หนังสือข่าวทหารอากาศ ฉบับเดือน เมษายน 2554

Page 1



“...ที่จริงแลว ทั้งนักเรียนโรงเรียนจิตรลดา และโรงเรียนอื่นก็ตาม คือในระดับ เดียวกัน ปจจุบันนี้ก็สอนอยูในระดับที่คลายคลึงกันทั้งสิ้น ก็ไดถือวาไดมีโอกาส เลาเรียน ในขณะที่เพื่อนรวมชาติหลายคน คือเปนเด็กในวัยเดียวกันนี้ ที่เขาไมมี โอกาสจะศึกษาตอ แมแตในระดับประถมศึกษา หรือมัธยมศึกษาก็ยังคงมีอีกมาก ...ที่เขาไมไดรับประโยชน หรือไมไดเกิดมาโชคดีเหมือนเรานั้นยังมีอีกมาก เราก็ควร จะทําใหดีที่สุด เรียนดีที่สุด เพื่อตอไปนี้ก็จะไดชวยเหลือเกื้อกูลกับผูที่ไมมีโอกาส เทาเรา...”

พระราชดํารัส ของ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ในโอกาสเสด็จฯแทนพระองคไปพระราชทานประกาศนียบัตร และรางวัลแกนกั เรียนโรงเรียนจิตรลดา ประจําปการศึกษา ๒๕๓๖ ณ ศาลาผกาภิรมย โรงเรียนจิตรลดา วันอาทิตยที่ ๑๓ มีนาคม ๒๕๓๗


สองเมษายนมงคลสมัย องคสยามบรมราชกุมารี พระบารมีปรีชาพาสุขสันต รับสนองงานองคพระทรงชัย ราษฎรรอนใจในทุกถิ่น เชนน้ําทวมขาวปลาพระการุณย คราวทุกขยากทั่วไปพระทัยมั่น เชนพืชไรพืชสวนมวลพันธุปลา การศึกษาทั่วไปพระทัยมั่น แมพระเณรเลาเรียนพากเพียรมนต ทรงเขาถึงทศธรรมแมล้ําลึก ทรงละเมียดเกียรติสตรีปรีชาชาญ พระทรงเปนขวัญใจไทยทุกทิศ แมตางชาติตางแดนแควนใดใด อีกพระคุณนานาสารพัด มีเปนอเนกอนันตอยางมั่นคง ขอคุณพระไตรรัตนจรัสศรี โปรดคุมครองทูลกระหมอมพรอมเพรียงพลัน

ขวัญชาติไทยบรรเจิดเลิศราศี ทิพยมณีจากฟามาสูไทย คุณอนันตพระกรุณาพาสดใส ทั่วถิ่นไทยซาบซึ้งถึงพระคุณ ไดยลยินทรงชวยเหลือดวยเกื้อหนุน โปรดเจือจุนพันธุขาวแกชาวนา โปรดจัดสรรสิ่งของที่ตองหา เพื่อประชาเปนสุขไรทุกขทน เชื่อมสัมพันธศิลปศาสตรประกาศผล แนะฝกฝนเทศนธรรมใหชํานาญ ทรงตกผลึกวิถีไทยอยางไพศาล ทรงชํานาญแมกวีดนตรีไทย เปนมิ่งมิตรทั้งไทยเทศเขตวิสัย ตางจับจิตจับใจในพระองค ปฏิบัติทั่วแผนดินถิ่นประสงค สมนามองค “สิรินธร” บวรวรรณ เทพทั่วฟาธาตรีที่สรางสรรค พระมิ่งขวัญขอพระองคทรงพระเจริญ

ดวยเกลาดวยกระหมอม ขาพระพุทธเจา คณะผูจัดทําหนังสือขาวทหารอากาศ (น.อ.เกษม พงษพันธ ประพันธ)


วันที่หกเมษายนดลสมัย ระลึกถึงจํานงองคจักรี องคพระพุทธยอดฟาจุฬาโลก ปฐมกษัตริยจักรีวงศองคสําคัญ พระทรงสรางกรุงไกรวิสัยทัศน ทรงเปนปราชญศาสตรซึ้งเขาถึงทรวง บานเมืองไทยไพศาลตระการรัตน ชนชาติไทยยอดเยี่ยมเปยมศรัทธา ทํานุบํารุงไพรฟาประชาราษฎร เปนปกแผนแนนรักประจักษกาล พระเกียรติคุณพูนผลเปนลนเกลา ประวัติศาสตรชาติไทยวิไลตา สมพระนามมหาราชจรัสฟา สมบุญญาบารมีศรีแผนดิน สูสวรรคาลัยไปนานแลว ขอคุณพระคุณเจาของชาวไทย

ประชาไทยนบพระองคพระทรงศรี พระบารมีเกริกฟามาชานาน สรางผลโภคแกไทยอยางไพศาล สิริวรรณสดใสไทยทั้งปวง โปรดสรางวัดสรางวังดังแดนสรวง ในแดดวงศรัทธาธรรมพระสัมมา บานวังวัดแจมใสไรปญหา เนื่องบุญญาบารมีที่ประทาน พระปรีชาสามารถชาติวิศาล ราชสมภารในพระองคดํารงมา ชาวไทยเฝารําลึกและศึกษา ดวยบุญญาบารมีศรีแผนดิน สมคุณคาปฐมวงศองคคุณศิลป ทั่วทุกถิ่นนึกนอมอยางพรอมใจ ยังเพริดแพรวในจิตพิสมัย สถิตใดคุมพระองคจงนิรันดร

ดวยสํานึกในพระมหากรุณาธิคุณ ขาพระพุทธเจา คณะผูจัดทําหนังสือขาวทหารอากาศ (น.อ.เกษม พงษพันธ ประพันธ)


กองทัพอากาศชาติไทยในวันนี้ ภารกิจเหนียวแนนทั่วแดนไทย นับตั้งแตเริ่มตนบนความหวัง ไดดูแลนานฟาอยางถาวร ชื่อและเสียงเกรียงไกรไปทุกถิ่น ระเบียบวินัยเขมขนเลิศผลงาน เทิดทูนชาติศาสนาพาสุขศานต เทิดความดียึดมั่นกตัญุตา นอกจากเกียรติเกรียงไกรไปพรอมสรรพ คอยชวยเหลือประชาชนทุกหนไป วันที่เกาเมษาเวียนมาถึง ตางตั้งจิตมุงหวังตั้งกมล ทั้งทวยเทพเทวาทั่วสารทิศ บรรพบุรุษทั้งปวงดวงมณี ใหดํารงสิริวรรณอันสดสี เกียรติ ทอ. ชัชวาลตระการไกล

เกียรติศักดิ์ศรีบรรเจิดเลิศสมัย ดูแลใหนานฟาสถาพร เสริมพลังใหทหารชาญสมร ทุกขั้นตอนประสิทธิ์ลนดวยผลงาน ทั่วแผนดินชื่นชมสมสถาน ไทยชื่นบานวางใจในคุณา องคภูบาลจงรักเปนนักหนา สมคุณคาทหารดีมีวินัย รอบที่มั่นผูกมิตรเปนวิสัย แมฝนหลวงดวยหวงใยในชาติชน ชาวไทยซึ่งชื่นชมอุดมผล พรมงคลพระไตรรัตนสวัสดี สิ่งศักดิ์สิทธิ์ทั่วไทยในราศี มวลเจาที่ทุกทิศประสิทธิ์ชัย ลาภทวียศจํารูญพูนไสว สุดสดใสสุขสวัสดิ์พิพัฒนเทอญ

ดวยเทิดมั่นกตัญู คณะผูจัดทําหนังสือขาวทหารอากาศ (น.อ.เกษม พงษพันธ ประพันธ)


1

ข่าวทหารอากาศ คณะผู้จัดทำหนังสือข่าวทหารอากาศ

หนังสือข่าวทหารอากาศ

เจ้าของ กองทัพอากาศ

ทีป่ รึกษา พล.อ.อ.สมศักดิ์ วรฉัตร พล.อ.ท.ประพัตรา ตัณฑ์ไพโรจน์ พล.อ.ต.หญิง มาลี ดิษฐบรรจง พล.อ.ต.หญิง สุมาลี ฤทธิบตุ ร

ผูอ้ ำนวยการ พล.อ.ท.ดิเรก พรหมประยูร เจ้ากรมยุทธศึกษาทหารอากาศ

ความเป็นมา หนังสือข่าวทหารอากาศ เป็นนิตยสารรายเดือนของ กองทัพอากาศ เริ่มดำเนินการเมื่อปี พ.ศ.๒๔๘๓ ขึ้นกับกรม ข่ า วทหารอากาศ มี น าวาอากาศเอก สกล รสานนท์ เป็ น บรรณาธิ ก ารคนแรก ดำเนิ น การโดยทุ น ของข้ า ราชการ ทหารอากาศ ต่อมาปี พ.ศ.๒๔๙๘ ได้โอนกิจการมาอยู่ในความ อำนวยการของกรมยุ ท ธศึ ก ษาทหารอากาศ ตามคำสั ่ ง ทอ. (เฉพาะ)ที่ ๕๘๐/๙๘ ลง ๒๓ ธ.ค.๒๔๙๘ มีเจ้ากรมยุทธศึกษา ทหารอากาศ เป็นผูอ้ ำนวยการ ตามคำสัง่ ทอ.(เฉพาะ) ที่ ๕/๙๙ ลงวันที่ ๗ ม.ค.๒๔๙๙ ภารกิจ

รองผู้อำนวยการ

ดำเนิ น กิ จ การหนั ง สื อ ข่ า วทหารอากาศ ให้ เ ป็ น ไป ตามนโยบายของกองทั พ อากาศ มี ผ ู ้ อ ำนวยการหนั ง สื อ ข่ า ว ทหารอากาศ (จก.ยศ.ทอ.) เป็นผูบ้ งั คับบัญชารับผิดชอบ

พล.อ.ต.ยงยุทธ หาบุบผา เสนาธิการกรมยุทธศึกษาทหารอากาศ น.อ.ประเสริฐ ช่างประเสริฐ รองเสนาธิการกรมยุทธศึกษาทหารอากาศ ผูจ้ ดั การ ผูช้ ว่ ยผูจ้ ดั การ

วัตถุประสงค์/นโยบายกองทัพ ๑. เพือ่ เพิม่ พูนความรูใ้ นกิจการทัว่ ๆ ไป ๒. เพือ่ แลกเปลีย่ นแสดงความคิดเห็นในด้านการทหาร การเมือง เศรษฐกิจ สังคมจิตวิทยา และวิทยาศาสตร์เทคโนโลยี อันจะเป็นประโยชน์ ต่อส่วนรวม ๓. เพือ่ เผยแพร่กจิ การกองทัพอากาศ

น.อ.สหัสชัย มาระเนตร น.ท.ชาญยุทธ รัตนสาลี

กองบรรณาธิการ

น.ท.พินจิ นุชน้อมบุญ

นโยบายการดำเนินงานในปัจจุบัน ๑. เป็นสือ่ กลางในการแลกเปลีย่ น แสดงความคิดเห็น ทีเ่ ป็นประโยชน์ในการพัฒนากองทัพและส่วนรวม ๒. เรือ่ งทีน่ ำลงในหนังสือข่าวทหารอากาศ * ต้องไม่ขดั ต่อวัตถุประสงค์/นโยบาย กองทัพอากาศ ทีก่ ำหนด * ต้องไม่กระทบกระเทือนต่อความมัน่ คงของชาติ บุคคล หรือส่วนรวม * ความยาวของเรือ่ งไม่ควรเกิน ๕ ตอน แต่ละตอน ไม่ควรเกิน ๕ หน้า * ต้องได้รบั การพิจารณาและเห็นชอบจากคณะ กรรมการพิจารณาเรือ่ งของสำนักงานหนังสือข่าวทหารอากาศ

นาง พรทิพย์ ศรีวรพงษ์

กำหนดการเผยแพร่ นิตยสารรายเดือน

บรรณาธิการ พล.อ.ท.ดิเรก พรหมประยูร ผู้ช่วยบรรณาธิการ น.อ.หญิง พัชรา ภัทรสุวรรณ น.อ.หญิง นภิศพร สังข์ทอง

ประจำกองบรรณาธิการ น.ท.หญิง กาญจณา แตงฉ่ำ น.ท.หญิง วรรณิภา ยีป่ ระชา พ.อ.อ.ชัยชนะ โสระสิงห์

น.ท.นิพนธ์ ก่อสินค้า น.ต.สินธพ ประดับญาติ

กองจัดการ น.ท.สมพร สิงห์โห ร.ท.หญิง สุมาลี สายะนันท์ พ.อ.อ.ประจวบ วีระชนม์ พ.อ.อ.สมศักดิ์ เพียรประเสริฐ จ.อ.หญิง เศาวณี พ่านเผือก สำนักงานหนังสือข่าวทหารอากาศ กรมยุทธศึกษาทหารอากาศ แขวงสนามบิน เขตดอนเมือง กทม.๑๐๒๑๐ โทร. ๐-๒๕๓๔-๔๔๗๑, ๐-๒๕๓๔-๔๒๔๑ Fax. ๐-๒๕๓๔-๔๔๗๑

พิมพ์ท่ี โรงพิมพ์กองทัพอากาศ ดอนเมือง แขวงสนามบิน เขตดอนเมือง กทม. ๑๐๒๑๐ โทร.๐-๒๕๓๔-๒๙๔๓ , ๐-๒๕๓๔-๕๑๔๘

