ค่าเงินอ่อนลงตลอดเวลา อาจจะไม่ได้ช่วยซักเท่าไร แน่นอน ว่าก่อให้เกิดการกระตุน้ เศรษฐกิจ แต่ผลจะไม่ยงั่ ยืน แต่ถา้ หากเราสามารถ เรียกความเชื่อมั่นกลับคืนมาได้ นั่นแหละที่จะเกิดผลดี รูปที่ 9 ชี้ให้เห็นว่า ถ้าหากนักธุรกิจมีความเชื่อมั่น ผลกระทบต่อ รายได้กจ็ ะมีมากขึน้ ในขณะเดียวกัน ถ้าหากการใช้จา่ ยของภาครัฐแผ่วลง ไป เมื่อเวลาผ่านไปก็จะเก็บภาษีได้น้อยลง เป็นเรื่องปกติธรรมดา รูปที่ 9 การตอบสนองของผลผลิตจาก shock รูปแบบต่างๆ

เศรษฐธรรม :: รวมบทปาฐกถากีรตยาจารย์แห่งเศรษฐศาสตร์ธรรมศาสตร์


259

Animal Spirits

กลับมาที่ประเด็นเรื่องความเชื่อมั่น Animal Spirits เป็นชื่อของหนังสือที่ เพิง่ จะออกมาในปี 2009 Akerlof and Shiller (2009) ผูแ้ ต่ง ได้ขยายความ ถึงสิ่งที่เคนส์พูดไว้ในบทที่เกี่ยวกับการลงทุนว่าเป็นเรื่องสำ�คัญ วิญญาณ นักลงทุนผันผวนไปเรื่อย ผู้แต่งขยายความไปถึงความกลัวที่เกิดขึ้นจาก การคอร์รัปชัน ความเชื่อมั่นที่บางครั้งเชื่ออย่างหลงงมงาย และที่สำ�คัญ คือความเป็นธรรมในสังคม ถ้าเราทำ�ให้เกิดความเป็นธรรมขึ้นในสังคม ได้ ไม่มีคำ�ว่าสองมาตรฐาน ถ้าทุกคนสามารถที่จะได้รับความเป็นธรรม Animal Spirits ที่มีความรู้สึกดีๆ กับการลงทุนก็จะกลับมา ถามว่า 1.77 ล้านล้านบาท ทำ�อะไรได้บา้ ง เงินทีไ่ ด้รบั วันนี้ สุดท้าย รัฐบาลก็จะต้องขึน้ ภาษี ซึง่ เรามักจะลืมไป เมือ่ เราซือ้ พันธบัตรรัฐบาล เราก็ นึกว่าเราจะรวยขึ้น แต่จริงๆ แล้วพันธบัตรรัฐบาลคือภาระภาษีในอนาคต ท้ายที่สุดรัฐบาลจะต้องขึ้นภาษี จึงเกิดข้อกังขาที่ว่า พันธบัตรรัฐบาลเป็น ภาระหนี้จริงหรือเปล่า ถ้าหากพันธบัตรรัฐบาลมีอายุ 20 ปี หรือ 30 ปี กว่าจะไถ่ถอนไป ผมก็ไม่สนใจเท่าไร เป็นภาระของคนรุ่นหลังที่จะต้องรับภาระเมื่อ 20 ปี ผ่านไป ถ้าหากคนมองออกว่าจะมีการขึ้นภาษีในอนาคต ก็จะเข้าใจว่า ภาณุพงศ์ นิธิประภา


260

แท้จริงแล้วพันธบัตรรัฐบาลไม่ใช่สินทรัพย์สุทธิ แต่เป็นภาระหนี้ในอนาคต ท้ายที่สุดการเจริญเติบโตในอนาคตก็จะได้รับผลกระทบไปด้วย สัดส่วนการใช้จ่ายก็มีความสำ�คัญ ไม่ว่าจะเป็นเพื่อการลงทุน การศึกษา หรือการคมนาคม มีทฤษฎีหนึ่งกล่าวว่า บางครั้งรายจ่าย รัฐบาลจะผันผวนเปลี่ยนแปลงไปตามภาวะการเมือง ตามอุดมการณ์ของ พรรคการเมือง (Hibbs, 1977) ช่วงใกล้ๆ การเลือกตั้ง รัฐบาลจะใช้นโยบายเพื่อที่จะหาเสียง คือใช้จ่ายเงินเต็มที่ ใช้นโยบายการเงินที่ผ่อนคลายเพื่อกระตุ้นเศรษฐกิจ แต่หลังจากที่ได้รับการเลือกตั้งเข้ามาแล้ว ก็จะพยายามทำ�ความเข้าใจว่า เราจะต้องแก้ไขภาระหนี้อย่างไร จากนั้นก็ใช้นโยบายแบบรัดตัวอีกครั้ง เหมือนกับเป็นวงจร ก่อนเลือกตั้งเป็นอย่างไร หลังเลือกตั้งเป็นอีกอย่าง (Nordhaus, 1975 และ Rogoff, 1980)

เศรษฐธรรม :: รวมบทปาฐกถากีรตยาจารย์แห่งเศรษฐศาสตร์ธรรมศาสตร์


261

วัฏจักรการใช้จ่ายเพื่อการป้องกันประเทศ

ทีนี้ลองกลับมาดูว่ามีความเกี่ยวข้องกับบ้านเรามากน้อยเพียงใด บ้านเรา อาจจะเปรียบเทียบไม่ได้เสมอไป เพราะนี่เป็นตัวอย่างของประเทศที่มี สถาบันการเมืองแบบประชาธิปไตยหยั่งรากลึกมานาน รัฐบาลแต่ละชุด มีความรับผิดชอบในสิ่งที่เกิดขึ้น และสุดท้ายรัฐบาลก็จะทำ�ให้นโยบาย กลับมาสมดุลอีกครั้งหนึ่ง สามารถแก้ภาระหนี้ไปได้ แต่บ้านเราเป็นคนละ แบบ รัฐบาลไม่ได้มาจากการเลือกตัง้ เพียงอย่างเดียว แต่มาจากรัฐประหาร ด้วย ผมก็เลยลองตั้งคำ�ถามว่า ค่าใช้จ่ายเพื่อการป้องกันประเทศ มีวัฏจักรหรือไม่ ค่าใช้จ่ายกับการป้องกันประเทศขึ้นอยู่กับว่าสถานการณ์ บ้านเมืองเป็นอย่างไร มีสงครามกลางเมืองเกิดขึน้ ไหม เพือ่ นบ้านมีปญ ั หา อะไรหรือไม่ (Dunne and Perlo-Freeman, 2003) สิ่งต่างๆ เหล่านี้เป็นสิ่ง ทีก่ ระทบต่อความต้องการทางด้านการป้องกันประเทศ มีการศึกษาพบว่า รายจ่ายเพื่อการป้องกันประเทศจะแปรผกผันกับความเป็นประชาธิปไตย จากการศึกษาโดยใช้ข้อมูลของหลายๆ ประเทศพบว่า สิ่งเหล่านี้มีผล กระทบทางลบต่อการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจด้วย (Yakovlev, 2007) ภาณุพงศ์ นิธิประภา


262

ช่วงหลังสงครามเย็น รัฐบาลไม่ตอ้ งใช้งบประมาณเพือ่ การป้องกัน ประเทศมาก จึงสามารถใช้เงินเพื่อการทำ�นุบำ�รุงเศรษฐกิจได้ ตัวอย่าง เช่นญี่ปุ่น ซึ่งไม่ต้องใช้งบประมาณทางด้านนี้มากในช่วงหลังสงครามโลก ครั้งที่สอง ทำ�ให้สามารถใช้เงินในการกระตุ้นเศรษฐกิจได้ แต่ผมกลับมอง ว่า บางทีงบประมาณเพื่อการป้องกันประเทศที่ตํ่าเกินไปอาจจะส่งผลเสีย ต่อระบอบประชาธิปไตยก็ได้ เพราะหลังจากการเลือกตั้ง เมื่อมีรัฐบาล ประชาธิปไตย รายจ่ายเพื่อการป้องกันประเทศกลับลดลง แต่หลังจากที่ มีการปฏิวัติรัฐประหาร รายจ่ายเพื่อการป้องกันประเทศก็พุ่งพรวดขึ้นไป เป็นวัฏจักรอีกเหมือนกัน เราจึงสามารถใช้วัฏจักรการใช้จ่ายงบประมาณ สำ�หรับการป้องกันประเทศในการทำ�นายว่าจะมีการปฏิวัติเมื่อไร รูปที่ 10 วัฏจักรการใช้จ่ายเพื่อการป้องกันประเทศ (Cyclical Military Spending) หน่วย: ร้อยละอัตราเติบโตโดยเฉลี่ยแต่ละช่วงเวลา

ที่มา: สำ�นักงบประมาณ

ปี 2514 จอมพลถนอม กิตติขจร เป็นนายกรัฐมนตรี และเป็น นายกสภามหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ด้วย หลังจากนั้นก็เกิดการปฏิวัติ เศรษฐธรรม :: รวมบทปาฐกถากีรตยาจารย์แห่งเศรษฐศาสตร์ธรรมศาสตร์