ค่าสมาชิกภายนอก ปีละ ๓๕๐ บาท (รวมค่าส่ง) สัง่ จ่าย ปณ. คลองถนน ๑๐๒๒๒ ความคิดเห็นของผูเ้ ขียนในหนังสือฉบับนีไ้ ม่มส ี ว่ นผูกพันกับทางราชการแต่ประการใด

ออกแบบปก : น.ต.สินธพ ประดับญาติ

http://www.rtaf.mi.th หรือ E-mail : rtafmag@gmail.com


1

ปีท่ี ๗๑ ฉบับที่ ๔ เดือน เมษายน ๒๕๕๔

สารบัญ บทบรรณาธิการ

๘ ธ สถิตในใจประชา ...ตามรอย ๑๑ ปฏิบตั กิ ารของทหารไทยในงานพระราชสงคราม ๑๔ ๒๐ ๒๕ ๓๒ ๓๗ ๔๕ ๕๐ ๕๒ ๕๗ ๖๐

ณ ประเทศฝรัง่ เศส พ.ศ.๒๔๖๑ ...พล.อ.อ.สมศักดิ์ วรฉัตร “บี ๒๙” ถูกยิงเหนือน่านฟ้าไทย เป็นเครือ่ งแรก โดยฝีมอื ใคร? ...พล.อ.ต.ปรีชา ประดับมุข รอยอดีต ทอ. ...นายสติ วันคล้ายวันสถาปนา กรมช่างอากาศ ครบรอบ ๘๙ ปี ...ปชส.ชอ. ๗๐ ปี วันคล้ายวันสถาปนา กองบิน ๖ ...ปชส.บน.๖ การครองอากาศ ...Gp.Capt.Cesky เครือ่ งบินขับไล่ JAS-39 C/D Gripen กองทัพอากาศแอฟริกาใต้ ...พ.อ.อ.จำนงค์ ศรีโพธิ์ วัตถุมงคล ของชาว ทอ. “ศิษย์ทหารอากาศ” ...น.อ.อภิชัย ศักดิ์สุภา โรงเรียนนายเรืออากาศในฝัน ...น.อ.หญิง ทิพยรัตน์ สีเพชรเหลือง ปริศนาอักษรไขว้ ...มีน พูดจาประสาหมอพัตร “สวัสดี - ปีเถาะ” ...หมอพัตร

๑๐๐

๖๔ ภาษาไทยด้วยใจรัก ๖๙ ๗๓ ๗๕ ๘๐

๘๕ ๙๑ ๙๗ ๑๐๒

๑๐๔ ๑๐๕

“สำนวนคำเดียว” ...นวีร์ Test Tip Part 9 ...Runy เวลาการ์ตนู ...มิสกรีน ครูภาษาพาที : Present Simple Tense ...ศูนย์ภาษา การป้องกันและระงับเหตุฉุกเฉิน จากการก่อการร้ายด้วยอาวุธอานุภาพ ทำลายล้างสูง (WMD) และอุบตั ภิ ยั จากสารเคมีและวัตถุอันตราย ...ร.ท.วรรณลพ ลำพูลน้อย การใช้จรวดในเชิงยุทธศาสตร์ของอาเซียน ...วิหกเหินฟ้า จับตาการเมืองพม่า เดินหน้าหรือถอยหลัง ...น.อ.จิโรตม์ มณีรตั น์ ความต้องการในระดับอุดมศึกษา ของคนไทยมุสลิม ...Pharoah งานแสดงเทคโนโลยี การสัมมนา และ การสร้างเครือข่ายสำหรับอุตสาหกรรม ป้องกันประเทศและการรักษาความปลอดภัย แห่งเอเชีย ...สปท. เฉลย CROSSWORD ประจำเดือน มกราคม 2554 ...อ.วารุณี ในรัว้ สีเทา


สวัสดี สมาชิกข่าวทหารอากาศทุกท่าน กรุงเทพมหานคร อมรรัตนโกสินทร มหินทรายุธยา มหาดิลกภพ นพรัตนราชธานี บุรีรมย อุดมราชนิเวศนมหาสถาน อมรพิมานอวตารสถิต สักกะ หัตติยวิษณุกรรมสิทธิ์ เป็นชื่อของเมืองหลวงของประเทศเรา กรุงเทพมหานคร เป็นนามที่ไพเราะ มีความหมายถึงความ ยิ่งใหญ่และความงดงาม เป็นมรดกล้ําค่าทางศิลปวัฒนธรรมที่บรรพบุรุษได้สร้างสรรค์ไว้เมื่อ ๒๒๙ ปีที่ผ่านมา ในวันที่ ๖ เมษายน พ.ศ.๒๓๒๕ เป็นวันที่สมเด็จเจ้าพระยามหากษัตริย์ศึก ได้รับการอัญเชิญให้ขึ้นเสวยราชย์ฯ เป็นพระเจ้าแผ่นดินต่อจากรัชสมัยของสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช(พระเจ้ากรุงธนบุรี) เถลิงถวัลยราชสมบัติ เป็นปฐมกษัตริย์แห่งพระบรมราชจักรีวงศ์ พระองค์ได้ทรงสถาปนากรุงเทพมหานครขึ้นเป็นเมืองหลวงของ ประเทศไทยแทนกรุงธนบุรี แล้วพระราชทานนามพระนครใหม่ว่า กรุงรัตนโกสินทร์อินท์อโยธยา ต่อมา พระบาทสมเด็ จ พระนั่ ง เกล้ า เจ้ า อยู่ หั ว (รั ช กาลที่ ๓) ทรงแก้ น ามพระนครใหม่ เ ป็ น กรุ ง เทพมหานคร อมรรัตนโกสินทร์ มหินทอยุธยา ในสมัยพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (รัชกาลที่ ๔) ทรงเปลี่ยนคําว่า มหินทอยุธยา เป็น มหินทรายุธยา และเติมสร้อยคําต่อ จนมีนามเต็มดังข้างต้นมาจนถึงปัจจุบัน กรุงเทพมหานครซึ่งเป็นเมืองหลวงของเรา ได้ผ่านกาลเวลาโดยมีความเจริญรุ่งเรืองมาโดยตลอด ด้วย พระบารมีและพระปรีชาสามารถในพระมหากษัตริยาธิราชแห่งพระบรมราชจักรีวงศ์ และคงต้องเป็นหน้าที่ของ เราทุกคนที่จะต้องรวมพลังสามัคคีในการที่จะดูแลรักษากรุงเทพฯ ของเราให้คงดํารงไว้ให้สมกับความหมาย ชื่อดังกล่าวตลอดกาลนาน... วันที่ ๒ เมษายน เป็นวันคล้ายวันพระราชสมภพ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ผู้ทรงเป็นพระมิ่งขวัญของปวงชนชาวไทย ทรงปฏิบัติพระราชกรณียกิจมากล้นเหลือคณานับ ทรงอุทิศกําลัง พระวรกาย พระปรีชาสามารถนานัปการ เพื่อประโยชน์สุขแก่พสกนิกรชาวไทยตลอดมา ด้วยสํานึกในพระมหากรุณา ทางราชการจึงกําหนดให้วันที่ ๒ เมษายน เป็น “วันอนุรักษ์มรดกไทย” เรื่องในฉบับ....เรื่อง เครื่องบินขับไล่ JAS-39 C/D Gripen กองทัพอากาศแอฟริกาใต้ จะได้ทราบเหตุผลที่ แอฟริกาใต้ต้องทําการพัฒนาอาวุธยุทโธปกรณ์และโครงการพัฒนาอาวุธสําหรับเครื่องบินขับไล่ Gripen ใช้เอง ....เรื่อง การป้องกันและระงับเหตุฉุกเฉินจากการก่อการร้ายด้วยอาวุธอานุภาพทําลายล้างสูง (WMD) และอุบัตภิ ยั จากสารเคมีและวัตถุอันตราย ทําให้ทราบถึงอาวุธอานุภาพทําลายล้างสูงคืออะไร และมีอะไรบ้าง มีหลักการ ในการปฏิบัติตนเบื้องต้นในการป้องกันตนเองอย่างไร นอกจากนี้ยังมีเรื่องอื่นๆ ประจําฉบับที่มีสาระประโยชน์ อีกมากมาย เชิญพลิกอ่าน บรรณาธิการ


ตามรอย

ความรูสึกของเพื่อนมนุษยมาใหเราแขงความรูสึกที่ เหตุการณเหลานั้นไดกอขึ้น ภาพถายของพระบาทสมเด็จ พระเจาอยูหัว แสดงถึงความสนพระราชหฤทัยในการ เปนไปของคนและความหวงใยทุกขสุขของราษฎร...” หมอมเจาการวิก จักรพันธ ทรงนิพนธไวใน สารคดีเรื่อง พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวกับศิลปะ การวาดและภาพถาย

“ภาพเปนกระจกเงาสะทอนใหเห็นอุปนิสัย จิตใจ และบุคลิกลักษณะของศิลปนผูสราง ภาพถาย นั้น แมจะเปนภาพขาวดํา ไมมีสีรุนแรงมาเสริมกําลัง ก็ อาจสรางบรรยากาศที่แสดงใหเห็นวาผูถายใฝใจ พัวพันอยูกับเรื่องที่ถายมาใหดู นักถายประเภททํา โปสการ ด มั ก จะรั ก ความสวยงามของทิ ว ทั ศ น นักถายเหตุการณจะนําภาพสดๆ รอนๆ ถายทอด


ภาพเชนนี้คือภาพที่ราษฎรไทยเห็นเจนตา ภาพพระบาทสมเด็ จ พระเจ า อยูหั ว เสด็ จ พระราชดําเนินไปทรงงานในทองถิ่นตางๆ พรอมดวย แผนที่ แ ละกล อ งที่ ค ล อ งไว ที่ พ ระศอ ในขณะที่ ทรงงานสํารวจพื้นที่ พรอมทั้งทรงซักถามขาราชการ ในทองถิ่น จะทรงหยุดและหยิบกลองมาทรงถายภาพ เปนระยะๆ โดยทรงใชภาพถายเปนหลักฐานและ นํามาศึกษาเพื่อพระราชทานคําแนะนําแกหนวยงาน ที่เกี่ยวของ เพื่อการวางแผนและดําเนินการพัฒนา ในแนวทางที่เหมาะสมสงเสริมซึ่งกันและกัน

พระราชอั ธ ยาศั ย โปรดในการถา ยภาพนี้ มีติดพระองคมาแตยังทรงพระเยาว แมวัตถุประสงค ที่ทรงถายภาพนั้นจะตางไปตามกาลเวลา นับตั้งแต

เพื่อศึกษาเรื่องกลอง การใชกลองถายภาพหลากประเภท เลนสตางๆ แบบ เริ่มตั้งแตการถายภาพจิตรศิลป จนมาในระยะหลั ง นี้ เ พื่ อ ประโยชน ใ นการพั ฒ นา ประเทศก็ตาม หม อ มเจ า การวิ ก จั ก รพั น ธ ทรงนิ พ นธ ไ ว ด ว ยว า พระบาทสมเด็ จ พระเจ า อยู หั ว ทรงโปรด ภาพธรรมดา ถายด วยกล องธรรมดา เลนสธรรมดา ที่ ติ ด มากั บ กล อ ง ส ง ให ใ ครล า งและขยายก็ ไ ด จะทรงใชการดัดแปลงอยางเดียว คือตัดขอบออก บางดาน หรือทุกดาน เพื่อใหองคประกอบบังคับตา ใหวนอยูในรูป และตองกลับมาที่จุดสําคัญทุกทีไป รูปถายนั้นจะแสดงความรูสึกของชางภาพไดเปน อยางดี

คณะกรรมการบริหารของสมาคมถายภาพ แหงประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ ไดเคยเขาเฝา ใตฝาละอองธุลีพระบาท กราบบังคมทูลรายงาน


กิจกรรมของวงการถายภาพหลายครั้ง คณะกรรมการ ไดมี บัน ทึ กไว ว า พระบาทสมเด็จ พระเจา อยู หัว มี พระราชดํารัสเตือนใจใหระลึกอยูเสมอวาการถายภาพ เป น งานศิ ล ปะ เป น ของดี มี ป ระโยชน ขออย า ให ธรรม

ถายภาพกันเพื่อความสนุกสนานหรือความสวยงาม เท า นั้ น จงใช ภ าพให เ กิ ด คุ ณ ค า แก สั ง คมให เ ป น ประโยชนแกสวนรวม งานศิลปะจะไดชวยพัฒนา ประเทศชาติใหเจริญกาวหนาไดอีกแรงหนึ่ง

(ขอมูล : สํานักงานเสริมสรางเอกลักษณของชาติ สํานักเลขาธิการนายกรัฐมนตรี)


ที่มา :- ดุสิตสมิตเลม ๖ ฉบับพิเศษ-ฉบับที่ ๖๖ (มกราคม – กุมภาพันธ – มีนาคม พ.ศ.๒๔๖๒) “เพื่อเปนการเคารพตอผูเขียนรายงาน จึงขอคงไวซึ่งอักขระวิธีตามตนฉบับ”

(ตอจากฉบับที่แลว) โรงเรียนดัดตน ตําบลออลเดอรชอตในประเทศอังกฤษ โรงเรียนฝกหัดดัดตนตําบลออลเดอรชอต (Aldershot), ตั้งอยู ณ กรุงลอนดอนในมณฑล แฮมปเชียร (Hampshire); เปนโรงเรียนสําหรับรับ นายทหารและนายสิบพลทหารตามกรมกองมาฝกหัด การดัดตน ฟนดาบ แทงปน มวยและการมวยปล้ํา ตางๆ, เพื่อไดกลับไปเปนครูฝกหัดทหารในกรมกอง ของตนตอไป พระเฉลิมอากาศ

การปกครอง โรงเรียนดัดตนตําบลออลเดอรชอต นายพันโท อาร.อี.เรย. (Lieutenant Colonel R.E. Rey) เปนผูบังคับการ. ผูดูแลนายทหารและ

พล.อ.อ.สมศักดิ์ วรฉัตร รวบรวม นายสิบพลทหารที่ไปเลาเรียนในครั้งนั้น, มีนายรอยโท แฉง ประจันบาน เปนหัวนา. ไปถึงโรงเรียนเมื่อวันที่ 2 เมษายน,พ.ศ. 2462, เสร็จจากการศึกษาและการ ทําความชํานาญเมื่อวันที่ 10 กรกฎาคม,พ.ศ. 2462. การฝกหัดและเลาเรียน การเรี ย นนั้ น เรี ย นเฉภาะในสิ่ ง ที่ เ กี่ ย วกั บ การฝก หัด โดยมาก. สว นการฝก หัดมีการหั ดแทง ป น ยาว ฟ น ดาบ ต อ ยมวย การปล้ํ า การดั ด ตน การกิฬา, นอกจากนี้นายทหารไดฝกหัดแทงปนสะปริง (Bayonet fencing or Bayonet training) เปนพิเศษ ดวย. ผู ที่ ไ ปเล า เรี ย นได รั บ ใบประกาศนี ย บั ต ร ทั่วทุกคน, นอกจากนั้นบางคนก็ไดรับถวยเงินหรือ เหรียญเปนรางวัลอีกดวย. ครั้งหนึ่งบรรดานายสิบพลทหารที่ไปเลาเรียน นี้, ไดแสดงการดัดตนตางๆ สมทบกับทหารฝรั่งที่


โรงลครโอลิมเปย (Olympia) ในกรุงลอนดอนดวย. นี้เปนโรงลครของคณะนักรบ, แสดงเรื่องคลายคลึง กับตํานานเสือปาของเรา, เลนเก็บเงินเพื่อบํารุง การทหารจากผูที่เขาดู. โรงเรียนวิทยุโทรเลข ตําบลเซสสอง โรงเรียนเซสสอง (Cesson), ตั้งอยูใกลเคียง เมืองฟองเตนโบล ในประเทศฝรั่งเศส; เปนโรงเรียน สําหรับจะสอนผูที่จะใชวิทยุโทรเลขบนเครื่องบิน. นายรอยตรี เชียร บุณยะพุกณะ ผูไปเลาเรียน กับลามที่ไปดวย, ถึงโรงเรียนเมื่อวันที่ 16 พฤษภาคม, เสร็ จ การเรี ย นและการทํ า ความชํ า นาญเมื่อวั น ที่ 9 กรกฎาคม,พ.ศ.2462 ; ขึ้นอยูในบังคับบัญชา นายรอยเอก ติแอรแบรต (Capitaine Tierbert), ซึ่ง เปนผูบังคับการโรงเรียน. การเลาเรียนนั้นคือ, เรียนการใช, การปรับ, การแกไขในบางสวนของเครื่องเทานั้น. เขาประจํากองรอยของฝรั่งเศส ที่ไปยึดดินแดนราชศัตรู บรรดานักบินทั้งหลาย, ทั้งนักบินขับไลและ นักบินทิ้งระเบิดที่ไดไปบินทําความชํานาญ ณ คาย การบินที่เมืองแปรธ เพื่อจะไดบรรจุเขากองบินรบ, ไดเ ข า ประจํ า อยู กับ กองร อ ยเครื่ อ งบิ น ต า งๆ ของ ฝรั่งเศสที่ทําการยึดดินแดนราชศัตรูอยูนั้นดังนี้ :นักบินขับไลแบงออกเปน 2 พวก; พวกหนึ่ง ไปประจํ า กั บ กองร อ ยเครื่ อ งบิ น ขั บ ไล ที่ ตํ า บล อะเซโลด (Azelot), คือกรมที่ 1. อีกพวกหนึ่งไป

ประจําอยูกับกองรอยเครื่องบินขับไลที่ตําบลโฟรลวาร (Froloir), คือกรมที่ 2, ตําบลทั้ง 2 ที่กลาวนี้อยูใน มณฑลลอเรน. ตอมาเมื่อวันที่ 7 พฤษภาคม,พ.ศ.2462 พวกขับไลซึ่งประจําอยูที่โฟรลวารยายไปประจําที่ เมืองสปร (Spire), เมืองหลวงของมณฑลปาลาตินาต (Palatinat), ครั้นเมื่อใกลจะเซ็นสัญญาเลิกรบ, (ในระหวา งนั้ น ยัง ไม ทราบแน ว า จะตกลงหรื อไม ) พวกนี้ ไ ด ไ ปทํ า การขั ด ตาทั พ อยู ที่ เ มื อ งกรี ส ไฮม (Griesheim), ประมาณ 2 สัปดาหะ จึ่งกลับมาประจํา อยูที่สปรตามเดิม. พวกขั บ ไล ซึ่ ง ประจํ า อยู ที่ ตํ า บลอาเซโล, เมื่อวันที่ 22 พฤษภาคม,พ.ศ.2462 ไดยายไปประจํา อยูที่เมืองครอยซนาค (Kreuznach) ในมณฑล ไรนลันด (Rheinland), ประจําอยูที่นี้ตลอดจนถึง เวลากลับประเทศสยาม. พวกนักบินทิ้งระเบิดนั้นรวมเปนพวกเดียวกัน ไปประจําอยูที่เมืองนอยสตัดต (Neustadt) ในมณฑล ปาลาตินาต ณ ประเทศเยอรมนี, กรมนี้เปนกรม ทิ้งระเบิดที่ 13.

บรรดาผู ต รวจการเมื่ อ เสร็ จ จากโรงเรี ย น แลวโดยบรรจุเขาประจํากองรอยรบของกองทัพที่ 8. ตอมาเมื่อวันที่ 23 เมษายน,พ.ศ.2462 เขาประจํา


อยูในกองรอยตรวจการซึ่ง นายรอยเอก ฟลอเรต (Capitaine Floret) เปนผูบังคับกองรอย,ตั้งอยูที่ เมืองเมตซ (Metz). ตอมาไดยายไปประจํากองรอย ในกรมบัญชาการกองทัพเมืองไมยังซ (Mayence), ภายหลังไดยายมาประจํากับกองรอยตรวจการยิง ที่เมืองบิตซ (Bitche), อยูในความบังคับบัญชาของ นายพันโท โบลมารต (Lieutenant-Colonel Blomart ) ผูบังคับการโรงเรียนปนใหญในกองยึดดินแดน. บรรดาพวกนักบินทั้งหลายเหลานี้ ขึน้ อยูใ น บังคับบัญชากองพลการบินในสนาม, นายพันเอก เดอ โวกรโนด (Colonel de Vaugrenaud) เปน ผูบังคับบัญชาของกองพลนี้, ขึ้นตรงตอจอมพล เปตัง (Marechal Petain) แมทัพใหญฝายฝรั่งเศส. บรรดานักบินขับไล, นักบินทิ้งระเบิด, ผูตรวจการ, ผูทิ้งระเบิด, ชางเครื่อง, ซึ่งประจํา กองร อ ยฝรั่ ง เศสในกองพลบิ น ยึ ด ดิ น แดนนี้ , ไดประจําราชการอยูในกองทัพยึดดินแดนตลอดเวลา จนกลับประเทศสยาม. นอกจากกิจการบินที่ไดกลาวมาแลวตั้งแต ตนจนอวสานนี้, ยังมีกิจการของชางเครื่องที่ไดแยก ไปฝ ก หั ด งาน อยู ใ นโรงงานสร า งเครื่ อ งบิ น และ เครื่องยนตตางๆ ในกรุงปารีสอีก, มีโรงงานของ ลวีส เบลริโอต (Louis Bleriot) ตั้งอยูที่ตําบลซังต คลูด (St. Cloud) ,โรงงานแบรนารด (Bernard) ตําบล ลาคูรเนอว (La Courneuve) ,โรงงานลวีส เบรเคต (Louis Brequet) ตั้งอยูที่ตําบลวิลลา คูเบลย (Villa Coublay), โรงสรางเครื่องยนตรโรน ตั้งอยูที่บูลวารด เกเลมันน (Bv. Kelemanne), โรงสรางเครื่องยนตร ธรรม

เรโนลด ตั้งอยูที่ตําบล ลา วัลวาร (La Valoire), โรงสราง เครื่องยนตรอิสปาโน สวีซา ตั้งอยูที่ตําบลบวา โก ลอมบ (Bois Colombe), โรงงานทําใบพัดเรยี แฟรร (Regy Frere), โรงงานโกมองต (Gaumont) ตั้งอยูที่ ถนนคารดุซี (Rue Carduci). ตามโรงงานตางๆ ที่สงทหารเขาไปประจํา อยูนี้, สงไปตั้งแตเริ่มทําสัญญาสงบศึกจนถึงกําหนด วันกลับประเทศสยาม. นอกจากนั้นสําหรับการบินและการเลาเรียน, บรรดาครู แ ละผู ป กครองต า งๆ ไว ใ จและเชื่ อ ความสามารถ, ชมเชยในกิจการที่ไดปฏิบัติไปใน ขณะที่ทําการเลาเรียนฝกหัดเนืองๆ, มีความพอใจ ที่ไดแลเห็นความกลาหาญ, ความคลองแคลวมั่นคง ฉลาดไหวพริบในการฝกหัดและเลาเรียน ทําการบิน ตางๆ ไดโดยรวดเร็วนาแปลกใจ, ตลอดจนความ อุสาหะพยายาม หมั่นตอนาที่ราชการ อดทน, และ เปนทหารที่ มี ม รรยาทน า ชมเชยมี วิ นั ย เคร ง ครั ด เหลานี้เปนตน. นายทหารและพลทหารทั้ ง หมด ที่ ไ ด ไ ป ฝกหัดบินในประเทศฝรั่งเศส ไมมีผูใดเปนอันตราย ถึงแกชีวิตเลยจนสักคนเดียว, เรื่องนี้เปนเรื่องที่ ประหลาดใจแกนักบินฝรั่งทั่วไป, มีบางคนไดรับ อัน ตรายที่เ กิดจากความเลิน เลอบาง จํา เปนบา ง ไมชํานาญบาง ก็มีจํานวนนอยที่สุด, ทั้งไมรายแรง อะไรจนเกินไปนักดวย บรรดาเรื่องราวและกิจการตางๆ ที่ไดกลาว ไวในตอนนี้, เปนกิจการที่นักบินทั้งหลายไดกระทํา ไปแลว ในเมื่อรับราชการอยูในประเทศฝรั่งเศส. พระเฉลิมอากาศ

(อานตอฉบับหนา)


พล.อ.ต.ปรีชา ประดับมุข สงครามมหาเอเชี ย บู ร พา พ.ศ.๒๔๘๔– ๒๔๘๘ เปนสงครามผนวกเขากับมหาสงครามโลก ครั้งที่ ๒ หรือจะเรียกวาหางสงครามก็ได และเปน สงครามที่ญี่ ปุน ก อขึ้น โดยเฉพาะ เพื่ อใหส มตาม ที่ตนไดสัญญาไวกับเยอรมัน และอิตาลี ซึ่งเราเรียก กัน ว า ฝายอั กษะ กองทั พอากาศไทยในสงคราม มหาเอเชี ย บู ร พา เป น ประวั ติ ก ารรบทางอากาศ ครั้งสําคัญและยิ่งใหญอีกครั้งหนึ่ง ซึ่งตอเนื่องจาก การยุทธทางอากาศในกรณีพิพาทอินโดจีนฝรั่งเศส พ.ศ.๒๔๘๓ – ๒๔๘๔ สาระสําคัญจากหลักฐาน เหตุการณรบในครั้งนั้นที่หลงเหลือผูกติดกับอดีตที่ ผานพน ไปแลวเปนเวลานานค อนศตวรรษ ไดถู ก ทําลายไปหมด ทําใหบันทึกขอเท็จจริงของสงคราม มหาเอเชี ย บู ร พา พ.ศ.๒๔๘๔–๒๔๘๘ ไม เ หลื อ หลั ก ฐานพยานที่ จ ะเอื้ อ อํ า นวยสํ า หรั บ คู ก รณี ซึ่ ง เปนฝ ายชนะสงครามไดรับทราบวา ไทยทําอะไร

รบอย า งไร รบกั บ ใคร ทั้ ง นี้ เ พื่ อ ผลทางการเมื อ ง เปนวิธีปองกันรักษาเอกราชอธิปไตยของไทยมิให เกิดการเพลี่ยงพล้ําเปนอันตรายในการเจรจาความ เมื่อเลิกสถานะสงคราม แตตอมาก็ไดมีเอกสารที่ได จัดทําขึ้นภายหลัง ซึ่งหนวยงานทหารและหนวยงาน ของกองทัพอากาศไดพยายามคนควาและจัดทําขึ้น ดวยความเมตตาของทานผูรู และจากสวนราชการ และผูที่เกี่ยวของอื่นๆ เชน หนังสือประวัติกองทัพอากาศ ไทยในสงครามมหาเอเชี ย บู ร พา พ.ศ.๒๔๘๔– ๒๔๘๘, ประวัติศาสตรการสงครามของไทยในสงคราม มหาเอเชียบูรพา, หนังสืออนุสรณและหนังสือที่ระลึก ในงานพิธีตางๆ เปนตน ในบทความนี้ เปนประวัติศาสตรที่กลาวถึง การปฏิบัติการรบทางอากาศบางสวนของกองทัพอากาศ ไทย และวี ร กรรมของเสื อ อากาศไทยท า นหนึ่ ง ในสงครามมหาเอเชี ย บู ร พา ที่ ไ ด ย อมเสี ย สละ