263

ตัวเอง เสร็จแล้วท่านสัญญา ธรรมศักดิ์ ก็เป็นนายกรัฐมนตรี แต่ช่วงนั้น ไม่มีการปฏิวัติ ถัดมาในปี 2519 เป็นรัฐบาลเสนีย์ ปราโมช ต่อด้วยรัฐบาล ธานินทร์ กรัยวิเชียร จากรูปที่ 10 ค่าใช้จา่ ยเพือ่ การป้องกันประเทศ (Defence) ในช่วง ปี 2514-2517 หลังจากการปฏิวตั ิ รายจ่ายเพือ่ การป้องกันประเทศเพิม่ ขึน้ 13.6 เปอร์เซ็นต์ ในขณะทีช่ ว่ งนีง้ บประมาณทางด้านเศรษฐกิจตํา่ หลังจาก นัน้ เมือ่ ฝ่ายทหารกลับเข้ามาอีกครัง้ รายจ่ายเพือ่ การป้องกันประเทศก็เพิม่ สูงขึ้นไปอีก พอถัดมาอีกช่วงหนึ่งก็ลดตํ่าลง และลดตํ่าลงไปอีก จากนั้น ในปี 2534 ช่วงนั้นค่อนข้างจะตํ่า เพิ่มขึ้นแค่ 2.7 เปอร์เซ็นต์ แล้วก็สูงขึ้น มาอีกหลังจากนั้น ถัดมาในปี 2549 ถ้าเราให้งบประมาณปี 2549 เท่ากับ 100 ข้อมูลจากสำ�นักงบประมาณ (รูปที่ 10) จะเห็นได้ว่าพุ่งกระฉูด ส่วน ทางด้านอื่นๆ ก็ไม่สูงเท่า ผมยั ง ไม่ ไ ด้ ท ดสอบทางสถิ ติ เป็ น เพี ย งแค่ ส มมติ ฐ านเท่ า นั้ น งบประมาณผูกพันเพื่อการทหารพุ่งกระฉูดขึ้นไป ส่วนรายจ่ายอื่นก็ไม่ได้ สูงขึ้นมากนัก จากงบประมาณผูกพันที่ว่า ผลที่ตามมาก็คือ ถ้าได้อย่าง หนึ่งก็จะเสียอีกอย่างหนึ่ง ถ้าเราไปใช้จ่ายบางด้าน งบประมาณสำ�หรับ การลงทุนเพื่อผลตอบแทนสูงๆ ก็จะน้อยลงไป รัฐบาลต้องการกระตุ้น เศรษฐกิจ ก็ตงั้ เป้าไว้วา่ ปีหน้าเศรษฐกิจจะโตได้ 2 เปอร์เซ็นต์ 3 เปอร์เซ็นต์ แล้วต่อจากนีไ้ ปก็ 5 เปอร์เซ็นต์ เพิม่ ขึน้ ไปเรือ่ ยๆ นีค่ อื การคาดการณ์ ทำ�ให้ ดูดเี พื่อเป็นข้ออ้างในการใช้งบประมาณเพิ่มขึน้ ซึง่ จะก่อให้เกิดการรัว่ ไหล จากการคอร์รัปชัน (Bardhan, 1997 และ Dievoni and Agostin, 2008)

ภาณุพงศ์ นิธิประภา


264

รูปที่ 11 การเพิ่มของงบประมาณหลังการปฏิวัติยึดอำ�นาจ (Budget Appropriation after the Coup)

ที่มา: สำ�นักงบประมาณ

เศรษฐธรรม :: รวมบทปาฐกถากีรตยาจารย์แห่งเศรษฐศาสตร์ธรรมศาสตร์


265

การขาดดุลงบประมาณ?

กลับมาสู่คำ�ถามเดิมที่ว่า ถ้าหากมีการขาดดุล ภาระหนี้ที่มากขึ้นเป็น อันตรายหรือยัง คำ�ตอบก็คือ ตราบใดที่รัฐบาลขายพันธบัตรแล้วมีคนแห่ ไปขอซื้อ แสดงว่ารัฐบาลยังมีความสามารถในการกู้ คนยังมีความเชื่อมั่น ไม่ได้เป็นอันตรายอะไร คนเราก็ยังอยากจะได้ผลตอบแทนที่สูงอยู่ ยังไม่ ถึงขั้นที่เป็นปัญหา แต่บางครั้งมันเหมือนกับเป็นระเบิดเวลาเหมือนกัน เพราะสุดท้ายแล้ว เราจำ�เป็นที่จะต้องใช้หนี้เหล่านั้น และผลที่ตามมาใน ระยะยาวก็คอื การเจริญเติบโตจะถูกกระทบไปด้วย ถ้าหากตัง้ งบประมาณ ผูกพันไว้มากๆ ความยืดหยุ่นทางด้านการคลังก็จะลดน้อยลงไป บางครั้ง การตัดสินใจที่ผิดพลาดในปัจจุบันจะมีผลกระทบต่อเศรษฐกิจในอนาคต ด้วย สิ่งหนึ่งที่ผมเป็นห่วงคือเรื่องการใช้จ่ายเงินอย่างเบี้ยหัวแตก เช่น งบประมาณบางอย่างกระจายไปหลายๆ กระทรวง หลายๆ จังหวัด ทำ�ให้ผมคิดว่านี่เป็นทางเลี่ยง ถ้าหากเราเน้นบางจุด ลงทุนใช้จ่ายบางจุด บางเป้า ผลจะดีกว่าหรือไม่ เมื่อเทียบกับการใช้จ่ายแบบที่รัฐบาลกำ�ลังทำ� อยู่ ซึ่งเหมือนกับตำ�นํ้าพริกละลายแม่นํ้า ภาณุพงศ์ นิธิประภา


266

ถ้าหากเป็นพวกพ้องชาวเศรษฐศาสตร์ก็จะนึกถึงเรื่องเล่าใน สมัยที่เกิดสงครามโลกครั้งที่สอง มิลตัน ฟรีดแมน (Milton Friedman) เป็นที่ปรึกษาให้กับการรบในยุโรปของสหรัฐฯ หลังจากที่มีการบุก ฝ่าย สัมพันธมิตรได้ยกพลขึ้นบกที่นอร์มังดี ก็มีการสู้รบอย่างต่อเนื่อง ก่อนที่ เยอรมนีจะยอมแพ้ ช่วงนั้นทหารอเมริกันมีปัญหามาก คือจะเน้นยิงปืน ใหญ่แบบปูพรม กระจายอำ�นาจการยิง หรือจะยิงเป้าหมายที่สำ�คัญ แล้ว ระดมยิงไปให้ได้ผลรุนแรงมากที่สุด ฝ่ายทหารก็รวบรวมข้อมูลแล้วกลับ มาหา มิลตัน ฟรีดแมน เพื่อขอคำ�ปรึกษาเรื่อง trade-off เหล่านี้ เขาเป็น นักคณิตศาสตร์ เขาก็คำ�นวณว่าควรจะยิงไปที่ไหนที่สำ�คัญต่อยุทธศาสตร์ ถ้ายิงแบบดาวกระจาย ผลก็จะมีไม่มาก ภาระหนี้ต่างประเทศของไทย คิดเป็นรายหัว หัวละห้าหมื่นบาท แต่ท้ายที่สุดจะต้องเพิ่มขึ้นไปอีกหลังจากที่มีการกู้หนี้ยืมสิน คำ�ถามที่ว่า นโยบายการคลังของเราในปัจจุบันมีปัญหาอย่างไร คำ�ตอบก็คือ เราลืม นึกถึงวินัยทางด้านการคลัง และความกลัวเรื่องเศรษฐกิจตกตํ่าถูกใช้เป็น ข้ออ้างในการกระตุ้นเศรษฐกิจ เราใช้จ่ายเงินอย่างมากมายมหาศาล โดย มองว่าประเทศไหนๆ ก็ทำ�อย่างนี้ สหรัฐฯ และยุโรปใช้จ่ายเงินมากขึ้น แต่ อย่าลืมว่าประเทศเหล่านัน้ มีปญ ั หาเรือ่ งความล้มเหลวของสถาบันการเงิน ด้วย เขาใช้งบประมาณขาดดุลเพื่ออุ้มชูสถาบันการเงิน ส่วนบ้านเรานั้น สถาบันการเงินยังแข็งแกร่งอยู่ นี่คือความแตกต่าง สำ�หรับการตั้งงบประมาณผูกพัน คำ�ว่าผูกพันคือทำ�ให้เกิดความ ไม่ยืดหยุ่น บางครั้งอาจจะทำ�ให้เกิดผลเสียได้ ถ้าหากมีการเปลี่ยนแปลง เกิ ด ขึ้ น เราเคยบอกว่ า การเปิ ด เผยโปร่ ง ใสเป็ น เรื่ อ งสำ�คั ญ ในการตั้ ง งบประมาณ การทำ�อะไรที่ไม่สามารถที่จะมีรายละเอียด ทำ�ให้คลุมเครือ ไว้ บางทีก็อาจจะเป็นผลดีสำ�หรับนักการเมืองหมกเม็ด (Buchanan and Wagner, 1977) การใช้งบประมาณเหล่านี้ก็มีหลายคนพูดเหมือนกันว่า เรามัก จะไม่ค่อยตระหนักถึงต้นทุนที่จะเกิดขึ้นในอนาคต เรามักจะมองว่าการ ใช้จ่ายเหล่านั้นเป็นเรื่องที่ดี แต่ถ้าหากเราซึ่งผู้มีสิทธิเลือกตั้งมองออก เศรษฐธรรม :: รวมบทปาฐกถากีรตยาจารย์แห่งเศรษฐศาสตร์ธรรมศาสตร์


267

มีเหตุมีผล ก็จะรู้ได้ว่าจริงๆ แล้วงบประมาณเหล่านั้นก็เพื่อสนองผล ประโยชน์ของพรรคตัวเอง มีตัวอย่างของการเปิดเผยโปร่งใสที่ดูเหมือน จะเปิดเผยโปร่งใส แต่กลับไม่ใช่ งบประมาณในสหรัฐฯ บางครั้งทางการ มักจะตั้งเป้าผลกระทบหรือประเมินตัวแปรที่สำ�คัญทางด้านเศรษฐกิจไว้ ให้ดีเกินกว่าความเป็นจริง บางครั้งตั้งงบประมาณกึ่งผูกพันไว้หลายปี แต่ ไม่เคยนำ�ไปใช้ตรงตามแผน เพราะแผนเหล่านี้สามารถปรับใหม่ได้ทุกปี (Alesena and Perotti, 1996)

ภาณุพงศ์ นิธิประภา


268

สรุป

กล่าวโดยสรุป ถ้ารัฐบาลอยากทีจ่ ะได้รบั ความนิยมชมชืน่ นโยบายการคลัง อาจจะได้ผลเหมือนกันสำ�หรับการทีจ่ ะทำ�ให้รฐั บาลเป็นทีร่ กั ของประชาชน แต่เราก็ต้องคำ�นึงว่า การใช้จ่ายเหล่านั้นจะส่งผลกระทบกับความยั่งยืน การใช้จ่ายแบบเบี้ยหัวแตก ไม่ได้ระบุจุดหมายใดจุดหมายหนึ่งที่เป็น เป้าหมายสูงสุด ก็เป็นการสูญเปล่า ถ้าหากเราตามใจตัวเองมากเกินไป ก็มรี าคาทีเ่ ราต้องจ่ายเหมือนกัน ถ้าเราอยากได้หลายสิง่ หลายอย่าง อยาก ได้เงินช่วยเหลือค่าครองชีพ ถ้าทุกคนอยากได้เหมือนกัน สุดท้ายเราก็ตอ้ ง จ่ายอยูด่ ี ถ้าเราไม่จา่ ย ลูกหลานของท่านนัน่ แหละทีต่ อ้ งจ่ายในรูปของภาษี ข้อสรุปอีกข้อหนึง่ ก็คอื ท้ายทีส่ ดุ แล้ว นโยบายการเงินการคลังอาจ จะไม่ได้ผลเลยก็ได้ ถ้ารัฐบาลไม่สามารถเรียกความเชื่อมั่นกลับคืนมาได้ ความเชือ่ มัน่ บางทีกส็ ร้างได้ยาก อย่างทีผ่ มกล่าวถึงเรือ่ งการรักษาระเบียบ วินัย เราเคยพูดว่า รัฐบาลในอดีตใช้นโยบายประชานิยม แต่ปัจจุบันไม่ใช่ แล้ว แต่กลับเป็นนโยบายอภิมหาประชานิยม เราลืมนึกถึงระเบียบวินัย ทางด้านการคลัง มันอาจจะมีผลประโยชน์ในระยะสั้นทางด้านการเมือง แต่ในระยะยาว เราจะถูกกระทบในทางลบแน่นอน เศรษฐธรรม :: รวมบทปาฐกถากีรตยาจารย์แห่งเศรษฐศาสตร์ธรรมศาสตร์


269

กลั บ มาสู่ คำ�ถามที่ ผ มตั้ ง ไว้ ส ามข้ อ แรก ถามว่ า การกระตุ้ น เศรษฐกิจโดยใช้เงินมหาศาลทำ�ให้เกิดการฟื้นฟูทางเศรษฐกิจอย่างยั่งยืน หรือเปล่า คือปลุกไปหน่อยก็จะฟื้น รัฐบาลเคยพูดว่า ถ้าคุณกระตุ้นเล็กๆ น้อยๆ มันไม่ได้ผล ต้องกระตุ้นแบบมหาศาล กู้ยืมมาแปดแสนล้านเพื่อ กระตุ้นเศรษฐกิจ แต่ผมคิดว่า ถ้าคุณใช้ไฟช็อต สำ�หรับคนที่มีลมหายใจ ช็อตเล็กๆ น้อยๆ ก็พอจะตื่นได้ แต่ถ้าตายแล้ว ใช้ไฟไม่ว่าจะกี่กิโลวัตต์ ยังไงก็ไม่ตื่นอยู่ดี ฉันใดก็ฉันนั้น ถ้าเราไม่สามารถเรียกความเชื่อมั่นกลับ มาได้ ถ้าหากความเชื่อมั่นตกตํ่าไปแล้ว ไม่ว่าคุณจะกระตุ้นยังไง มันก็ ไม่ฟื้นขึ้นมา เพราะฉะนั้น นี่ไม่ใช่การใช้จ่ายเงินที่มีประสิทธิภาพสูงสุด มี ทางเลือกอื่นที่ดีกว่านี้ และเรื่องของประชาธิปไตย เรื่องของระเบียบวินัย ต่างๆ จะต้องมี รวมถึงเรื่องความเป็นธรรมในสังคมด้วย ถามว่าแล้วผลกระทบสุดท้ายคืออะไร คำ�ตอบก็คือภาระภาษีอัน มหาศาลนั่นเอง และสิ่งที่น่าเสียใจที่สุดคือ การสูญเสียวินัยทางการคลังที่ เคยประพฤติปฏิบัติมาในอดีต สุดท้ายก็จะเป็นตัวอย่างให้รัฐบาลชุดต่อๆ มาใช้เป็นแบบอย่างเพือ่ เอาใจประชาชน ซึง่ เป็นเรือ่ งของการสูญเสียโอกาส แทนที่จะใช้ให้ตรงเป้าตรงจุด กลับกลายเป็นใช้จ่ายแบบเบี้ยหัวแตก ไม่ได้ ประโยชน์คุ้มค่า

ภาณุพงศ์ นิธิประภา


270

ช่วงแลกเปลี่ยนความคิดเห็น

รศ.ดร.ทวีป ชัยสมภพ ผมสนใจคำ�ตอบของท่านอาจารย์ทกี่ ล่าวว่านโยบายของรัฐบาลปัจจุบนั นั้นผิดพลาด ปัจจุบัน ประเทศไทยล้าหลังกว่าประเทศอื่น เพราะเรามีระบบ สาธารณูปโภคที่ไม่พัฒนา ที่เห็นได้ชัดคือเรื่องขนส่งมวลชน โดยเฉพาะเรื่อง รถไฟ เพื่อนพ้องของผมที่อยู่ในวงการก่อสร้างก็เฝ้ารอว่าจะได้โครงการใหญ่ๆ จากรัฐบาล ซึ่งรัฐบาลเองก็พยายามจะเร่งรัดในเรื่องนี้ ผมจึงอยากจะเรียนถาม อาจารย์ว่า จะมีหนทางไหมที่จะลงทุนให้ถูกจุดอย่างที่อาจารย์บอก โดยเฉพาะ เรื่องขนส่งมวลชน อาจารย์พอจะมีแนวทางที่จะแนะนำ�ไหม เราจะทำ�อย่างไร รศ.ดร.ภาณุพงศ์ นิธิประภา ขอบคุณครับอาจารย์ทวีป ประเด็นที่ผมเรียนตอนต้น การลงทุนนั้น ต้องเป็นการลงทุนที่ตรงจุด การกระตุ้นเศรษฐกิจบางอย่าง อย่างในญี่ปุ่นจะมี เกาะบางเกาะที่ไม่ค่อยมีประชากรอยู่เท่าไร บังเอิญมีนักการเมืองอยู่ 3 คน ก็ จะมีสะพานที่ก่อสร้างอย่างดีอยู่ 3 สะพาน ซึ่งนั่นถือว่าเป็นการลงทุนที่ล้มเหลว ดังนั้นเราจะต้องไม่คำ�นึงถึงแค่การก่อสร้าง แต่จะต้องก่อให้เกิดผลกระทบที่ ถูกต้องด้วย เศรษฐธรรม :: รวมบทปาฐกถากีรตยาจารย์แห่งเศรษฐศาสตร์ธรรมศาสตร์


271

จากประเด็นที่ผมพูดในตอนต้น ถ้าเรามุ่งเน้นผลประโยชน์บางอย่าง อย่างการคมนาคมขนส่ง พวกนี้จะเป็นประโยชน์ตอบแทนต่อประเทศสูงมาก เพราะฉะนั้นได้อย่างก็เสียอย่าง ถ้าเราสนใจเกี่ยวกับการโอนเงิน แจกเงิน พวกนี้เสร็จแล้วก็หายไป ไม่ออกมาเป็นโครงสร้างพื้นฐานที่ทำ�ให้ผลิตภาพ (Productivity) เพิ่มขึ้น อันนี้ก็ลำ�บาก เพราะในแง่ของผู้จัดการ รัฐบาลเองก็ต้อง ไกล่เกลี่ยผลประโยชน์ เนื่องจากรัฐบาลไม่มีเสถียรภาพ เพราะฉะนั้นการใช้จ่าย เงินก็ไม่สามารถไปสูเ่ ป้าหมายทีค่ วรจะเป็นได้ กลายเป็นว่าไม่ใช่เพือ่ ความมัน่ คง ทางด้านเศรษฐกิจของประเทศ แต่เพื่อความมั่นคงของรัฐบาล ศ.ดร.ปราณี ทินกร พอดีฟังอาจารย์ทวีปแล้ว ดิฉันก็อยากร่วมนิดหนึ่ง จากการประเมิน ของหน่วยงานต่างประเทศ เขาพบสิ่งที่อาจารย์ทวีปพูดถึง คือประเทศไทยเรา ค่อนข้างจะด้อยพัฒนา ระบบการขนส่ง ระบบการคมนาคมต่างๆ ของเราสู้ ต่างประเทศไม่ได้ เช่น สิงคโปร์หรือมาเลเซีย ทีนี้เนื่องจากระบบการคมนาคมที่เป็นเรื่องการขนส่งและการสื่อสาร ถือว่าเป็นกระดูกสำ�คัญสำ�หรับการพัฒนาประเทศ เพราะฉะนั้นดิฉันคิดว่าถึง เวลาแล้วที่รัฐบาลจะต้องมาดูว่า การลงทุนในโครงสร้างพื้นฐาน เรื่องเครือข่าย ต่างๆ เหล่านี้ มีความจำ�เป็น และต้องมีแผนการที่ชัดเจน อาจารย์ค่อนข้างจะมีแนวโน้มไปทาง Conservative เพราะพยายาม ดูเรื่องความระมัดระวัง ความรอบคอบ ความมีวินัย ช่วงที่เกิดวิกฤตการณ์ ทางการเงินในปี 1997 รัฐบาลก็ทำ�คล้ายๆ อย่างนี้เหมือนกัน เพราะอุปสงค์ตก สถาบันการเงินมีปัญหา แต่ตอนนี้ไม่มีปัญหา ตอนนั้นก็จำ�เป็นต้องใช้จ่ายเงิน เพื่อดึงความเชื่อมั่นกลับมา พวกเรานักวิชาการก็มีความกังวลว่าจะสร้างภาระ หนี้ให้กับประเทศอย่างมหาศาล เราก็มีการจัดงานสัมมนาเกี่ยวกับเรื่องนี้ เมื่อ เวลาผ่านไป เศรษฐกิจโลกเริ่มฟื้นตัว เราส่งออกได้ ปัญหาสถาบันการเงินเริ่ม คลี่คลาย รัฐบาลก็เริ่มมีรายได้กลับเข้ามา เพราะฉะนั้นก็เลยทำ�ให้หนี้สาธารณะ ไม่ได้เป็นปัญหาอย่างที่พวกเราคาดการณ์กัน พอมาช่วงนี้ก็มีเหตุการณ์คล้ายๆ กับตอนนั้น เพียงแต่ว่าสถาบัน การเงินของเราค่อนข้างเข้มแข็ง ดิฉันก็เลยอยากจะถามความเห็นของอาจารย์ ว่า จากที่อาจารย์ศึกษา อาจารย์ชี้ว่าความเชื่อมั่นของธุรกิจกับความเชื่อมั่น ภาณุพงศ์ นิธิประภา