แม ก ระทั่ ง เลื อ ดเนื้อ และชี วิ ต เข า ต อ สูกั บ ราชศั ต รู เพื่อรักษาผืนแผนดินไทยไวใหลูกหลานไทยไดอาศัย อยูกินตลอดมา จึงสมควรยกยองสรรเสริญ สดุดี เชิดชูเกียรติใหกับทานผูนั้น และสมควรถายทอด ใหคนรุนปจจุบันไดเรียนรูถึงวีรกรรมของทานและ เขาใจถึงการยุทธทางอากาศในขณะนั้นดวย Ì เสืออากาศทานนั้นคือใคร ในระหวางสงครามมหาเอเชียบูรพา ในระยะ ๖ เดื อ นแรก กองทั พ ญี่ ปุ น เป น ฝ า ยรุ ก ได ชั ย ชนะ ฝ า ยสั ม พั น ธมิ ต ร ครั้ น เมื่ อ ถึ ง เดื อ นมิ ถุ น ายน พ.ศ.๒๔๘๕ กองทัพเรือญี่ปุนเริ่มพายแพครั้งแรก ในยุทธภูมิมิดเวย (The Battle of Midway) ตอมา เมื่ อ เดือ นตุ ล าคม พ.ศ.๒๔๘๗ ญี่ ปุ น เริ่ ม พ า ยแพ กองทัพอเมริกันในยุทธภูมิเลเต (The Battle of Leyte Gulf) ความพายแพทางทะเลทั้ง ๒ ครั้ง มี ผ ลกระทบต อ กองทั พ ญี่ ปุ น ทุ ก แนวรบ กองทั พ ฝ า ยสั ม พั น ธมิ ต รเป น ฝ า ยได เ ปรี ย บและตอบโต กองทัพญี่ปุน โดยเฉพาะอยางยิ่งแนวรบดานพมา และจีนตอนใต กองทัพญี่ปุนเปนฝายลาถอย ซึ่งมีผล ใหดินแดนไทยถูกเครื่องบินฝายสัมพันธมิตรโจมตี ทิ้ ง ระเบิ ด อย า งหนั ก ตั้ ง แต ป ลายป พ.ศ.๒๔๘๖ จนถึงกลางป พ.ศ.๒๔๘๘ เนื่องจากไทยเปนฐานทัพ ของญี่ ปุ น ที่ มี ค วามสํ า คั ญ ทางด า นยุ ท ธศาสตร ซึ่ ง ในขณะนั้ น ไทยยั ง ร ว มเป น พั น ธมิ ต รกั บ ญี่ ปุ น เครื่ องบิ น ของฝ า ยสั ม พั น ธมิ ต รซึ่ ง ได ใ ช ส นามบิ น ในกัลกัตตา (Calcutta) ประเทศอินเดีย เปนฐาน ปฏิ บั ติ ก าร ได ส ง เครื่ อ งบิ น แบบต า งๆ มาทํ า การ ทิ้งระเบิดทั้งเวลากลางวันและกลางคืน เพื่อทําลาย

ที่หมายทางทหารในไทย ฝายสัมพันธมิตรมีความ มุงหมายที่จะทิ้งระเบิดทําลายสนามบิน ทางรถไฟ ทา เรือ สะพาน ฯลฯ เพื่อ ตัด เสน ทางลํ า เลี ย งของ ญี่ปุนใหขาดออกจากกัน เชน สะพานพระราม ๖, สะพานพระพุทธยอดฟา, โรงไฟฟาวัดเลียบ, โรงงาน รถไฟมักกะสัน ฯลฯ โดยในเวลากลางคืนเปนหนาที่ ของเครื่องบินแบบ “บี ๒๔” มาทําการทิ้งระเบิด ส ว นในเวลากลางวัน เป น เครื่ อ งบิ น แบบ “บี ๒๙” หรือที่เรียกวา “ซูเปอร ฟอเตรซส” (Super Fortress) ที่ ส ร า งเสร็ จ ใหม แ ละไม เ คยปฏิ บั ติ ภ ารกิ จ ที่ ไ หน มากอน แตเตรียมเอาไวไปโจมตีญี่ปุน เพราะรัศมี ทํา การไกลและมี ร ะวางบรรทุ ก มาก จึ งทดลองใช “บี ๒๙” มาทําการทิ้งระเบิดตามที่หมายตางๆ ใน พระนคร โดยเฉพาะอยางยิ่ง สะพานพระราม ๖ (ในที่นี้ จะกล าวถึ งเฉพาะเหตุ การณ เมื่ อ ๒๗ พฤศจิ กายน พ.ศ.๒๔๘๗ ที่พระนคร) ในชวงแรก ๆ ของการโจมตีทิ้งระเบิดมักจะ พลาดเป า หมายเลยไปทํ า ลายสวนสาธารณะ และบานคนบริเวณปากคลองบางเขนจนยอยยับ และตอมา ไดโจมตีทิ้งระเบิดถูกวัดนอยและบริเวณ ใกล เ คี ย งทางทิ ศ ใต ข องสะพานพระราม ๖ ด า น ฝ ง ซ า ยของแม น้ํ า เจ า พระยาจนย อ ยยั บ เช น กั น สวนคอสะพานชํารุดไปบาง ตอมาไดปรับยุทธวิธี บิ น ลงต่ํ า เข า สู เ ป า หมายและโจมตี ทิ้ ง ระเบิ ด เป น ระลอกๆ ละ ๑๒–๑๔ เครื่ อ ง จนทํ า ให ส ะพาน พระราม ๖ ถูกทําลายจนใชการไมได ซึ่งจากหนังสือ ที่ระลึกกองทัพอากาศ ๕๐ ป ไดเขียนวีรกรรมของ เสืออากาศไทยที่ไดทําการนําเครื่องบินขึ้นสกัดกั้น ในเหตุการณดังกลาว ดังนี้


“เมื่ อ ๒๗ พฤศจิ ก ายน พ.ศ.๒๔๘๗ ฝ า ยสั ม พั น ธมิ ต รได ส ง เครื่ อ งบิ น แบบ “บี ๒๙” มาโจมตี พ ระนครในเวลากลางวั น ตั้ ง แต เ วลา ๐๙.๐๐ น. วันละ ๓ ระลอก ๆ ละ ๑๒–๑๔ เครื่อง ฝายเรามีเครื่องบินแบบ ๑๔ “ฮายาบูซา” ใชการ ไดเพียง ๘ เครื่อง (จํานวนเต็มฝูงมีเพียง ๙ เครื่อง) แบงออกเปน ๒ หมูๆ ละ ๔ เครื่อง มีนายเรืออากาศเอก เทอดศักดิ์ (สังวาลย) วรทรัพย เปนหัวหนาหมูที่ ๑ และ นายเรื อ อากาศตรี ศั ก ดิ์ อิ น ทปุ ร ะ เป น หัวหนาหมูที่ ๒ วิ่งขึ้นไปทําการสกัดกั้น แตยังไมทัน ที่จะรวมหมูให เ รี ย บร อย เครื่ อ งบิ น ทิ้ ง ระเบิด ของ ขาศึกก็ถึงพระนคร และเขาทําการทิ้งระเบิดที่หมาย ตางๆ เสียแลว เพราะขาวเครื่องบินขาศึกนั้นไดรับ เมื่อเครื่องบินขาศึกไดบินเลยเมืองกาญจนบุรี มาแลว เมื่ อ เครื่ อ งบิ น ขับ ไลข องเรารวมหมู ใ หญ ทั้ง ๘ เครื่องไมทัน ประกอบทั้งขณะวิ่งขึ้นเครื่องบิน ธรรม

ลํ า หนึ่ ง เครื่ อ งยนต เ สี ย คงเหลื อ เพี ย ง ๗ เครื่ อ ง จึ ง ขาดกํ า ลั ง ยิ ง ที่ เ ป น ป ก แผ น แต ถึ ง กระนั้ น นายเรืออากาศเอก เทอดศักดิ์ฯ ก็ไดทําการยิง กับขาศึกหนึ่งเครื่อง ไฟลุกที่เครื่องยนต และ ตองแยกหมูบินหนีไป นายเรืออากาศเอก เทอดศักดิ์ฯ ได พ ยายามบิ น ติ ด พั น และยิ ง อย า งไม ล ดละต อ เครื่อ งบิ น หมู ใหญ ทั้ง ๓ หมู จนกระสุน หมด และ ในที่ สุ ด ก อ นที่ จ ะผละออกจากการรบเพราะไม มี กระสุนก็ถูกยิงไฟไหม ตองสละเครื่องบินกระโดดรม ลงในปาลึกแถวแดนกะเหรี่ยง จังหวัดเพชรบุรี แขนขา ถู ก ไฟลวกพองด า งเป น รอย ตํ า บลที่ ก ระโดดร ม ลงหางจากหมูบานมาก ตองเดินปาอยูคืนหนึ่ง จึง พบคน และตอ งนั่ ง เกวี ย นมาอี ก ๒ วั น จึ ง ถึ ง ทาง รถไฟ และขึ้นรถไฟมารักษาพยาบาลที่กรุงเทพฯ” นายเรืออากาศเอก เทอดศักดิ์ฯ ไดรับการบาดเจ็บ ในการรบครั้งนี้เปนครั้งแรกและเปนครั้งเดียวในชีวิต


ความเสียหายเนื่องจากการโจมตีทิ้งระเบิด ของขาศึก เฉพาะในวันที่ ๒๗ พฤศจิกายน พ.ศ.๒๔๘๗ มีขอมูลจากกระทรวงตางประเทศ ในแฟมสงครามโลก ครั้งที่ ๒/๓:๘ เกี่ยวกับ “การโจมตีทางอากาศและ ความเสียหาย” ไดเขียนไววา ขาศึกทิ้งระเบิดลงมา จํานวน ๑,๕๒๙ ลูก (๕๐๐ lbs,GP) ทําใหมีผูเสียชีวิต ๑๑๔ คน บาดเจ็ บ ๑๕๐ คน อาคารเสี ยหาย ๑๔๙ หลัง รถจักรเสียหาย ๑๕ คัน รถพวง ๑๒๐ คัน และ สถานีรถไฟบางซื่อไดรับความเสียหาย “บี ๒๙” ที่ นายเรืออากาศเอก เทอดศักดิ์ฯ ไดทําการยิงกับขาศึกหนึ่งเครื่องไฟลุกที่เครื่องยนต ขณะที่กําลังโจมตีทิ้งระเบิดพระนคร และตองแยกหมู บินหนีไปนั้น ตอมาเมื่อเสร็จสงครามฝายสัมพันธมิตร ธรรม

เลาวา ตามวันเวลาดังกลาว มีเครื่องบินแบบ “บี ๒๙” เครื่องหนึ่งบินแตกฝูงลาหลัง ตกลงในอาวเบงกอล (Bay of Bengal) ทางทิศใตของเมืองกัลกัตตา (Calcutta) ประเทศอินเดีย ซึ่งนักบินฝายสัมพันธมิตร ยังคงเขาใจวา “บี ๒๙” เครื่องนั้นถูกยิงตกโดยฝมือ ของนักบินขับไลญี่ปุน แตก็ยังหาหลั กฐานอางอิง ยังไมไดวา เปนเครื่องเดียวกับที่ นายเรืออากาศเอก เทอดศักดิ์ฯ ไดทําการยิงหรือไม ถาหากพิจารณาใน ความเปนไปไดจริงและความสมเหตุสมผล ประกอบ กับชวงของวันและเวลา “บี ๒๙” ก็นาจะเปนเครื่องบิน ลํ าเดี ยวกั นกั บที่ ถู กยิ งเหนื อน านฟ าไทยจากการรบ ในวันนี้ โดยฝมือ ของเสืออากาศไทย (JPAC Incident #: MACR 10003 ยอมรับวาสูญเสียเครื่องบินแบบ “บี ๒๙” จริง)