272

ของผู้บริโภคสำ�คัญที่สุด แต่จะทำ�อย่างไรจึงจะดึงความเชื่อมั่นของธุรกิจกับ ความเชื่อมั่นของผู้บริโภคกลับมาได้ โดยที่รัฐบาลไม่เข้าไปทำ�ตัวเป็นผู้ใช้จ่าย เพราะถ้าเราดูจากองค์ประกอบรายได้ประชาชาติ ในเมื่อการส่งออกตก การ บริโภคภายในประเทศก็ตก การลงทุนภาคเอกชนก็ตก ทีนี้ก็เหลืออยู่ตัวเดียว คือการใช้จ่ายของรัฐบาล ถ้ารัฐบาลไม่ใช้ เราจะดึงอุปสงค์รวมขึ้นมาได้อย่างไร ดิฉันเห็นด้วยว่าเราต้องระมัดระวัง แต่ถ้าเราไม่ทำ�อย่างนี้ โดยเปรียบ เทียบกับอีกนโยบายหนึ่งที่พอจะใช้ได้ คือนโยบายการเงิน ถ้าไม่ใช้นโยบาย การคลังขยายตัว ก็ใช้นโยบายการเงิน แต่สำ�หรับนโยบายการเงิน ธนาคารแห่ง ประเทศไทยก็พูดอยู่เสมอว่ามีข้อจำ�กัด ดิฉันจึงอยากจะถามความคิดเห็นของ อาจารย์ภาณุพงศ์ในเรื่องนี้ รศ.ดร.สมศักดิ์ แต้มบุญเลิศชัย ก่อนทีอ่ าจารย์ภาณุพงศ์จะตอบ ผมขอนิดหนึง่ ครับ อาจารย์ปราณีพดู ถึงปี 1997 จริงๆ แล้ว IMF เสนอให้ทำ�ตรงกันข้าม คือรัฐบาลควรจะลดภาษี มูลค่าเพิ่ม ควรจะลดการใช้จ่าย เพื่องบประมาณจะได้เกินดุล เราเรียนมาตอนเศรษฐศาสตร์ 1 ตอนที่เรามี Automatic Stabilizer ตอนทีเ่ ศรษฐกิจแย่ รัฐบาลต้องเพิม่ การใช้จา่ ยด้วยการเก็บภาษีนอ้ ยลง แต่ IMF มาเสนอให้รัฐบาลลดการใช้จ่ายเพื่อให้มี Fiscal Surplus เอกชนก็ไม่ลงทุนอยู่ แล้ว ค่าเงินบาทก็ทำ�ให้คนเป็นหนีเ้ ยอะแยะอยูแ่ ล้ว ธนาคารก็ลม้ บริษทั ต่างๆ ก็ ล้ม แต่ IMF กลับเสนอว่าเราจะต้องลดการใช้จ่ายของภาครัฐบาล ลดสวัสดิการ ลดอะไรต่ออะไร คือตอนนัน้ เราคุยกันในห้อง 403 อาจารย์สพุ จน์ (รศ.ดร.สุพจน์ จุนอนันตธรรม) กับผมก็บอกว่า ทำ�อย่างนี้แย่นะ ปัญหาก็คือ เรามีวิกฤตตรงนี้ ความเห็นควรจะเป็นอย่างไร ถ้าเรา ไม่มี Stimulus Package โดยรัฐบาล ผมก็เป็นคนหนึ่งที่ไม่เห็นด้วยกับการนำ� เอากองทุนเงินสำ�รองระหว่างประเทศมาใช้ จริงๆ แล้วตอนนี้เรามีทุนสำ�รองอยู่ เยอะ แต่การเอามาใช้จะยิง่ ทำ�ให้เสียวินยั ไปอีก ยิง่ รัฐบาลมีเงิน ยิง่ ล้วงได้ลว้ งเอา ถ้าเป็นรัฐบาลที่ไม่มีวินัยทางการคลังก็อันตราย คำ�ถามก็คือ ถ้าตอนนี้รัฐบาล ไม่ใช้จ่าย จะทำ�อย่างไร ถ้ารัฐบาลจะเพิ่มการใช้จ่าย จะทำ�อย่างไร เดือนที่แล้วผมเพิ่งไปที่ชิคาโกมา เขาวิพากษ์วิจารณ์นโยบายของ โอบามาอย่างรุนแรงมาก ความเห็นของนักเศรษฐศาสตร์ชิคาโกเห็นว่า เรา เศรษฐธรรม :: รวมบทปาฐกถากีรตยาจารย์แห่งเศรษฐศาสตร์ธรรมศาสตร์


273

ไม่ต้องทำ�อะไรทั้งสิ้น เศรษฐกิจมันจะกลับคืนมาเอง เพราะฉะนั้นการไปกระตุ้น ด้วยเงิน 7-8 แสนล้านเหรียญ จะไปสร้างปัญหาขึ้นมา แล้วทางเราจะเห็นอย่าง นั้นไหม สมมติถ้ารัฐบาลจะต้องมีการกระตุ้น จะกระตุ้นอย่างไร จะขึ้นภาษีก็ ไม่ได้ ถ้าไม่ก่อหนี้ เราจะทำ�อย่างไร ผมคิดว่าวิธีของโอบามาก็อาจจะรุนแรงไปหน่อย คือไปกู้จากธนาคาร กลางก่อน มีการเพิ่มปริมาณเงินในระบบ แต่ตอนนี้ถ้าหากเราคิดว่า หนึ่ง เรา ต้องกระตุ้นเศรษฐกิจ สอง เราจะกระตุ้นอย่างไร โดยไม่ให้เสียวินัยทางการคลัง อย่างที่อาจารย์พูด แต่ที่สำ�คัญกว่านั้นคือ ถ้ารัฐบาลไม่ทำ�อะไร แล้วคิดว่ามันจะ ทำ�ให้ความเชื่อมั่นของธุรกิจหรือประชาชนดีขึ้นหรือเปล่า เพราะตอนนี้รัฐบาล ไม่ได้ทำ�อะไรเลย เศรษฐกิจแย่อยู่แล้ว เราจะทำ�อย่างไร ศ.ดร.ปราณี ทินกร นโยบายที่ IMF เสนอ เขายอมรับว่าเขาเสนอยาผิด แล้วหลังจากทีม ประชาธิปัตย์ออกไป ทีมไทยรักไทยเข้ามาใช้ Stimulus Package เศรษฐกิจ จึงฟื้น รศ.ดร.ภาณุพงศ์ นิธิประภา ในปี 1997 เป็นช่วงที่ประเทศอื่นๆ ในโลกไม่ได้รับผลกระทบทาง ด้านเศรษฐกิจ เพราะฉะนั้นเมื่ออัตราแลกเปลี่ยนกลับมาอยู่ที่ควรจะเป็นแล้ว ก็กระตุ้นการส่งออกได้ แต่ในปัจจุบัน ผมตอบได้เลยว่า ถ้าจะช่วยเหลือด้าน สินเชื่อให้กับผู้ส่งออกเพื่อกระตุ้นการส่งออก ช่วยเหลือด้านอัตราแลกเปลี่ยน ถามว่าจะส่งออกไปไหน นอกจากดาวอังคาร เพราะทุกคนต่างก็หันไปซื้อของ ในบ้านทั้งนั้น แล้วจะส่งออกไปไหน แน่นอน เราจะต้องใช้นโยบายการคลัง ที่พูดนี่ไม่ได้หมายความว่าไม่ต้องทำ�อะไรเลย แต่ผมหมายถึงถ้าจะใช้ ต้องคำ�นึงว่าได้ผลสูงสุดหรือเปล่า ตรงเป้าหรือเปล่า ถ้าหากกระจายเงินลงไปทุก หมูบ่ า้ น จะได้โครงสร้างพืน้ ฐานทีย่ งั่ ยืน แล้วมีผลกระทบต่อส่วนรวมอย่างยัง่ ยืน หรือเปล่า เรื่องนี้ไม่ได้อยู่ที่ว่าควรใช้งบประมาณขาดดุลหรือไม่ขาดดุล ไม่ได้อยู่ ที่ว่าจะกระตุ้นเศรษฐกิจหรือไม่ แต่อยู่ที่ว่าจะกระตุ้นอย่างไรให้ตรงเป้า และใช้ จ่ายเงินให้ถูกต้อง ผมได้ชี้ให้เห็นแล้วว่า ถ้าหากสัดส่วนการลงทุนในงบประมาณทั้งหมด ภาณุพงศ์ นิธิประภา


274

เหลือแค่ 12 เปอร์เซ็นต์ สิ่งที่ตามมาคือ ในอนาคตเราจะเดือดร้อน เราจะไม่อยู่ บนรากฐานที่แข่งกับคนอื่นได้ เพราะเราไม่มีโครงสร้างพื้นฐาน มันอยู่ที่การ ใช้จ่ายเงินด้วย ด้วยเงินที่เรามีอยู่ เราลงทุนไปกับโครงการพื้นฐานเท่าไร สิ่ง เหล่านี้จะยั่งยืนมากกว่า ทีอ่ าจารย์พดู ถึง IMF ตอนนัน้ เป็นทีย่ อมรับกันว่า ยาทีใ่ ห้นนั้ แรงเกินไป และมีการใช้งบประมาณสมดุล ซึ่งจริงๆ แล้วเศรษฐกิจตกตํ่าต้องใช้งบประมาณ ขาดดุล แต่ขาดดุลนั้นเกิดจากรายรับทีล่ ดลงโดยอัตโนมัตนิ ั่นเอง นีค่ อื กลไกการ ลดประสิทธิภาพโดยตรง การใช้จา่ ยทีเ่ พิม่ ขึน้ ก็เป็นเรือ่ งทีด่ ี แต่คำ�ถามคือ ขนาด ไหนถึงจะพอเพียง สิง่ ทีน่ า่ เสียใจก็คอื ถ้าเราฟังการอภิปรายในสภา ไม่มใี ครพูด ถึงปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงเลย คนที่เคยพูดถึงเรื่องนี้ พอพูดถึงงบประมาณ ต่างๆ ไม่มีใครพูดถึงเรื่องนี้เลย สำ�หรับทุนสำ�รองเงินตราต่างประเทศที่เพิ่มขึ้น เพิ่มขึ้นเพราะเราไป แทรกแซง ทีผ่ มจะพูดก็คอื ในอนาคต เงินบาทจะต้องแข็งขึน้ ไปอีก เพราะฉะนัน้ ถ้าหากว่าเก็บเงินสำ�รองในรูปของดอลลาร์ไว้มากๆ สุดท้ายเมื่อค่าเงินบาทแข็ง ขึ้น ก็จะเกิดการขาดทุนขึ้นมาอีกในอนาคต ผู้ส่งออกก็จะได้รับผลกระทบจาก ค่าเงินบาทที่แข็ง ถ้าหากทางการต้องการช่วยผู้ส่งออกโดยให้ค่าเงินบาทอ่อน บางที การช่วยอยู่ตลอดนี้อาจจะทำ�ให้ผู้ส่งออกเคยตัวได้เหมือนกัน ไม่สามารถยืนอยู่ บนขาตัวเองได้ ถ้าเราทำ�อะไรแล้วมีคนคอยช่วยเหลืออยู่ตลอดเวลา ก็จะติด เป็นนิสัยเหมือนกัน ถ้าประท้วงขอขึ้นค่าจ้าง เมื่อที่หนึ่งทำ�ได้ อีกที่ก็ต้องทำ�ได้ เช่นกัน ก็เกิดเป็นนิสัยที่ไม่ดี เลียนตามแบบกันไป เพราะฉะนั้นวินัยจึงถือเป็น เรื่องสำ�คัญ บางครั้งกฎระเบียบต่างๆ ก็เป็นเรื่องสำ�คัญ ในบางกรณี เช่น การ เกิดวิกฤต แน่นอนว่าต้องมีการกระตุ้นเศรษฐกิจ มีนโยบายการคลังแบบขยาย ตัว แต่ก็ต้องมีแผนที่แน่นอนว่าจะทำ�อย่างไรให้งบประมาณสมดุลได้ในอนาคต หากยังไม่มีแผนเหล่านั้น เพียงแต่อ้างลอยๆ ว่า เมื่อเศรษฐกิจฟื้นขึ้นมาแล้ว 5 เปอร์เซ็นต์ จะทำ�ให้งบประมาณกลับขึน้ มาได้ บางครัง้ ก็ไม่คอ่ ยแน่ใจในคำ�พูด ของนักการเมืองเท่าไร เราคงต้องฟังหูไว้หูเหมือนกัน รศ.ดร.ปัทมาวดี ซูซูกิ เศรษฐธรรม :: รวมบทปาฐกถากีรตยาจารย์แห่งเศรษฐศาสตร์ธรรมศาสตร์


275

ที่อาจารย์พูดถึงเรื่องการใช้จ่ายที่ตรงเป้าหรือเกิดประสิทธิผล อาจจะ หมายถึงว่าควรจะใช้จ่ายเรื่องอะไร พออาจารย์พูดถึงเรื่องความเป็นธรรม แสดงว่าการใช้จ่ายเป็นเรื่องที่เราต้องคำ�นึงถึงความเป็นธรรมหรือเปล่า เช่น สมมติว่าประสิทธิภาพในการใช้จ่ายน่าจะเป็นเรื่องของการลงทุน และก็ลงทุน ในโครงสร้างพื้นฐาน ก็หมายความว่าควรจะเป็นโครงสร้างพื้นฐานที่มันมีผล ต่อคนถ้วนหน้า ไม่ใช่มีผลต่อคนเพียงบางพื้นที่ หรือเฉพาะในเขตเมือง อย่างนี้ ใช่ไหมคะ นั่นคือประเด็นที่หนึ่ง ประเด็นที่สองก็คือ จริงๆ แล้วมีการลงทุนหรือ การใช้จ่ายอีกแบบหนึ่ง คือการใช้จ่ายเชิงพื้นที่ แทนที่จะเป็นเชิงประเด็น การ ใช้จ่ายเชิงพื้นที่อาจมองได้ว่าเป็นการกระจายที่เป็นธรรมมากกว่าหรือเปล่า ทีนี้ถ้าหากมองย้อนกลับมา ในต่างประเทศ เวลาเกิดวิกฤตเศรษฐกิจ อย่างกรณีของญี่ปุ่น นอกจากรัฐบาลกลางจะเป็นผู้ใช้จ่ายแล้ว การใช้จ่ายของ ท้องถิ่นก็ค่อนข้างมีความสำ�คัญ คำ�ถามก็คือ สำ�หรับประเทศไทย ในอนาคต อาจมีวิกฤตเกิดขึ้นอีก ถ้ามองในเชิงพื้นที่ ซึ่งเชื่อว่าน่าจะมีการดูแลการใช้จ่าย อย่างทั่วถึง และไม่กระจุกตัวเฉพาะรัฐบาลกลางส่วนเดียว ความเข้มแข็งของ ท้องถิน่ เป็นประเด็นทีน่ า่ จะทำ�ในช่วงนีด้ ว้ ยใช่หรือไม่คะ มีสองประเด็นนะคะ คือ เรือ่ งประสิทธิภาพในการใช้จา่ ยกับเรือ่ งความเป็นธรรม จะมองเชือ่ มกันอย่างไร รศ.ดร.ภาณุพงศ์ นิธิประภา ก็อาจจะวัดเรือ่ งประสิทธิภาพในการใช้จา่ ยจากผลกระทบทางด้านการ ขยายตัวของเศรษฐกิจและของรายจ่ายประเภทต่างๆ สำ�หรับสหรัฐฯ ถ้ามีการ ใช้จ่ายเพื่อการป้องกันประเทศเพิ่มขึ้น มีการค้นคว้าวิจัยในเรื่องการสร้างอาวุธ ยุทโธปกรณ์ ผลจากการศึกษานั้นสามารถนำ�มาพัฒนาอุตสาหกรรมผลิตอาวุธ เพื่อส่งออก นั่นย่อมเป็นประโยชน์ แต่รายจ่ายบางอย่าง ถ้าเรามีสัดส่วนการ นำ�เข้าค่อนข้างสูง ก็จะไม่ทำ�ให้รายได้ขยายตัว นี่เป็นสิ่งที่ต้องระวัง สำ�หรับการใช้นโยบายการคลัง คงต้องเข้าใจว่าถ้าเรามีเป้าหมายเพื่อ กระตุ้นเศรษฐกิจ เครื่องมือก็เป็นอย่างหนึ่ง แต่ถ้าเรามีเป้าหมายเพื่อความเป็น ธรรม เครื่องมือก็อาจจะต้องเป็นอีกอย่างหนึ่ง ประเด็นก็คือ จะทำ�อย่างไรให้ เศรษฐกิจฟื้นตัว สมมติว่าพรุ่งนี้จะมีการชุมนุมที่สนามหลวง แล้วเกิดเรื่องวุ่นวายขึ้น ความเชื่อมั่นก็จะไม่มี และหากเห็นว่าบ้านเมืองยังมีปัญหา ก็จะมีการประท้วง ภาณุพงศ์ นิธิประภา


276

อยู่ตลอดเวลา สิ่งเหล่านี้เป็นปัญหาที่บั่นทอนเสถียรภาพของสังคมไทยอย่าง มาก นี่เป็นเรื่องที่อยู่นอกเหนือความสามารถของนักเศรษฐศาสตร์ แต่เป็นเรื่อง ของนักการเมืองทั้งหลาย สำ�หรั บ เครื่ อ งมื อ ทางด้ า นภาษี ที่ จ ะใช้ มี ก ารพู ด คุ ย กั น เรื่ อ งภาษี ทรัพย์สนิ และทีด่ นิ แต่สงิ่ เหล่านีก้ เ็ ป็นทีเ่ ข้าใจกันว่า เมือ่ ถึงเวลาทีจ่ ะออกมาเป็น กฎหมาย มันจะมีแรงต้านค่อนข้างมากจากผู้ที่มีสินทรัพย์ เพราะฉะนั้นก็เป็น เรื่องจริงว่า ถ้าผลประโยชน์สูงมาก นโยบายและกฎหมายก็จะไม่ได้ออกมาเพื่อ ผลประโยชน์ส่วนรวม โอกาสที่จะเห็นภาษีมรดก ภาษีทรัพย์สินในอัตราที่สูง ก็จะมีน้อยลง แต่นั่นเป็นเครื่องมือที่เพิ่มเติมนอกเหนือจากการใช้จ่ายที่จะลงไป ยังที่ต่างๆ เรื่องการใช้จ่ายตามพื้นที่ต่างๆ ผมมีความเห็นว่าคงจะต้องระมัดระวัง อย่างมาก ถ้าหากเงินไปกระจุกตามพื้นที่ จะเป็นการเพิ่มอำ�นาจให้กับนัก การเมืองท้องถิ่น ทำ�ให้มีโอกาสที่จะกินตามนํ้า ปัญหาก็คือ ถ้าเราไม่สามารถ แก้ ปั ญ หาเหล่ า นี้ ไ ด้ ก็ จ ะกลายเป็ น ว่ า ผลประโยชน์ มั น ไม่ ต กไปถึ ง มื อ ของ ประชาชนนั่นเอง รศ.สุขุม อัตวาวุฒิชัย ผมคิดว่าในด้านงบประมาณ ถ้าเราดูเฉพาะงบประมาณของรัฐ 1.7 ล้าน ล้านบาท ผมคิดว่าเรื่องการก่อสร้าง งบลงทุนจากประมาณ 30 กว่าเปอร์เซ็นต์ แล้วลดลงมาเหลือ 10 กว่าเปอร์เซ็นต์ จริงๆ แล้ว 10 กว่าเปอร์เซ็นต์นั้น ถ้ามี การใช้อย่างไม่รั่วไหล บางทีอาจจะดีกว่า 30 เปอร์เซ็นต์ แต่มีการรั่วไหล อาจารย์ทวีปบอกว่า โครงการใหญ่ๆ พวกขนส่งมวลชนสาธารณะ 8 แสนล้าน ผมสงสัยจริงๆ ว่า พอสร้างเสร็จแล้ว ทั้งสังคมได้ไปเท่าไร ส่วนที่ หายไปเป็นเรื่องสำ�คัญมาก อาจารย์พูดถึงเรื่องการคอร์รัปชัน ผมคิดว่าเราจะ ไม่มองการเมืองไม่ได้เลย เพราะทุกวันนี้การเข้ายึดอำ�นาจรัฐก็ผ่านการเลือกตั้ง ที่มีการใช้เงิน เราจะเห็นได้เลยว่า โครงการใหญ่ๆ ที่ออกมานั้น พรรคการเมือง ก็จะถูกตั้งข้อสงสัยว่า 20 เปอร์เซ็นต์นั้นเอาไปเท่าไร แล้วเงินนี้ก็จะถูกใช้เพื่อ เข้าสู่อำ�นาจรัฐ ผมเดินทางไปต่างจังหวัด ผมก็สงสัยว่าทำ�ไมต้องซ่อมถนนกันทุกปี ผมคิดว่ามันสูญเสียมาก เราจะไม่ให้ความสนใจเรื่องการรั่วไหลไม่ได้เลย แต่ข้อ เศรษฐธรรม :: รวมบทปาฐกถากีรตยาจารย์แห่งเศรษฐศาสตร์ธรรมศาสตร์