หากย อ นอดี ต ไปก อ นหน า นี้ จากการ ยุ ท ธทางอากาศในกรณี พิ พ าทอิ น โดจี น ฝรั่ ง เศส พ.ศ.๒๔๘๓–๒๔๘๔ ไดมีแจงความสํานักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานเหรียญกลาหาญ ความวา “ดวยในการที่กองทัพอากาศไทย ไดออกปฏิบัติ หนาที่เนื่องในกรณีพิพาทระหวางประเทศไทยกับ อินโดจีนฝรั่งเศส บรรดาทหารและตํารวจสนาม บางนาย ไดทําการตอสูกับราชศัตรูอยางสามารถ และด ว ยกํ า ลั ง ใจอัน เด็ ด เดี่ ย วกลา หาญ มิ ไ ด สยดสยองตอภยันตรายใด ยอมสละชีวิตเพื่อ ประเทศชาติ นั บ เป น การกระทํ า อั น มี เ กี ย รติ และกลาหาญยิ่ ง” จึงมีพระกรุณาโปรดเกลาฯ พระราชทานเหรี ย ญกล า หาญเป น เครื่ อ งเชิ ด ชู เกียรติคุณ รวม ๔๒ นาย (ทบ. ๑๙ นาย, ทร. ๑๘ นาย, ทอ. ๒๔ นาย, ตร. ๑ นาย) ดังรายนามทายแจงความนี้ แจ งความมา ณ วั นที่ ๒๕ กรกฎาคม พุ ทธศั กราช ๒๔๘๔ (ลงชื่อ) พิบูลสงคราม นายกรัฐมนตรี ในส ว นกองทั พ อากาศ มี ผู ไ ด รั บ คํ า สดุ ดี ในทายแจงความดังกลาวเปนจํานวน ๒๔ นายนั้น เทอดศักดิ์ฯ (ยศ, นาม ในขณะนั้น คือ นายเรืออากาศตรี สังวาลย วรทรัพย) อยูในอันดับที่ ๑๑ มีคําสดุดีวา “นักบินผูนี้ ไดทําการบินรักษาเขตตาม ชายแดนลําน้ําโขง ทําการบินคุมครองเครื่องบิน ฝายเราที่ทําการบินถายรูปหรือทิ้งระเบิด และ ทําการบินขับไลเครื่องบินขาศึกที่มาทิ้งระเบิด ดิ นแดนเรา ได รั บคํ า สั่ งให ไปปฏิ บั ติ การรวม ๒๓ ครั้ง ทุกๆ ครั้ง ลวนตองฝาอุปสรรคอันตราย ทั้งสิ้น แตนายเรืออากาศตรี สังวาลย วรทรัพย ก็ ไ ด ทํ า หน า ที่ สํ าเร็ จ นํ าเครื่ องบิ นกลั บมาโดย ปลอดภัย จนตลอดงานในกรณีพิพาทคราวนี้”

เรืออากาศเอก เทอดศักดิ์ วรทรัพย

จะเห็นไดวานายเรืออากาศเอก เทอดศักดิ์ฯ เปนเสืออากาศที่มากดวยประสบการณจากการรบ ตั้งแตกรณีพิพาทอินโดจีนฝรั่งเศส ไดบินไปปฏิบัติการ ถึงเวียงจันทน บึงกาฬ ทาแขก สุวรรณเขต เมืองซอง วังเวียง บานนาแพะ ศรีโสภณ เสียมราฐ พระตะบอง นครวัต ชวยการรบทั้งดานอีสานและบูรพา ทิ้งระเบิด ที่หมายทางทหารไดผลเปนที่นาพอใจทางราชการ ทุ ก ครั้ ง และทํ า การรบเรื่ อ ยมาจนกระทั่ ง เมื่ อ ๒๗ พฤศจิกายน พ.ศ.๒๔๘๗ ในระหวางสงคราม มหาเอเชี ย บู ร พา ได ทํ า การยิ ง กั บ ข า ศึ ก “บี ๒๙” หนึ่งเครื่องไฟลุกที่เครื่องยนต และตองแยกหมูบิน หนี ไ ป และคาดว า เป น เครื่ อ งเดี ย วกั น กั บ ที่ ต กลง


ในอ า วเบงกอล ทางทิ ศ ใต ข องเมื อ งกั ล กั ต ตา ประเทศอินเดีย ดังนั้นจากขอมูลที่ไดกลาวมาขางตน จึงเปนที่นาเชื่อวานายเรืออากาศเอก เทอดศักดิ์ฯ เป น เสื อ อากาศไทยคนเดี ย วและคนแรกที่ ทํ า ให เครื่องบิน “บี ๒๙” ถูกยิงเสียหายเหนือนานฟาไทย และตองสูญเสียในครั้งนี้ Ì บทสงทาย การศึกษาประวัติศาสตร จะชวยใหมนุษย เกิดสํานึกในการคนควา และสืบคนขอมูลที่เชื่อมโยง อดีตและปจจุบัน อันสรางความภูมิใจและกระตุน ความรูสึกนิยมในชาติหรือเผาพันธุ ตลอดจนตระหนัก ถึ ง คุ ณ ค า ของมรดกทางวั ฒ นธรรมที่ บ รรพบุ รุ ษ สั่งสมไว และประวัติศาสตรชวยใหเกิดการเรียนรู จากอดีต เพื่อเปนบทเรียนสําหรับปจจุบัน องคความรู ที่ไดจากการศึกษาประวัติศาสตรจะทําใหเขาใจถึง ปญหา สาเหตุของปญหา และผลกระทบจากปญหา จากคําจํากัดความขางตน จะเห็นไดวา ไทย มีที่ตั้งเปนรัฐกันชน (Buffer Location) มีรูปรางยาว แคบ (Elongated) เปนจุดออนทางยุทธศาสตร การเสริมสรางกําลังทางอากาศเปนสิ่งสําคัญยิ่ง ซึ่ง จะชวยแกไขจุดออนทางภูมิศาสตรไดเปนอยางดี ทั้ ง เป น แนวโน ม ที่ จ ะช ว ยชี้ อ นาคตว า ไทยจะ ดํารงเอกราชและรักษาอธิปไตยไวนั้น กองทัพไทย จะตองมีกําลังทางอากาศที่มีประสิทธิภาพ มีความ ธรรมอางอิง/ขอมูลจาก

สามารถสู ง ทั้ ง ในด า นจํ า นวนและสมรรถนะของ เครื่ อ งบิ น นั ก บิ น ที่ มี ค วามสามารถและอาวุ ธ ยุ ท โธปกรณ ที่ ทั น สมั ย และพร อ มปฏิ บั ติ ภ ารกิ จ อยูตลอดเวลา วีรกรรมของนายเรืออากาศเอก เทอดศักดิ์ฯ (ยศสุดทาย นายนาวาอากาศตรี) ผูไดรับพระราชทาน เหรียญกลาหาญประดับชอชัยพฤกษ ที่ไดถายทอด ให ค นรุ น ป จ จุ บั น ได เ รี ย นรู แ ละเข า ใจถึ ง การยุ ท ธ ทางอากาศในขณะนั้น หากขอมูลทั้งหมดที่กลาวมา ยังไมสมบูรณหรือขาดขอมูลบางประการ ก็ยังหวังวา ผูอานที่เปนผูรูหลายทานคงจะเพิ่มเติมความสมบูรณ ใหกับบทความนี้ไดไมมากก็นอย

- กองทัพอากาศ,อนุสรณ เฉลิมอากาศ, พิมพในงานพระราชทานเพลิงศพ, โรงพิมพกรมสารบรรณทหารอากาศ, ๒๔๙๙. - ประวัติศาสตร. online เขาถึงไดจาก http://allknowledges.tripod.com/history.html. 2554. - หนังสือที่ระลึกกองทัพอากาศ ๕๐ ป. โรงพิมพกรมสารบรรณทหารอากาศ, ๒๕๐๘. - ประวัติกองทัพอากาศไทย ในสงครามมหาเอเชียบูรพา พ.ศ.๒๔๘๔ – ๒๔๘๘. โรงพิมพกรมขาวทหารอากาศ, ๒๕๒๕. - (*) JPAC = Joint POW/MIA Accounting Command - (**) MACR = Missing Air Crew Report


นายสติ

“โรงถ่ายภาพยนตร์กองทัพอากาศทุง่ มหาเมฆ”

ความเชื่อมโยง ระหวางเหตุการณหนึ่งกับ อีกเหตุการณหนึ่งกอใหเกิดเรื่องราวความเปนมา ของสถานที่แหงหนึ่งไดอยางพอเหมาะพอดี สาเหตุที่ นายสตินําเสนอ “โรงถายภาพยนตรกองทัพอากาศ ทุงมหาเมฆ” นี้ ดวยเพราะความเชื่อมโยงของ สองเหตุ ก ารณ ที่ บั ง เอิ ญ มาบรรจบกั น พอดี ซึ่ ง เหตุ ก ารณ ค รั้ ง ที่ ส องได ส ะกิ ด ใจให น ายสติ ต อ ง นําเสนอเรื่องนี้ เหตุการณครั้งแรก ที่นายสติไดมีโอกาส สัมผัสกับโรงถายภาพยนตรกองทัพอากาศทุงมหาเมฆ แหงนี้ ซึ่งเปนโอกาสครั้งแรก และครั้งสุดทายของ การป ด ฉากโรงถ า ยภาพยนตร ล งอย า งถาวร

ย อ นอดี ต เหตุ ก ารณ ไ ปเพี ย งเมื่ อ ประมาณป พ.ศ.๒๕๒๑ นายสติ ไ ด มี โ อกาสเข า ร ว มอํ า นวย ความสะดวกในการจําหนายพัสดุสายถายรูป ซึ่ง ในขณะนั้นนายสติแปลกใจอยูวาพัสดุอุปกรณตางๆ ที่ปรากฏอยูตรงหนามีความเปนมาอยางไร เพราะ แปลกหูแปลกตากับอุปกรณที่ใชในการถายภาพยนตร ที่พบเห็นอยูตรงหนา บรรยากาศภายในโรงถ า ยภาพยนตร นั้ น มีพื้นที่กวางขวางใหญโต แตมีสิ่งหนึ่งที่ตั้งตระหงาน อยู ก ลางโรงถ า ยภาพยนตร เ ห็ น ได ชั ด เจนก็ คื อ เจาตัว DOLLY สีเทา ซึ่งมีแทนสําหรับติดตั้งกลอง ถ า ยภาพยนตร ลั ก ษณะคล า ยรถเลื่ อ นที่ ใ ช วิ่ ง บนรางคลายรางรถไฟเล็กๆ จอดนิ่งอยูบนราง มองเห็น ไดชัดถึงสภาพที่เกาเพราะผานการใชงานมานาน เมื่ อ กวาดสายตาไปโดยรอบ ก็ พ บเห็ น รางเลื่ อ น วางเดินตามแนวผนังโรงถายภาพยนตร ไวโดยรอบ บริเวณภายในโรงถายภาพยนตร นอกจากจะมีราง DOLLY บนพื้นชั้นลางแลว ยังมีชั้นลอยสําหรับเปน ทางเดินใหกลองขึ้นไปถายภาพยนตรดานบนไดอีก


เขาใจวาฉากทุกฉาก และนักแสดงทุกคนไมวาจะ อยูมุมใดของโรงถายภาพยนตร กลองสามารถตาม เก็บภาพไดอยางครบถวนทุกมุมไดอยางทั่วถึง

DOLLY สีเทา ซึ่งมีแทนสําหรับติดตั้งกลอง ถายภาพยนตร ลักษณะคลายรถเลื่อนที่ใชวิ่งบนราง คลายรางรถไฟเล็กๆ

เมื่ อ มองกวาดสายตาดู ส ภาพแวดล อ ม โดยรอบไปเรื่ อ ยๆ รู สึ ก ได ทั น ที ถึ ง บรรยากาศที่ คอนขางมืดสลัวๆ ประกอบกับอุปกรณที่เกาๆ แสดงถึง การใชงานมานานนั้นคงความขลังอยูในตัว โคมไฟ สี ดํ า ขนาดใหญ ที่ ใ ช สํ า หรั บ ให แ สงสว า งในการ ถายทําภาพยนตร หอยระเกะระกะพาดผานดวย สายไฟสีดําเสนเขื่องอยูโดยรอบทั้งที่ตั้งอยูบนพื้น ชั้นลาง และแขวนอยูตางระดับมากมาย ทําใหผูเขียน อดที่จะจินตนาการยอนเวลาถึงเหตุการณในอดีต ของโรงถายภาพยนตรแหงนี้ ซึ่งมีผูเกี่ยวของมากมาย ตางคนตางก็ทําหนาที่ของตนกันอยางโกลาหล ความรู สึ ก ของผู เ ขี ย นขณะนั้ น ยากที่ จ ะ อธิบาย มีทั้งความตื่นเตน แปลกใจ และดีใจที่ได มี โ อกาสได เ ห็ น สถานที่ แ ห ง นี้ ลึ ก ลงไปในจิ ต ใจ อยากให ค งสภาพโรงถ า ยภาพยนตร แ ห ง นี้ ไ ว เปนอนุสรณเพื่อรําลึกถึงอดีตที่ครั้งหนึ่งเคยรับใช กองทัพอากาศและประเทศชาติ

แตสิ่งที่นาเสียดายที่สุดคือทุกสิ่งทุกอยาง ที่ปรากฏอยูตรงหนา นี้กําลังจะถู กลบออกไปจาก ความทรงจํา ซึ่งทําใหคนรุนหลังไมมีโอกาสทราบ ไดเลยวา กองทัพอากาศเคยมีโรงถายภาพยนตร แหงนี้ ซึ่งครั้งหนึ่งเคยไดทําหนาที่ผลิตภาพยนตร เพื่อโฆษณาเผยแพรกิจการของกองทัพ และ รั ฐ บาลไทย ตั้ ง แต ป พ.ศ.๒๔๘๕ ในสมั ย ของ จอมพล แปลก พิบูลสงคราม เปนนายกรัฐมนตรี นอกจากภาพยนตรโฆษณากิจการกองทัพ และรัฐบาล ในสมัยนั้นแลว ยังไดจัดสรางภาพยนตร บันเทิง เสียงในฟลม เรื่องแรกที่สรางคือ “บานไร นาเรา” เปนภาพยนตร ขนาด ๓๕ มม. ขาว-ดํา - นําแสดง โดย น.อ.ทวี จุลละทรัพย และ คุณ อารี ปนแสง - แตงเรื่องโดย กาญจนา นาคพันธ - กํากับการแสดงโดย เนรมิตร - ถายภาพโดย ม.ร.ว.อนุศักดิ์ หัสดินทร ณ อยุธยา - ทํานองดนตรีโดย พระเจนดุริยางค - คํารองโดย ขุนวิจิตรมาตรา หนังออกฉาย และประสบความสําเร็จอยางสูง