277

สำ�คัญคือ มันไม่มีเจ้าทุกข์ เพราะเจ้าของเงินไม่สนใจ แต่คนทำ�นั้นชอบ เราจะ เห็นได้วา่ นีเ่ ป็นเรือ่ งใหญ่ และผมก็คดิ ว่าบทบาทของวิชาชีพทัง้ หลายจะเข้าไปมี ส่วนช่วยตรวจสอบ ช่วยค้านนักการเมืองได้อย่างไร เพราะสุดท้ายแล้ว อำ�นาจ ในการตัดสินใจอยู่ในมือของนักการเมืองทั้งนั้น ประเทศไทยเรา ชะตาชีวิตอยู่ ในมือของคน 400-500 คนเอง แล้วใน 400-500 คนนี้ เราก็แทบจะรับบางคน ไม่ได้ ผมคิดว่าเราจะมองข้ามสิ่งเหล่านี้ไม่ได้ มันไม่ใช่แค่ว่ามีเงินลงไปเท่าไร อย่างเรื่องการศึกษา ครั้งหนึ่งมีการซื้อคอมพิวเตอร์แจกโรงเรียน ทั่วประเทศไทย พอเราไปโต้แย้งความคิดของเขา เขาก็บอกว่าทำ�ไมโรงเรียน ในชนบทจะไม่มีโอกาสได้บ้าง แต่ไปดูสิครับ มีโรงเรียนอยู่เยอะแยะที่ไม่มีไฟฟ้า ใช้ แต่คุณจะส่งคอมพิวเตอร์ไปให้ เขาต้องการจัดซื้อเอาไว้ก่อน เสร็จเรียบร้อย แล้วค่อยว่ากัน ทุกโรงเรียนมีห้องปฏิบัติการทางภาษา แต่ซื้อมาจากจีน ถาม ว่าใช้ได้นานเท่าไร เวลาเสียเวลาซ่อมก็ไม่ค่อยมีคนสนใจ ผมคิดว่าเราจะมอง ข้ามประเด็นเหล่านี้ไม่ได้ และผมก็คิดว่าเรื่องการคอร์รัปชัน การขาดคุณธรรม จริ ย ธรรมของนั ก การเมื อ ง กำ�ลั ง เป็ น ที่ ย อมรั บ ของสั ง คมมากขึ้ น บางคน บอกว่า ช่างมันเถอะ คอร์รัปชันน่ะ เพราะพวกนี้ยังทำ�งาน ผมคิดว่าความคิด อย่างนีอ้ นั ตรายมาก ดีนะทีผ่ มไม่ได้เป็นวิศวกร ถ้าผมเป็นวิศวกร ผมคงอกแตก ตาย รศ.ดร.ภาณุพงศ์ นิธิประภา คำ�ตอบมีอยูแ่ ล้ว ผมเชิญท่านกีรตยาจารย์เข้าร่วมซักหน่อยได้ไหมครับ เชิญอาจารย์สมนึกครับ อาจารย์สุขุมถามอาจารย์มากกว่าถามผม ศ.ดร.สมนึก ตั้งเติมสิริกุล ผมขอตอบสั้นๆ สำ�หรับเรื่องถนน ไม่ใช่เรื่องของคุณภาพอย่างเดียว แต่ยังเกี่ยวข้องกับเรื่องการคอร์รัปชัน ในวงการก่อสร้างเราทราบกันอยู่แล้ว ผมเป็นวิศวกร ผมไม่ปฏิเสธ เพราะมีแน่นอน เพื่อนในวงการก็เยอะ ลองถาม ดูเลย ทุกรัฐบาล รัฐบาลชุดนี้กี่เปอร์เซ็นต์ เราจะรู้เลย แต่จะบนโต๊ะหรือใต้โต๊ะ เท่านั้นเอง ทุกชุดมีอยู่แล้ว ที่อาจารย์บอกว่า 20 เปอร์เซ็นต์ นั่นคือค่าเฉลี่ย ตอนนี้ผมยังไม่ได้ข่าวว่าชุดปัจจุบันมีค่าเฉลี่ยอยู่ที่เท่าไร แต่จริงๆ แล้วมีทุกชุด ทีนี้ปัญหาเรื่องถนน ต้องยอมรับว่า ถนนบ้านเราถูกออกแบบมาเพื่อ ภาณุพงศ์ นิธิประภา


278

รับนํ้าหนักระดับหนึ่ง แต่นํ้าหนักของรถที่วิ่งอยู่ไม่ใช่นํ้าหนักที่วิศวกรออกแบบ ตรงนี้เป็นปัญหา จะแก้ไขได้หรือเปล่าก็เป็นเรื่องที่เราต้องคิดต่อไปในอนาคต ถนนทั่วประเทศถูกออกแบบมาเพื่อรับนํ้าหนัก 21 ตัน แต่ที่วิ่งกัน จริงๆ มันเกินกว่านั้น แล้วถามว่าจับกันได้หมดไหม ก็จับกันได้ไม่หมด ปัญหา เรื่องถนนอยู่ตรงนี้ด้วย ไม่ได้อยู่ที่การคอร์รัปชันเพียงอย่างเดียว อย่างสะพาน ไทย-เบลเยียม เราสงสัยว่าทำ�ไมสะพานไทย-เบลเยียมถึงพังเร็วจัง เราก็ไป ติดเครื่องวัด ตอนกลางคืน ตำ�รวจหลับอยู่ วัดออกมาได้ 60 ตัน เกินไป 3 เท่า แล้วจะไม่พังได้ยังไง รศ.สุขุม อัตวาวุฒิชัย การคอร์รัปชันที่ผมพูดถึงไม่ใช่แค่นั้น ผมรู้จักคนที่ส่งปูน เขาต้องส่ง ปูนผ่าน 20 เขตโรงพัก เขาก็ต้องจ่าย 20 โรงพัก เขาจ่ายทำ�ไม ถ้าไม่จ่าย เขา ก็วิ่งไม่ได้ แล้ววันดีคืนดีก็ขอขึ้นอีก ผมคิดว่าไม่ใช่แค่ตำ�รวจหรอกครับ แต่เป็น ทั้งระบบรัฐบาล รศ.ดร.ทวีป ชัยสมภพ ผมคิดว่าก่อนอืน่ ผมต้องพยายามสร้างภาพลักษณ์ทดี่ ขี องวิศวกรโยธา เพราะผมมีปัญหามาก ผมกำ�ลังจะเป็นหัวหน้าภาคตั้งแต่วันที่ 1 กรกฎาคมนี้ มีงานใหม่คือทำ�อย่างไรจึงจะรับเด็กได้มากขึ้น นี่ก็เป็นประเด็นปัญหาด้าน ภาพลักษณ์ของเรา ในภาษาญี่ปุ่น คำ�ว่า ‘วิศวกรโยธา’ เขาใช้คำ�ว่า ‘โดโบขุ’ เขาใช้คำ�ว่า ‘ดิน’ กับ ‘ต้นไม้’ คือในญี่ปุ่นเองก็ต้องเปลี่ยนชื่อเป็น Infrastructure หรือ Social Engineering เพื่อที่จะให้เห็นว่าวิศวกรโยธาไม่ใช่อยู่กับแค่ดินหรือ ปูน แล้วภาพลักษณ์ของเราอีกอย่างคือเรื่องการคอร์รัปชัน วงการอื่นก็ มีบ้าง แต่อาจจะไม่เห็นในปริมาณมากมายเหมือนกับวงการก่อสร้าง ในภาพ รวมของประเทศ เราแย่มาก ผมก็มีแนวคิดว่าคงต้องพยายามทำ�อะไรซักอย่าง ในฐานะที่เป็นวิศวกร มีอยู่ครั้งหนึ่ง ในการสัมมนาของ ปปช. (คณะกรรมการ ป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ) ท่านอาจารย์เมธี ครองแก้ว ได้เสนอ ให้ทำ�โครงการวิจัยเรื่องการป้องกันการคอร์รัปชัน ก็เป็นเรื่องที่น่าสนใจ เพราะ เรื่องการคอร์รัปชันน่าจะมีหนทางป้องกัน เช่น เรื่อง e-Auction หรือ e-Bidding เศรษฐธรรม :: รวมบทปาฐกถากีรตยาจารย์แห่งเศรษฐศาสตร์ธรรมศาสตร์


279

อะไรพวกนี้ เป็นปัญหามากๆ เลย ทำ�ให้คอร์รัปชันได้ง่ายขึ้น ผมคิดว่าคงจะต้องพยายามอย่างที่อาจารย์ภาณุพงศ์บอก เราต้อง ทำ�ให้มีความเป็นธรรมในสังคมมากขึ้น และผมก็ยังเชื่อมั่นว่า องค์กรกลางที่ เกิดขึ้นทั้งหลายก็เฝ้ามอง ผมยังหวังว่ารัฐบาลคงพยายามที่จะหาหนทางลงทุน ด้านโครงสร้างพื้นฐาน อาจจะต้องยุบการรถไฟ หรือทำ�อะไรซักอย่าง แล้วให้ รฟม. (การรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนแห่งประเทศไทย) เข้าไปทำ�แทน แล้วก็ตั้ง ผู้ว่า รฟม. ที่มีศักยภาพจริงๆ เพื่อทำ�ให้มีการปฏิวัติในเรื่องนี้ อย่างญี่ปุ่นเขามี จุดเปลีย่ นตรงทีต่ อนนัน้ เขาทำ� Bullet Train ผูบ้ ริหารระดับสูงของหน่วยราชการ ที่ทำ�เรื่องรถไฟตัดสินใจเลย จะกู้เงินจากธนาคารโลก อินเดียก็เป็นอีกตัวอย่าง หนึ่ง ผู้ว่าการรถไฟของอินเดียอายุประมาณ 70 ปีแล้ว แต่ตั้งใจจะทำ�ให้ได้ และ ตอนนี้ก็เกือบจะเสร็จแล้ว อีกตัวอย่างหนึ่งคือจีน แต่เป็นตัวอย่างที่ไม่ค่อยดี เพราะมีพรรคเดียว จีนเขาทำ�ไปเลย ไม่สนอะไร ทำ�ไว้ก่อน แล้วเขาก็ให้คนรุ่นหลังมาซ่อม ถ้ามัน ไม่อยู่ อยู่ไม่ได้ โครงสร้างไม่ดี ก็ทุบ แล้วก็ทำ�ใหม่ คือเขาเดินหน้าอย่างเดียว แต่บ้านเรานี่ล้าหลัง เพราะมีการเมืองคอยฉุด ผมยังหวังว่าคงจะมีรัฐบาลซัก รัฐบาลหนึ่งที่ทุบโต๊ะทำ�เรื่องนี้ ไม่อย่างนั้นเราคงจะแย่แน่ รศ.ดร.สมศักดิ์ แต้มบุญเลิศชัย เรื่องงบประมาณด้านการศึกษา แน่นอนว่าการศึกษาไทยยังไม่มี ประสิทธิภาพ การที่งบประมาณด้านการศึกษาสูง องค์ประกอบของเงินเดือน ครูมีอยู่สูงมาก ก็มีหลายคนที่ให้ความคิดเห็นว่าน่าจะตัดงบประมาณด้านการ ศึกษา แต่ผมคิดว่าถึงอย่างไรบ้านเราก็ต้องมีการปรับปรุงเรื่องการศึกษา คง ไม่ใช่การไปลดงบประมาณ เมื่ อ วานผมไปฟั ง การสั ม มนาเรื่ อ งจี น จี น มี โ ครงการขนาดใหญ่ ประมาณ 20 ล้านล้านบาท หรือ 4 ล้านล้านหยวน ในเวลา 2-3 ปี ใช้กระตุ้น อย่างมียุทธศาสตร์ ตอนนี้จีนพึ่งการค้าระหว่างประเทศ ทำ�ให้มีทุนสำ�รองสะสม เยอะ เพราะฉะนั้นจีนเลยต้องการกระตุ้นเศรษฐกิจในประเทศ โดยเฉพาะพื้นที่ ยากจน และต้องการสร้างโครงสร้างพื้นฐาน เงินทุนสำ�รองที่มีอยู่ก็เอาไปลงทุน มีบริษัทไปลงทุนเรื่องวัตถุดิบ เรื่องสินค้าโภคภัณฑ์ เพราะฉะนั้นจีนค่อนข้าง จะมียุทธศาสตร์ที่ชัดเจนว่าจะกระตุ้นเศรษฐกิจอย่างไร ภาณุพงศ์ นิธิประภา