ภาพยนตร เรื่อง “บานไรนาเรา”


หลังจากนั้นตอมาก็ไดสรางภาพยนตรไทย พูด เรื่องที่สอง คือเรื่อง “บินกลางคืน” ซึ่งเปนเรื่อง เกี่ ย วกั บ ภารกิ จ ของเหล า นั ก บิ น ไทย ที่ ไ ด ป ฏิ บั ติ หน า ที่ บิ น ต อ ต า นเครื่ อ งบิ น ของฝ า ยสั ม พั น ธมิ ต ร ที่เขามาโจมตีทางอากาศ ในประเทศไทย แตสราง ยังไมทันสําเร็จ ก็ตองยุติลง เพราะเกิดการเปลี่ยนแปลง คณะรัฐบาล เหตุ ก ารณ ค รั้ ง ที่ ส อง ที่ จุ ด ประกาย ความคิดและมีอิทธิพล ตอผูเขียนโดยตรงวาตอง นําเสนอเพื่อถายทอดเรื่องราวในอดีตเหลานี้เพื่อ เชื่อมโยงเหตุการณตางๆ โดยเฉพาะที่เกี่ยวของกับ ทอ. ใหทานผูอานไดทราบ เริ่มขึ้นเมื่อป พ.ศ.๒๕๕๐ นี่เอง คุณโดม สุขวงศ ซึ่งขณะนั้นผูเขียนยังไมรูจัก ทราบแตเพียงคําขอรองของท านที่ตองการทราบ ขอมูลเกี่ยวกับโรงถายภาพยนตรทุงมหาเมฆ โดย คุ ณ โดมฯ ทราบข อ มู ล เบื้ อ งต น เพี ย งว า โรงถ า ย ภาพยนตร แ ห ง นี้ ไ ด มี ก ารจั ด ให มี ก ารจํ า หน า ย ไปนานแล ว โดย กรมการภาพถ า ยทหารอากาศ ในขณะนั้ น ซึ่ ง ต อ มาในป พ.ศ.๒๕๒๔ ก็ เ ปลี่ ย น ชื่อ ใหมเ ปน กรมการลาดตระเวนทางอากาศ ซึ่ ง คุณโดม ฯ ก็พยายามสืบเสาะคนหาจนมาถูกที่

คุณโดม สุขวงศ

ขณะที่ผูเขียนแสดงสีหนาแปลกใจ ทานจึง ได รี บ อธิ บ ายถึ ง เหตุ ที่ ม าให ผู เ ขี ย นได ท ราบทั น ที พอเอยถึงโรงถายภาพยนตรกองทัพอากาศทุงมหาเมฆ ผู เ ขี ย นเกิ ด อาการขนลุ ก ขึ้ น มาทั น ที ว า สิ่ ง ที่ เ ป น คํ า ถามในใจมานานในอดี ต อาจถู ก ไขขึ้ น มาได อย า งไม ค าดคิ ด การสนทนาเรื่ อ งนี้ ค อ นข า งสั้ น เนื่องจากผูเขียนไมไดมีขอมูลอะไรมากโดยเฉพาะ อยางยิ่งหลักฐานตางๆ ไดถูกทําลายไปตามระบบ หมดแลว เพราะผานระยะเวลามานานกวา ๓๐ ป สิ่งที่ ท า นได เ ป น เพี ย งรายละเอี ย ดจากคํ า บอกเล า ของผูเขียนเทานั้น ซึ่งเปนสิ่งที่นาเสียดายมาก แต ถึ ง อย า งไรการมาเยื อ นของท า นในครั้ ง นี้ สํ า คั ญ ต อ ผู เ ขี ย นมาก นอกจากจะได ท ราบคํ า ตอบจาก ภาพปริศนาในอดีตแล วที่ สํา คัญกวานั้นคือความ ศรัทธาในคุณคาของผูที่มีใจอนุรักษมรดกทางดาน ภาพยนตรไทย หลังจากการพบปะกันครั้งนั้น ผูเขียนก็ได พยายามสืบคนหารายละเอียดทราบวา ผูมาเยือน คือ คุณโดม สุขวงศ ทานจบการศึกษาจาก จุฬาลงกรณ มหาวิ ท ยาลั ย คณะนิ เ ทศศาสตร บั ณ ฑิ ต เมื่ อ ป พ.ศ.๒๕๑๗ ซึ่ ง เป น ผู คิ ด ริ เ ริ่ ม ค น คว า และเก็ บ รวบรวมขอมูลเกี่ยวกับภาพยนตรไทย ดวยตนเอง จากหองสมุดตางๆ และใหความสนใจกับการเปน นักวิชาการทางภาพยนตร และการเปนนักวิจารณ หนัง ซึ่งก็เปนหนึ่งใน ๑๑ คน ที่ไดรับการเชิดชูเกียรติ รางวัล “แทนคุณแผนดิน” สาขาศิลปวัฒนธรรม เนื่ อ งในโอกาสครบรอบ ๓๖ ป ของ เนชั่ น กรุ ป นอกจากนั้นยังเปน รองประธานมูลนิธหิ นังไทย


เปนที่ปรึกษา ภาพยนตรสารคดีเชิดชูเกียรติยศของ คนบั น เทิ ง ศิ ล ปะ และวั ฒ นธรรม ๒๘ ป ศิ ล ป น แหงชาติ ศิลปนของแผนดิน..ซึ่งตอมาทานไดมอบ หนังสือที่มีคุณคาแกผูเขียนหนึ่งเลม คือ “สุภาพบุรุษ เสือแท”

เชื่ อ มโยงของเหตุ ก ารณ แ ต ล ะเหตุ ก ารณ ใ น กองทัพอากาศไดอยางดี เชน ครั้งหนึ่งไดมีการบันทึก จาก จอมพล แปลก พิบูลสงคราม นายกรัฐมนตรี เกี่ ย วกั บ หนั ง สื อ ข า วทหารอากาศ ไว เ มื่ อ วั น ที่ ๑๐ มิถุนายน ๒๔๙๑ ความวา

หนังสือสุภาพบุรุษเสือแท ที่คุณโดมไดกรุณามอบให ผูเขียนไว ๑ เลม

ซึ่งเขียนโดยคุณ แท ประกาศวุฒิสาร ซึ่ง เจ า ของผู พิ ม พ ผู โ ฆษณาคื อ มู ล นิ ธิ ห นั ง ไทย ใน พระอุปถัมภของพระเจาวรวงศเธอพระองคเจาอนุสรณ มงคลการ โดยมี คุ ณโดม สุ ขวงศ เป นบรรณาธิ การ ดวยเพราะความอนุ เคราะหนี้ ส งผลให ผูเ ขียนได ทราบความเป น มาของโรงถ า ยภาพยนตร ข อง กองทัพอากาศทุงมหาเมฆแหงนี้ และจะเสียดาย มากกวานี้ถากองทัพอากาศไมไดมีการบันทึกเรือ่ งนี้ ไว เ ป น อนุ ส รณ ข อง ทอ.ให ค นรุ น หลั ง ได ท ราบ โดยเฉพาะอยางยิ่งหนังสือขาวทหารอากาศซึ่งเปน แหลงที่เก็บขอมูลทางประวัติศาสตรของกองทัพอากาศ มาอยางยาวนานเปนเวลากวา ๗๐ ป และมี การ เก็บขอมูลดานตางๆ ของ ทอ. ในแตละปใหผูสนใจ ไดศึกษาคนควาไวอยางเปนระบบ รูปเลมแข็งแรง สวยงามลัก ษณะคลายกับปกหนัง สือ ราชกิ จจานุ เ บกษา ซึ่ ง ผู ค น คว า สามารถที่ จ ะทราบความ

จอมพล แปลก พิบูลสงคราม

“ในโอกาสที่ ก อง ทั พอากาศจะได ออกหนั ง สื อ พิ ม พ ข า วทหารอากาศ ต อ ไปนี้ ผมไดทราบดวยความยินดีเปนอันมากเพราะ หนั ง สื อ พิ ม พ นี้ ได เ คยทํ า ประโยชน เ ผยแพร ความรูนานาประการ และหากชาติจะรับรองวา ทหารอากาศไดเคยปฏิบัติหนาที่ในเวลาปกติ และเวลาสงครามทุ ก ครั้ ง มาด ว ยดี ยิ่ ง แล ว หนังสือพิมพขาว ก็ไดรวมในงานของชาตินั้น ดวย เพราะเราจะทําหนาที่ชั่วดีดังกลาวมานั้น ยอมสุดแตทหารอากาศจะมีความรูดีเพียงใด และส ว นหนึ่ ง แห ง ความรู ก็ อ าจกล า วได ว า มาจากข าวทหารอากาศ ยิ่ งในป จจุ บั นความรู ทางทหารอากาศก า วหน า ไปโดยรวดเร็ ว มาก


หนังสือขาวทหารอากาศ ทหารอากาศจะเก็บ ความรู ทั น สมั ย ได จ ากข า วที่ มี ผู ร วบรวมขึ้ น เสนอเปนพิเศษ สําหรับเปนเบื้องตน ใหคืบหนา ไปหาความรูหลักตอไป ฉ ะ นั้ น ข า พ เ จ า จึ ง ยิ น ดี ที่ ไ ด เ ห็ น หนัง สือพิมพ ข าวทหารอากาศกลับฟน คืน มา ใหม เ หมื อ นกั บ การฟ น ชี วิ ต ในงานของชาติ อื่นๆ ทุกสาขา และการฟนกิจการงานทั้งมวล ของประชาชนชาวไทยทั่วไป ในโอกาสนี้ ขาพเจา ในฐานะเป นมิตรที่ดีแก ทหารอากาศทุก ทา น ตลอดมา จึงขอใหคุณพระรัตนตรัยไดปกปก รักษาใหหนังสือพิมพขาวทหารอากาศประสบ แตสรรพมิ่งมงคลตลอดไปทุกประการ” ด ว ยเพราะความเชื่ อ มโยงความผู ก พั น เหตุการณระหวางผูนําประเทศสมัยนั้นกับหนังสือ ธรรม

ขาวทหารอากาศ ซึ่งผูเขียนเห็นวาควรนําเสนอมุมมอง อี ก ด า นหนึ่ ง ที่ ยั ง ไม มี ก ารบั น ทึ ก ในหนั ง สื อ ข า ว ทหารอากาศ ซึ่งโรงถายภาพยนตรของกองทัพอากาศ ทุ ง มหาเมฆแห ง นี้ ได ทํ า หน า ที่ ผ ลิ ต ภาพยนตร เพื่อโฆษณาเผยแพรกิจการของกองทัพ และ รั ฐ บาลไทย ตั้ ง แต ป พ.ศ.๒๔๘๕ ในสมั ย ของ จอมพล แปลก พิบูลสงคราม เปนนายกรัฐมนตรี นอกจากความผูกพันเชื่อมโยงเหตุการณใน อดีตดังกลาวแลว ยังปรากฏผูทรงคุณคาอีกหลาย ท า นที่ เ กี่ ย วข อ งคื อ คุ ณ แท ประกาศวุ ฒิ ส าร กั บ อั ต ชี ว ประวั ติ ซึ่ ง อดี ต ท า นเคยเป น ทหารอากาศ ที่เกี่ยวของกับงานภาพยนตรของกองทัพอากาศกับ งานบัน ทึ ก ภาพเหตุก ารณป ระวั ติศ าสตร สํา คัญ ๆ หลายเรื่อง

“แท ประกาศวุฒิสาร” ในระหวางปฏิบัติงานที่กองภาพยนตรทหารอากาศ ป พ.ศ.๒๔๘๕ - ๒๔๘๖


“อากาศยาน เหินสู่ฟ้า นั่นคือหน้าที่ของเรา”


ประวัติและความเปนมา กรมชางอากาศ กิจการการบินของประเทศไทยไดกอกําเนิด ขึ้ น ในสมั ย ของพระบาทสมเด็ จ พระมงกุ ฎ เกล า เจ า อยู หั ว ซึ่ ง ทรงมี พ ระบรมราโชบาย ทํ า นุบํ า รุ ง กิจการทหารอยางจริงจัง และทรงตระหนักถึงความ จําเปนที่ประเทศไทยจะตองมีเครื่องบินไวปองกันภัย ที่จะบังเกิดแกชาติ ดวยเหตุนี้ กระทรวงกลาโหมจึง ไดจัดตั้งแผนกการบินกองทัพบกอยูในบังคับบัญชา ของจเรทหารชาง คือ นายพลโท พระเจาบรมวงศเธอ กรมขุ น กํ า แพงเพชรอั ค รโยธิ น จนกระทั่ ง ป พุทธศักราช ๒๔๘๐ แผนกการบินไดยกฐานะ เปนกองทัพอากาศ ขึ้นตรงตอกระทรวงกลาโหม เวลาต อ มาส ว นโรงงานของกรมอากาศยานได ยกฐานะเป น กองโรงงานกรมช า งอากาศ เมื่ อ ๑๙ เมษายน พุทธศักราช ๒๔๖๕ ตอมาไดเปลี่ยน ชื่อเปน กรมชางอากาศ