280

ผมดูจากโครงการที่บอกว่า 1.7 ล้านล้านบาท ตอนนี้เหลือประมาณ 1.4 ล้านล้านบาท ผมก็คิดว่ามีทิศทางที่สอดคล้องกับทางด้านนี้ ถ้ามองในแง่ การสร้างโครงสร้างพื้นฐาน การสาธารณสุข และการศึกษา เพียงแต่ว่ารัฐบาล ไม่ได้บอกว่าเป็นยุทธศาสตร์ แต่ผมเกรงว่ายังมีรายละเอียดตรงนี้น้อย แล้วจะ เกิดการต่อรองระหว่างพรรคการเมือง แต่ถ้าดูจากทิศทางใหญ่แล้วๆ ผมคิดว่า ถ้าเรามีการใช้จ่ายและกระตุ้นเศรษฐกิจ ขณะเดียวกันเราก็ต้องส่งเสริมความ สามารถในการแข่งขันของประเทศในระยะยาวไปด้วย ผมก็คิดว่านี่เป็นสิ่งที่ควรจะทำ� เพราะหากผลิตตอนนี้ก็ไม่รู้ว่าจะเอา ไปขายให้ใคร แต่ถ้าอีก 2-3 ปี เศรษฐกิจโลกฟื้นตัว แล้วเราไม่มีอะไรเลย ไม่ได้ เตรียมกำ�ลังคน โครงสร้างพื้นฐาน หรือความสามารถด้านการผลิต เราก็คงจะ ลำ�บากเหมือนกัน เพราะฉะนั้นสองสิ่งนี้อาจจะทำ�ไปด้วยกันได้ ในระยะสั้น เรา อาจจะแจกเงิน 2,000 บาทเพื่อที่จะกระตุ้นเศรษฐกิจ แต่ในระยะยาว เราจะต้อง มามองดูวา่ ในอีก 2-3 ปีขา้ งหน้า เราจะต้องทำ�อะไรบ้าง ผมคิดว่าตรงนีเ้ ป็นเรือ่ ง ที่ควรจะพิจารณา รศ.ดร.ภาณุพงศ์ นิธิประภา ผลตอบแทนของการลงทุนในด้านการศึกษาจะไม่เห็นผลทันตา ผล ต่อการเจริญเติบโตจะใช้เวลานาน และโดยเฉลี่ยแล้วแรงงานไทยใช้เวลาศึกษา อยู่ในโรงเรียนไม่เกิน 10 ปี เพราะฉะนั้นเราไม่สามารถไปแข่งกับเขาได้ นี่เป็น ความจริงที่ต้องยอมรับ สำ�หรับในหลายๆ ประเทศ อย่างเช่นญีป่ นุ่ เขาเปิดประเทศพร้อมๆ กับ เรา คือในสมัยเมจิ ซึง่ ตรงกับสมัยรัชกาลที่ 5 ของเรา ไทยและญีป่ นุ่ เปิดประเทศ ไล่เลีย่ กัน และระยะเวลาทีก่ ษัตริยป์ กครองประเทศก็ใกล้เคียงกัน แต่ทำ�ไมญีป่ นุ่ จึงแตกต่างจากไทย คำ�ตอบก็คือ เราเริ่มต้นผิด ในช่วงเริ่มต้น ประมาณปี พ.ศ. 2400 กว่าๆ ญี่ปุ่นส่งคนไปเรียน ต่างประเทศ 6,000 กว่าคนแล้ว พวกนีเ้ ป็นพวกลูกหลานซามูไรชัน้ ตํา่ เราก็สง่ คน ไปเรียนเหมือนกัน แต่ส่งไปเพื่อที่จะกลับมาเป็นข้าราชการ ญี่ปุ่นส่งคนไปเรียน ทางด้านวิทยาศาสตร์ 80 กว่าเปอร์เซ็นต์ แต่ของเราเน้นทางด้านสังคมศาสตร์ การทีญ ่ ปี่ นุ่ หรือเกาหลีใต้มกี ารเจริญเติบโตอย่างเท่าเทียมกันทางด้าน สังคมและการกระจายรายได้ นั่นก็เป็นเพราะการศึกษานั่นเอง การศึกษาเปิด เศรษฐธรรม :: รวมบทปาฐกถากีรตยาจารย์แห่งเศรษฐศาสตร์ธรรมศาสตร์


281

โอกาสให้คนเติบโตขึ้นมาได้ ดูอย่างประธานาธิบดีโอบามา เขาสามารถขึ้นมา ได้เพราะการศึกษา ในระยะยาว ถ้าการศึกษามีประสิทธิภาพจริง การกระจาย รายได้ของเราก็จะไม่มีปัญหา ศ.ดร.ปราณี ทินกร สำ�หรับการขยายตัวทางเศรษฐกิจ เราจำ�เป็นทีจ่ ะต้องรักษาเสถียรภาพ โดยเฉพาะเสถียรภาพทางด้านราคา แต่การรักษาเสถียรภาพทางด้านราคา ดิฉันก็ไม่ค่อยแน่ใจว่าควรจะเป็นราคาระดับไหน ยกตัวอย่างเช่น ถ้าเราดู ในโลกขณะนี้ มีเพียงแค่ 20 ประเทศที่ใช้นโยบายเป้าหมายเงินเฟ้อเพื่อรักษา เสถียรภาพทางด้านราคา และในกลุ่มนี้จะมีกลุ่มหนึ่งที่เป็นประเทศพัฒนาแล้ว เป้าหมายของเขาคือควบคุมอัตราเงินเฟ้อให้อยู่ในเกณฑ์ 1-3 เปอร์เซ็นต์ ส่วน ประเทศด้อยพัฒนาอื่นๆ จะมีเป้าหมายในกรอบ 2-6 เปอร์เซ็นต์ ความแตกต่าง ตรงนีเ้ นือ่ งจากประเทศด้อยพัฒนามีศกั ยภาพในการการเติบโตมากกว่าประเทศ ที่พัฒนาแล้ว เพราะยังมีทรัพยากรอีกหลายอย่างที่จะพัฒนาได้ แต่ในกรณีของ ประเทศไทย ธนาคารแห่งประเทศไทยใช้นโยบายเป้าหมายเงินเฟ้อโดยกำ�หนด กรอบอยูท่ ี่ 0-3 เปอร์เซ็นต์ และดิฉนั ก็เคยให้ความคิดเห็นว่าตํา่ ไป แล้วเมือ่ เร็วๆ นี้เขาเพิ่งจะเพิ่มขึ้นมาจาก 0 เป็น 0.5 ไปถึง 3 เปอร์เซ็นต์ ดิฉันอยากถามความ เห็นของอาจารย์ภาณุพงศ์วา่ กรอบเป้าหมายเงินเฟ้อทีท่ างการไทยใช้อยูต่ อนนี้ มีความเหมาะสมมากน้อยแค่ไหน รศ.ดร.ภาณุพงศ์ นิธิประภา ตามความเห็นของผม เป้าหมายเงินเฟ้อใช้ในประเทศที่มีอัตราแลก เปลี่ยนที่เคลื่อนไหวขึ้นลงได้อย่างเสรี เพราะแต่ก่อน อัตราเงินเฟ้อของบ้านเรา จะขึ้นอยู่กับสหรัฐฯ เพราะอัตราแลกเปลี่ยนผูกติดกัน แต่บางครั้งอัตราเงินเฟ้อ ของบ้านเราจะถูกกระทบจากปัจจัยภายนอก โดยเฉพาะอย่างยิ่งราคานํ้ามัน ถ้าหากอัตราแลกเปลี่ยนไม่มีการเปลี่ยนแปลง เราก็จะรับเงินเฟ้อมาเต็มๆ น่าสังเกตว่าเป้าหมายเงินเฟ้อในประเทศไทยไม่ใช่เป้าหมายเงินเฟ้อ ตามที่เราเข้าใจกัน แต่เป็นเป้าหมายเงินเฟ้อที่ยืดหยุ่น ในการตอบสนองของ อัตราดอกเบี้ยของธนาคารกลางต่อเงินเฟ้อที่เบี่ยงเบนไปจากเป้าหมาย ในแง่ ของผลผลิตทีเ่ บีย่ งเบนไปจากเป้าหมาย ความจริงแล้วเขายังมีตวั แปรของอัตรา ภาณุพงศ์ นิธิประภา


282

แลกเปลี่ยนอยู่ด้วย เพราะฉะนั้นมันไม่ใช่อัตราเงินเฟ้อที่แท้จริง มันมีเป้าหมาย ของอัตราแลกเปลี่ยนอยู่ด้วย ในแง่หนึ่ง ทางการก็ต้องการช่วยผู้ส่งออก แต่อีกแง่หนึ่งก็ต้องการให้ เงินเฟ้อตํ่า แต่ถ้าช่วยผู้ส่งออก ถ้าเราเห็นค่าเงินบาทขึ้นไปถึง 30 บาท ไม่ต้อง ห่วงหรอกว่าเราจะเก็บภาษีนํ้ามันไปเท่าไร ก็เป็นลักษณะได้อย่างเสียอย่าง แต่ ประเด็นที่ผมอยากจะพูดอีกครั้งก็คือ จะต้องมีเรื่องความรับผิดชอบด้วย ใคร ก็ตามที่ทำ�หน้าที่ดำ�เนินนโยบายต่างๆ ถ้าสัญญาไว้ว่าจะจ้างงานได้ 5 ล้านคน หรือ 1.5 ล้านคน ได้รับเงิน ได้รับฉันทามติ ได้รับงบประมาณไปแล้ว ถ้าทำ� ไม่ได้จะว่ายังไง ในบางประเทศ ถ้าธนาคารไม่สามารถอยู่ภายใต้กรอบนี้ได้ จะต้อง ถูกพิจารณา เช่น กรณีของนิวซีแลนด์เป็นต้น แต่บ้านเรา สังเกตว่าเป้าหมาย เงินเฟ้อที่ว่าคือเงินเฟ้อพื้นฐาน ไม่ใช่เงินเฟ้อที่เราเจอตอนที่เราเดินไปซื้อ ก๋วยเตี๋ยว มันคนละแบบกัน แต่สิ่งสำ�คัญต่อตัวเรา ต่อผู้บริโภคทุกคน ก็คือ เงินเฟ้อทีเ่ ห็นอยู่ ทีป่ รากฏอยู่ เงินเฟ้อทีเ่ ป็นเป้าหมายของทางการได้ลบเงินเฟ้อ ทีม่ าจากอาหารและเงินเฟ้อทีเ่ กิดจากพวกพลังงานออกไป แต่ทงั้ เงินเฟ้อพืน้ ฐาน และเงินเฟ้อที่เราเจอมีความเกี่ยวเนื่องกัน ผมมองว่า การให้อัตราแลกเปลี่ยนเปลี่ยนแปลงไปตามความเป็นจริง เป็นเรื่องที่ดี บางครั้งการที่เราติดกับของที่ไม่เปลี่ยนแปลง ทำ�ให้เราเคยชิน ไม่ ย อมเปลี่ ย นแปลง ดั ง นั้ น ก็ จ ะกลายเป็ น ชิ น กั บ ค่ า เงิ น ที่ ไ ม่ เ ปลี่ ย นแปลง ซึง่ ก็จะเป็นผลเสีย เราเคยชินกับอัตราแลกเปลีย่ นทีไ่ ม่เปลีย่ นแปลง นัน่ คือต้นตอ ของปัญหา และเราก็ไม่เปลี่ยนพฤติกรรม จนกระทั่งบัดนี้ก็ยังมองเห็นความ สำ�คัญของอัตราแลกเปลี่ยนคงที่ ถ้าทุกอย่างคงที่ สมมติว่ารายได้ของคณะคงที่ ตลอดเวลา เราก็คงไม่อยากทำ�อะไร แต่ถา้ หากรายได้ของคณะหรือมหาวิทยาลัย ไม่คงที่ เราก็คงต้องคิดจะทำ�อะไรซักอย่าง เหมือนกับทำ�ให้เกิดการกระตุ้น รศ.สุขุม อัตวาวุฒิชัย อาจารย์ภาณุพงศ์พูดถึงระบบอัตราแลกเปลี่ยนแบบลอยตัว ถ้าอย่าง นั้นเมืองไทยพร้อมหรือยังที่จะเลิกระบบอัตราแลกเปลี่ยนแบบลอยตัวภายใต้ การจัดการ คือเงินสำ�รองประมาณหนึ่งแสนสองหมื่นกว่าล้านบาทไม่ได้เกิด จากการค้าระหว่างประเทศเพียงอย่างเดียว แต่อาจเกิดจากการแทรกแซงของ เศรษฐธรรม :: รวมบทปาฐกถากีรตยาจารย์แห่งเศรษฐศาสตร์ธรรมศาสตร์


283

ธนาคารแห่งประเทศไทยในยามที่ค่าเงินบาทแข็งก็ได้ โดยได้ดอลลาร์มาจาก การซื้อดอลลาร์แล้วขายบาท เพราะฉะนั้นถ้าเราปล่อยให้ลอยตัว แล้วเกิด ผลดีอย่างที่อาจารย์ว่า มันถึงเวลาหรือยังที่เราจะเลิกระบบอัตราแลกเปลี่ยน แบบลอยตัวภายใต้การจัดการ ค่าเงินบาทจะแข็งหรืออ่อนก็ขึ้นอยู่กับภาวะ เศรษฐกิจ อาจารย์คิดอย่างไร รศ.ดร.ภาณุพงศ์ นิธิประภา ผมพยายามที่จะโยงนโยบายการคลังกับอัตราแลกเปลี่ยน นั่นน่าจะ เป็นบทความอีกบทความหนึ่ง ความจริงผมตั้งใจที่จะพูดถึงเรื่องนั้นด้วย เพียง แต่พดู เรือ่ งยาวให้เป็นเรือ่ งสัน้ บางครัง้ เราสามารถดูได้งา่ ยๆ ว่ามีการแทรกแซง หรือเปล่าจากเงินทุนสำ�รองต่างประเทศ ถ้าหากเงินทุนสำ�รองต่างประเทศ เพิ่มขึ้น แสดงว่ามีการแทรกแซง แต่เป็นที่เข้าใจกันว่าภาคส่งออกเป็นภาคที่ สำ�คัญ เพราะฉะนัน้ เราจะปล่อยให้คา่ เงินบาทแข็งเกินไปไม่ได้ แต่ความจริงแล้ว ทุกๆ บาทที่เราส่งออกไป เรานำ�เข้าเท่าไร ฉะนั้น Net Value Added มีตํ่ามาก บางครัง้ ก็ตอ้ งคำ�นึงว่าค่าเงินบาททีแ่ ข็งขึน้ ก็สง่ ผลดีตอ่ ผูน้ ำ�เข้า ซึง่ ก็จะมีผลทาง ด้านรายได้ด้วย ถ้าจะโยงเข้ากับนโยบายการคลังก็คือ ค่าใช้จ่ายบางอย่าง เช่น ค่า ใช้จ่ายในการป้องกันประเทศ ก็มีการศึกษาพบเหมือนกันว่าเป็นตัวการทำ�ให้ ค่าเงินแตกต่างไปจาก Purchasing Power Parity1 นั่นก็คือ ถ้าใช้จ่ายเพิ่มมาก ขึ้น ความสามารถในการแข่งขันก็จะลดลง

Purchasing Power Parity (PPP) หรือ ความเท่าเทียมกันของอำ�นาจซื้อ คือค่าประมาณ สำ�หรับอัตราแลกเปลี่ยนที่จำ�เป็นสำ�หรับอำ�นาจซื้อของสกุลเงินที่แตกต่างกัน 1

ภาณุพงศ์ นิธิประภา


284

บรรณานุกรม Akerlof, G. A., and Shiller, R.J. (2009). Animal Spirits. Princeton, NJ: Princeton University Press Alesina, A. and Perotti, R. (1996) “Fiscal discipline and the budget process”, American Economic Review, 86(2), 401-406. Bardhan, P. (1997). “Corruption and development: A review of issues”, Journal of Economic Literature, 35(3), 1320–1346. Buchanan, J. and Wagner, R. (1977) Democracy in Deficit. Amsterdam: Academic Press. Dunne, P. and Perlo-Freeman, S. (2003) “The demand for military spending in developing countries”, International Review of Applied Economics, 17(1), 23-48. Hibbs, D. (1977) “Political Parties and Macroeconomic Policy”, The American Political Science Review, 71: 1467–1487. Mauro, P. (1995) “Corruption and Growth”, The Quarterly Journal of Econo mics, 110 (3), 681–712. Nordhaus, W. (1975) “The Political Business Cycle”, Review of Economic Studies, 42: 169–190. Pieroni, L. and Agostin, G. (2008) “Military Spending, Corruption and Economic Growth”, Peace Economics, Peace Science and Public Policy, 14(3), 1-12. Rodrik, D. (1999) “Where did All the Growth Go? External Shocks, Social Conflict, and Growth Collapses”, Journal of Economic Growth, 4 (4), 385-412. Rogoff, K. (1980) "Equilibrium Political Budget Cycles", American Economic Review, 80(1), 21-36. Sachs, J. (1989) “Social Conflict and Populist Policies in Latin American,” Work ing Paper No. 2897 (Cambridge, Massachusetts: NBER). Yakovlev, P. (2007) “Arms Trade. Military Spending and Economic Growth,” Defence and Peace Economics, 18(4), August, 317–338. เศรษฐธรรม :: รวมบทปาฐกถากีรตยาจารย์แห่งเศรษฐศาสตร์ธรรมศาสตร์


285

ภาณุพงศ์ นิธิประภา


286

รายชื่อหนังสือในโครงการ “เศรษฐ’ธรรมศาสตร์ ตลาดวิชา” คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ร่วมกับ สํานักพิมพ์ openbooks

1. ชุดเศรษฐ’ธรรมศาสตร์ คลาสสิก (ECON TU Classics Series) (1) 20 ป ปาฐกถาพิเศษ ปวย อึ๊งภากรณ์ (2550) หนังสือ รวบรวมบทปาฐกถาพิเศษ ปวย อึ๊งภากรณ์ ครั้งที่ 1-10 (พ.ศ. 25302550) (2) 60 ป เศรษฐกิจไทย 60 ป เศรษฐศาสตร์ธรรมศาสตร์ (2551) หนังสือรวบรวมบทความวิชาการชิ้นสําคัญเรื่องเศรษฐกิจไทย โดย 14 อาจารย์คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ เนือ่ งใน วาระครบรอบ 60 ปีของคณะ (3) “...เศรษฐศาสตร์จึงตองเปนเศรษฐศาสตร์การเมือง” (2552) หนั ง สื อ รวบรวมบทความเศรษฐศาสตร์ ก ารเมื อ งของ ทวี หมื่นนิกร (4) เศรษฐธรรม (2553) รวมบทปาฐกถากีรตยาจารย์แห่ง เศรษฐศาสตร์ธรรมศาสตร์

เศรษฐธรรม :: รวมบทปาฐกถากีรตยาจารย์แห่งเศรษฐศาสตร์ธรรมศาสตร์


287

2. ชุดเศรษฐ’ธรรมศาสตร์ สัมมนา (ECON TU Seminar Series) (1) CRISIS: วิกฤตเศรษฐกิจโลก วิกฤตเศรษฐกิจไทย (2552) (2) U.S. CRISIS: วิกฤตเศรษฐกิจสหรัฐอเมริกา (2552) (3) วิพากษ์โลกเศรษฐศาสตร์ (2552) (4) MICROFINANCE และ การเงินชุมชน (2552) 3. ชุดเศรษฐ’ธรรมศาสตร์ วิชาการ (ECON TU Academics Series) ( 1 ) เ ศ ร ษ ฐ ศ า ส ต ร์ ก า ร เ มื อ ง แ ล ะ ส ถ า บั น สำ� นั ก ท่าพระจันทร์ (2552) (2) Macrotrends: ภูมิทัศน์เศรษฐกิจโลกใหม่และการปรับตัว ของไทย (2552)

ภาณุพงศ์ นิธิประภา


288

เศรษฐธรรม :: รวมบทปาฐกถากีรตยาจารย์แห่งเศรษฐศาสตร์ธรรมศาสตร์



Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.