ธั น วาคม ๒๔๕๖ กระทรวงกลาโหมได จัดตั้ง “แผนกการบิน” ขึ้นตรงตอจเรทหารชางและ เสนาธิการทหารบก โดยมีสวนขึ้น ตรงคือ นักบิน และโรงงาน (ซึ่งตอมา คือ กรมชางอากาศ) วันที่ ๒๗ มี น าคม ๒๔๕๗ แผนกการบิ น ยกฐานะเป น “กองบินทหารบก” โรงงานจึงขึ้นตรงตอกองการบิน ทหารบก (๒๗ มีนาคม ๒๔๕๗ เปนวันที่กระทรวง กลาโหมออกคําสั่งตั้งเปนกองบินทหารบก ซึ่งเริ่มเปน ปกแผนแลวจึงนับวาวันนี้เปนวันที่ระลึกกองทัพอากาศ) ๑๙ มี น า ค ม ๒ ๔ ๖ ๑ ย ก ฐ า น ะ จ า ก “กองการบินทหารบก” เปนกรมอากาศยานทหารบก โรงงาน จึงไดเปลี่ยนชื่อเปนโรงงานกรมอากาศยาน ทหารบก ๑ ธั น วาคม ๒๔๖๔ เปลี่ ย นชื่ อ จาก กรมอากาศยานทหารบก เป น กรมอากาศยาน เนื่องจาก กห. พิจารณาเห็นวากําลังทางอากาศมิได เป น กํ า ลั ง เฉพาะในด า นยุ ท ธศาสตร ท างทหาร เทานั้น แตมีประโยชน อยางกวางขวางตอกิ จการ ดานอื่น ๆ เชน การพาณิชย และคมนาคม เปนตน โรงงานจึงเปลี่ยนชื่อเปน โรงงานของกรมอากาศยาน ๑๙ เมษายน ๒๔๖๕ ได มี ก ารจั ด ส ว น ราชการของกรมอากาศยานใหม โดยโรงงานของ กรมอากาศยานยกฐานะเป น “กองโรงงาน กรมอากาศยาน” ตั้งอยูที่ดอนเมือง ทางดาน ตะวันตกของสนามบิน มีหนาที่อํานวยการบริการ การบินทั่วไป สรางเครื่องบินตามแบบของตางประเทศ บูรณะซอมแซมเครื่องบินและเครื่องยนตใหพรอม ที่จะปฏิบัติการไดเสมอ จึงถือวันนี้เปนวันที่กอตั้ง กรมชางอากาศ เปนตนมา


พุทธศักราช ๒๔๗๓ ไดยายหนวยงาน จากที่ตั้งดอนเมืองมาอยูที่บางซื่อ และเริ่มทําการ ผลิตเครื่องบินในขั้นจัดเปนสายการผลิต ๑๒ เมษายน ๒๔๗๘ เปลี่ ย นชื่ อ จาก กองโรงงาน กรมอากาศยาน เปน “กองโรงงาน กรมทหารอากาศ” ๙ เมษายน ๒๔๘๐ กรมทหารอากาศยก ฐานะเปน “กองทัพอากาศ” ดังนั้น กองโรงงาน กรมทหารอากาศ จึงไดยกฐานะเปน “กรมโรงงาน ทหารอากาศ” ขึ้นตรงตอกองทัพอากาศ พุ ท ธศั ก ราช ๒๔๙๑ เปลี่ ย นชื่ อ จาก กรมโรงงานทหารอากาศ เปน กรมชางอากาศ ขึ้นตรง ตอกองทัพอากาศ

ตุ ล าคม ๒๕๓๙ กรมช า งอากาศจั ด อยู ในสายยุ ท ธบริ ก าร ในสายการบั ง คั บ บั ญ ชาของ กองบั ญ ชาการสนั บ สนุ น ทหารอากาศ หรื อ เรี ย ก ตามคํายอวา บนอ. ขึ้นตรงตอกองทัพอากาศ ๑ เมษายน ๒๕๕๒ กองทัพอากาศ ไดปรับ โครงสรางใหม กรมชางอากาศ จัดอยูในสายยุทธบริการ ขึ้ น ตรงต อ กองทั พ อากาศ มี ห น า ที่ ว างแผนการ ปฏิบัติ อํานวยการ ประสานงาน ติดตาม กํากับการ พัฒนาและดําเนินการเกี่ยวกับกิจการชางอากาศ ทั้งระบบ การพัสดุชางอากาศ และการพัสดุเชื้อเพลิง กับมีหนาที่จัดการความรู ควบคุม ประเมินผล และ ตรวจตรากิจการในสายวิทยาการดานชางอากาศ โดยมีหนวยขึ้นตรง กรมชางอากาศ ดังรูป


วิสัยทัศน เป น องค ก รที่ มุ ง เน น การพั ฒ นาระบบ การซอมสรางอากาศยาน ใหมีความปลอดภัยและ เปนมาตรฐานสากล ผลงานสํ า คั ญ ที่ ผ า นมาของกรมช า งอากาศ จากอดีตจนถึงปจจุบัน ๒๔ พฤษภาคม ๒๔๕๘ สร า งเครื่ อ งบิ น แบบ เบรเกต ชนิดปก ๒ ชั้น เปนผลสําเร็จ ไดทดลอง ทําการบินโดย พันโท พระเฉลิมอากาศ ผูบังคับการ กองบิ น ทหารบก เครื่ อ งบิ น สามารถขึ้ น สู อ ากาศ ไดอยางคลองแคลว สามารถบินไปมาในระยะสูง ประมาณ ๑๐๐ เมตร ๑๒ พฤษภาคม ๒๔๖๔ สร า งเครื่อ งบิ น นิออรปอรท และทําการบินไดสําเร็จ จํานวน ๔ เครื่อง การสรา งลํา ตั ว ปก หางและใบพั ดของเครื่อ งบิน สรางดวยพันธุไมที่เกิดขึ้นในประเทศไทย ป พ.ศ.๒๔๗๐ ได ทํ า การออกแบบและ สรางเครื่องบินทิ้งระเบิดแบบ บ.ท.๒ ซึ่งเครื่องบิน แบบนี้เรียกวา เครื่องบินบริ พัตร เปน เครื่องบิน ทิ้งระเบิด ๒ ที่นั่ง ปก ๒ ชั้น ใชเครื่องยนตจูปเตอร ๔๐๐-๖๐๐ แรงมา ๑ เครื่อง ในป พ.ศ.๒๔๗๒ ใชบิน เดินทางไปเยือนอินเดีย และในป ๒๔๗๓ ไดบินไป ฮานอย ปจจุบันมีตัวอยางใหชมบริเวณชองทางเขา สโมสรนายทหารอากาศ บางซื่อ ป พ.ศ.๒๔๗๒ ได อ อกแบบ และสร า ง เครื่ อ งบิ น ขั บ ไล แบบ ข.๕ ซึ่ ง เครื่ อ งบิ น แบบนี้ เรียกวา “เครื่องบินประชาธิปก” ตามพระนาม พระบาทสมเด็ จ พระปกเกล า เจ า อยู หั ว ที่ ไ ด

พระราชทานชื่อไว นับวาเปนเครื่องบินแบบที่สอง ที่ออกแบบและสรางเองโดยคนไทย ๑๕ มิถุนายน ๒๔๗๒ ไดสรางเครื่องบิ น แบบนิ อ อร ป อร ท โดยใช เ ครื่ อ งยนต เ ลอโรน ๘๐ แรงมา จํานวน ๑ เครื่อง ป พ.ศ.๒๔๙๐ พัฒนาการสราง บ.ทอ.๒ ดัดแปลงชุดหางจากเครื่องบินสื่อสาร แบบที่ ๕ ซึ่ง เดิมเปน V Type ใหเปนแบบใชแพนหางดิ่ง และ แพนหางระดับ แผนแบบ บ.ทอ.๓ และผลิตหุนจําลอง ขนาด ๑:๖ ไปทดลองที่ประเทศญี่ปุน, บ.ทอ.๔ ใช แ บบจากเครื่ อ งบิ น ฝ ก แบบที่ ๙ โดยเปลี่ ย น เครื่องยนตและแผนโครงสรางบริเวณปก และลําตัว จํานวน ๑๒ เครื่อง เขาประจําการกองทัพอากาศ เปนเครื่องบินฝก แบบ ๑๗ ๒๓ กุมภาพันธ ๒๕๑๔ พัฒนาเครื่องบิน แบบ บ.ทอ.๔ เปนเครื่องบินแบบฝก ปกชั้นเดียว ๒ ที่นั่งตามกัน ฐานพับไมได ใชเครื่องยนตคอนติเนนตัล ไอโด-๓๖๐ ดี กําลัง ๒๑๐ แรงมา จํานวน ๑๒ เครื่อง ทําการบินครั้งแรกเมื่อวันที่ ๒๕ กันยายน ๒๕๑๕ ป พ.ศ.๒๕๑๗ แผนแบบด า นโครงสร า ง และอากาศพลศาสตร บ.ทอ.๕ โดยทํา การสร า ง และทดสอบการบิน จํานวน ๑ เครื่อง ป พ.ศ.๒๕๒๖ สรางเครื่องบิน Fantainer รวมกับบริษัท RHEIN FLUGZEUGBAU GMBH จาก ประเทศเยอรมนี แ ละได บ รรจุ เ ข า ประจํ า การ กองทัพอากาศ เปนเครื่องบินฝกแบบ ๑๘/ก (FT ๔๐๐ และ FT ๖๐๐) จํานวน ๒๐ เครื่อง - ทํ า การซ อ มบํ า รุ ง และปรั บ ปรุ ง สภาพ เครื่ อ งบิน เพื่อใชใ นกิจ กรรมฝนหลวง ๑๑ เครื่อ ง


คือ เครื่องบินลําเลียง ๔ ก จํานวน ๓ เครื่อง เครื่องบิน ลําเลียง ๙ จํานวน ๖ เครื่อง และ เครื่องบินโจมตี แบบ ๖ ป พ.ศ.๒๕๔๒ แผนแบบสรางและติดตั้ง อุปกรณดับไฟปา บน.บ.ล.๒ ก หลั ง จากว า งเว น จากการสร า งเครื่ อ งบิ น มาเปนเวลากวา ๒๐ ป เนื่องจาก ทอ.ไดจดั หาเครือ่ งบิน สมั ย ใหม ไดแก เครื่องบิ น F-5 และ F-16 ซึ่ง เปน เครื่องบินที่มีสมรรถนะและเทคโนโลยีสูง ตองการ การซอมบํารุงแบบสมัยใหม กรมชางอากาศ ฯ จึงมี แนวความคิดที่จะพัฒนาการสรางอากาศยาน เพื่อ รองรับอุตสาหกรรมการบิน ตามนโยบายของรัฐบาล ที่จะใหประเทศไทยเปนศูนยกลางการบินในภูมิภาค ป พ.ศ.๒๕๔๙ กรมชางอากาศ ฯ ไดจัดทํา โครงการสราง บ.ทอ.๖ ตนแบบ ขึ้นและเพื่อใหเกิด ความมั่นใจในการพัฒนาบุคลากรและเทคโนโลยี สมัยใหม กรมชางอากาศ ฯ จึงไดทําโครงการสราง บ.ทอ.๒ ขึ้นกอน จํานวน ๑ เครื่อง โดยการ Reverse Engineering บ.แบบ Marchetti (บ.ฝ.๑๕) ซึ่งเปน บ.ฝกสมรรถนะสูง และ บ.ทอ.๒ ไดผานทําการบิน ทดสอบไปแลว เมื่อ ก.ย.๕๐ โครงการสร าง บ.ทอ.๖ ต นแบบ เริ่ ม ดํ าเนิ นการตั้ ง แต ป พ.ศ.๒๕๔๙ ขณะนี้ ไ ด ดํ า เนิ น การประกอบโครงสร า งหลั ก และ พื้ น บั ง คั บ เสร็ จ เรี ย บร อ ยแล ว คาดว า จะ เริ่มทําการทดสอบ การทํางานของระบบตาง ๆ ภายในเดื อ น มี . ค.๕๔ ทดสอบเสร็ จ บ. พรอมบินเที่ยวแรก ใน ๑๙ เม.ย.๕๔ ป จ จุ บั น กรมช า งอากาศ ฯ ดู แ ล

รับผิดชอบการสง กําลังและซอมบํา รุงอากาศยาน ของกองทั พ อากาศ จํ า นวน ๙ ประเภท ได แ ก ประเภทขั บ ไล ประเภทโจมตี ประเภทลํ า เลี ย ง ประเภทลาดตระเวน ประเภทเฮลิ ค อปเตอร ประเภทบุ ค คลสํ า คั ญ ประเภทฝ ก สั ง กั ด โรงเรี ย น การบิน ประเภทฝกสังกัดกองบิน และประเภทปฏิบัติ เฉพาะกิจพิเศษ นอกเหนือจากการสงกําลังและซอมบํารุง อากาศยานของกองทัพอากาศแลว กรมชางอากาศฯ ยัง มี ภารกิจที่รับผิดชอบ งานซอมบํา รุง ดัดแปลง แกไขอากาศยานพระราชพาหนะประจําพระองค ของพลเอกสมเด็จพระบรมโอรสาธิราช สยามมกุฎราชกุมาร รวมถึงรถยนตพระที่นั่งโบราณ และงาน สนับสนุนแกหนวยตาง ๆ ในปที่ผานมา ดังนี้ ๑. งานทํ า ความสะอาด ตกแต ง สี และ ปรั บ ปรุ ง สภาพภายในและภายนอก บ.ล.๕ และ ฮ.๖ก และงานขนยา ย-ประกอบติดตั้ ง บ.ข.๑๘ข ณ วังทวีวัฒนา ๒. งานทํ า ความสะอาด ตกแต ง สี และ ปรั บ ปรุ ง สภาพภายในและภายนอก บ.และ ฮ. ตั้ ง แสดง ณ พิ พิ ธ ภั ณ ฑ ทอ. จํ า นวน ๑๗ เครื่ อ ง


บ.ตั้งแสดง ณ นขต.ทอ., รร.การบิน และ กองบินตาง ๆ จํานวน ๑๑ เครื่อง ๓. งานสร า งผ า คลุ ม บ.ฝ.๑๕ ณ พระที่นั่งอัมพรสถาน, สรางผาคลุม บ.ข.๑๘ข หนวยบิน เดโชชัย ๓ และสรางผาคลุมเกาอี้ ที่นั่งในหอง VIP ของ บ.ล.๑๖ ๔. งานดํ า เนิ น การปรั บ ปรุ ง สภาพ ภายในและตกแต ง สี บ.ฝ.๑๔ (VVIP) จํานวน ๓ เครื่อง ๕. งานดําเนินการสรางแทนบรรยายดวย Canopy ของ บ.ขฝ.๑ ๖. งานปรับปรุงสภาพ บ.ข.๑๘ข เพื่อนําไป ตั้งแสดง ณ รร.นอ. ๗. งานสราง Main Rotor Blade ของ ฮ.๕ , สราง Tail Rotor Blade ของ ฮ.๑ และปรับปรุง สภาพภายใน ฮ.๓ ณ พิพิธภัณฑ ทอ. ๘. งานเคลื่อนยาย บ.จ.๖ จากพิพิธภัณฑ ทอ. ไปตั้ งแสดง ณ พิ พิธ ภั ณฑ ธ นาคารไทย และ นํากลับ

๙. งานสรางเรือทองแบน จํานวน ๒๒ ลํา เพื่อชวยเหลือผูประสบอุทกภัย

งานโครงการที่สําคัญ ๑. โครงการ Falcon Star บ.ข.๑๙/ก ทั้ง ๓ ฝูงบิน จํานวน ๕๗ เครื่อง ระยะเวลาดําเนินการ ๕๒ เดือน ตั้งแต ธ.ค.๕๐ – มี.ค.๕๕ ดําเนินการ เสร็ จ แล ว ๓๔ เครื่ อ ง กํ า ลั ง ดํ า เนิ น การ ๙ เครื่ อ ง ยังไมไดดําเนินการ ๑๔ เครื่อง

๒. โครงการ TKT Rewiring บ.ข.๑๙/ก ฝู ง .๑๐๒ และ ฝู ง .๑๐๓ จํ า นวน ๓๙ เครื่ อ ง ดํ า เนิ น การเมื่ อ บ.เขาตรวจ PHASE ดําเนินการเสร็จแลว ๒๘ เครื่อง กําลังดําเนินการ ๑๑ เครื่อง ๓. โครงการ PDM + Avionics Upgrade (AUP) บ.ล.๘ ฝูง.๖๐๑ Phase 2 ๓๕ เดือน (ต.ค.๕๐ –


ก.ย.๕๓) จํา นวน ๖ เครื่อ ง ดํา เนิ น การเสร็จ แล ว ๔ เครื่อง กําลังดําเนินการ ๒ เครื่อง ๔. โครงการ ECTM (Engine Condition Trend Monitoring) บ.ล.๘ ฝูง.๖๐๑ จํานวน ๑๒ เครื่ อ ง ทยอยดํ า เนิ น การดั ด แปลงเมื่ อ บ. ไมติดภารกิจ ดําเนินการเสร็จแลว ๓ เครื่อง ๕. โครงการ PDM บ.ขฝ.๑ ฝูง.๔๐๑ และ ฝูง.๔๑๑ จํานวน ๒๖ เครื่อง ระยะเวลาดําเนินการ ๕๙ เดือน (ส.ค.๕๓ – ก.ค.๕๘) กําลังดําเนินการ ๒ เครื่อง ๖. โครงการ 10 Yrs. Depot Insp. บ.จ.๗ ฝูง.๒๓๑ จํานวน ๑๖ เครื่อง PHASE 1 ๒๒ เดือน (ก.ค.๕๓ – เม.ย.๕๕) จํานวน ๖ เครื่อง กําลังดําเนินการ ๒ เครื่อง (PHASE 2 ๒๘ เดือน (ต.ค.๕๔ - ม.ค.๕๗) จํานวน ๑๐ เครื่อง)

งานดานขวัญและวินัย ๑. จัดใหมีบรรยายธรรมะทุกวันพุธสิ้นเดือน โดยพระเกจิ อ าจารย และให มี ก ารปฏิ บั ติ ธ รรม นอกที่ตั้งปละ ๑ ครั้ง จํานวน ๒ วัน

๒. จั ด ให มี ก ารออกกํ า ลั ง กายโยคะเพื่ อ สุ ข ภาพทุ ก บ า ยวั น พุ ธ และ แอร โ รบิ ค ทุ ก เย็ น วันอังคาร และวันพฤหัสบดี ๓. จัด การอบรมกี ฬ าเทนนิส แบดมิน ตั น วายน้ํา และคอมพิวเตอรภาคฤดูรอนแกบุตรหลาน ขาราชการ ลูกจางและพนักงานราชการ เปนประจํา ทุกป เพื่อใหเยาวชนใชเวลาว างใหเ ปนประโยชน และหางไกลยาเสพติด ๔. นิ ม นต พ ระสงฆ มารั บ บิ ณ ฑบาตจาก ขาราชการ ลูกจาง และพนักงานราชการหนาอาคาร บก.ชอ. ทุกวันพระ ๕. จัดรานขายของสินคา อุปโภค บริโภค ราคาถูกใหแกขาราชการ ลูกจาง และพนักงานราชการ ทุกวันจันทรที่ ๒ ของเดือน นับตั้งแต ๑๙ เมษายน ๒๔๖๕ ซึ่ ง ถื อ เป น วั น สถาปนากรมช า งอากาศ จนถึ ง ป จ จุ บั น เป น เวลา ๘๙ ป เราช า ง อากาศทุกคน ไดรวมแรงรวมใจกันปฏิบัติ ภารกิจตามที่ไดรับมอบหมาย ดวยความ วิ ริ ย ะ อุ ต สาหะและมุ ง มั่ น ที่ จ ะพั ฒ นา กิจการชางอากาศ ไมวาเปนการซอมบํารุง หรื อ การส ง กํ า ลั ง บํ า รุ ง รวมทั้ ง การวิ จั ย พั ฒ นาโครงการต า งๆ ให มี ค วาม ก า วหน า เป น ลําดับ ซึ่งเราชางอากาศทุกคนเต็มใจและภูมิใจเปน อยางยิ่ง เพื่อตอบสนองยุทธศาสตรกองทัพอากาศ ใหกาวไปสู One of The Best Air Forces in Asean


ปชส.บน.๖

น.อ.สุระ ไชโย ผู้บังคับการกองบิน ๖

น.อ.ยอดชาย โคตระภู รองผู้บังคับการกองบิน ๖

น.อ.สุรฤทธิ์ กิจจาทร รองผู้บังคับการกองบิน ๖

น.อ.จักร สุวรรณทัต เสนาธิการกองบิน ๖


กองบิน ๖ กอตั้งขึ้นเมื่อวันที่ ๑๒ เมษายน พ.ศ.๒๔๘๔ เดิมชื่อ “กองบินนอยที่ ๖” เปนกองบิน ทิ้งระเบิด แหงแรกของประเทศไทย ครั้งสงคราม มหาเอเซี ย บู ร พา โดยมี น.อ.สกล รสานนท เป น ผูบังคับการกองบินทานแรก ในขณะนั้นกองบินนอย ที่ ๖ ประกอบดวย ๒ ฝูงบิน คือ ฝูงบิน ๖๑ ประจําการ ณ สนามบิ น สระบุ รี บรรจุ เ ครื่ อ งบิ น แบบมาร ติ น และฝู ง บิ น ๖๒ ประจํ า การ ณ สนามบิ น หล ม สั ก จังหวัดเพชรบูรณ ต อ มาเมื่ อ พ.ศ.๒๕๐๖ กองบิ น น อ ยที่ ๖ ไดเปลี่ยนชื่อเปน กองบิน ๖ ตามอัตรา ทอ.๐๖ และ กลายเปนหนวยขึ้นตรงหนวยหนึ่งของกองทัพอากาศ สําหรับเกียรติภูมิของกองบิน ๖ ในอดีตนั้น กองบิน ๖ ไดถูกบันทึกลงในประวัติศาสตรสวนหนึ่ง ของกองทัพอากาศ ระหวาง พ.ศ.๒๕๐๗–๒๕๑๖ เมื่ อ หน ว ยได จั ด กํ า ลั ง พลและเครื่ อ งบิ น ลํ า เลี ย ง แบบ ๔ เขารวมในสมรภูมิสงครามเวียดนาม โดยได ออกเดินทางจากประเทศไทย เมื่อวันที่ ๑๙ กันยายน พ.ศ.๒๕๐๗ และเดิ น ทางกลั บ ถึ ง ประเทศไทย ในวันที่ ๑๕ ธันวาคม พ.ศ.๒๕๑๔ รวมระยะเวลา ในการเขารวมปฏิบัติการในสงครามครั้งนั้นทั้งสิ้น รวม ๗ ป ตลอดระยะเวลา ๗๐ ป ที่ ก องบิ น ๖ ได ปฏิบัติภารกิจใหกับกองทัพอากาศและประเทศไทย เปนจํานวนมากมาย ทั้งในดานการบินรับสงเสด็จ และพระบรมวงศานุวงศทุกพระองค การบินรับสง บุ ค คลสํา คัญ เป น กองบิ น ลํ า เลี ย งทางอากาศทั้ ง ภายในและภายนอกประเทศ รวมถึง การมีสวนรวม ในการปฏิ บั ติ ก ารสร า งเสริ ม สั น ติ ภ าพ และการ

ช ว ยเหลื อ ประชาชนผู ป ระสบภั ย พิ บั ติ อี ก ทั้ ง การ ฝกบินของนักบินสวนกลางของกองทัพอากาศและ การฝกสมาชิกหนวยฝกการบินพลเรือน รวมถึงการ ฝกบินใหกับนักเรียนนายเรืออากาศ เครื่องบินที่บรรจุมีทั้งสิ้น ๙ แบบ แตละแบบ ตองอาศัยนักบินและเจาหนาที่ประจําอากาศยานที่ มีความชํานาญแตกตางกัน ทําใหปจจุบัน กองบิน ๖ มีฝูงบินในสังกัด จํานวน ๔ ฝูงบิน ไดแก ฝูงบิน ๖๐๑ กองบิน ๖ บรรจุอากาศยาน แบบ บ.ล.๘ ฝูงบิน ๖๐๒ รักษาพระองค กองบิน ๖ บรรจุ อากาศยานแบบ บ.ล.๑๑ ค, บ.ล.๑๓ และ บ.ล.๑๕ ฝูงบิน ๖๐๓ กองบิน ๖ บรรจุอากาศยาน แบบ บ.ล.๕ และ บ.ล.๑๖ ฝูงบิน ๖๐๔ กองบิน ๖ บรรจุอากาศยาน แบบ บ.ฝ.๑๔, บ.ฝ.๑๖ และ บ.ฝ.๒๐ ซึ่ ง หากมองในเชิ ง โครงสร า งจะเห็ น ว า กองบิน ๖ นับวาเปนกองบินที่มีโครงสรางฝูงบิน และ จํานวนนักบินที่มากที่สุดกองบินหนึ่งในกองทัพอากาศ และเพื่อใหทุกอณูโครงสรางขององคกรมีการทํางาน ที่สัม พัน ธและสอดคลองกัน ชาวกองบิน ๖ จึงได รวมกันกําหนดวิสัยทัศนวา “เราตองการที่จะเปน กองบิ น ลํ า เลี ย งทางอากาศต น แบบในระดั บ ภูมิภาค” (Wing6: Airlift Role Model in ASEAN) ซึ่งวิสัยทัศนนี้นอกจากจะทําใหเราสามารถจะกาว ไปขางหนารวมกันอยางมั่นคงแลว ยังทําใหเราสามารถ สานต อ เจตนารมณ ข องผู บั ง คั บ บั ญ ชาและเป น สวนหนึ่งที่จะรวมผลักดันใหกองทัพอากาศของเรา กา วไปสู ก ารเป น กองทั พ อากาศชั้ น นํ า ในภู มิ ภ าค


(One of The Best Air Forces in ASEAN) ภายในป พ.ศ.๒๕๖๒ ตามวิสัยทัศนของกองทัพอากาศที่ระบุ ไวอีกดวย

จากวิ สั ย ทั ศ น ดั ง กล า วทํ า ให ก องบิ น ๖ กําหนดพันธกิจไวทั้งสิ้น ๕ ประการดังนี้ ๑. ปรั บ ปรุ ง เปลี่ ย นแปลง และพั ฒ นา พฤติกรรมพื้นฐานของบุคลากร (People Behavior Change) ใหมีศักยภาพ พรอมกาวเขาสูยุค Network Centric Operations: NCO ๒. พัฒนา และกําหนดมาตรฐานงานโดยใช เครื่องมือเทคโนโลยีสารสนเทศ เพื่อสรางความเปน มาตรฐานในการปฏิบัติงาน (Consistency in ICT) ๓. เสริ ม สร า งมาตรฐานองค ค วามรู ด า น การบิน เพื่อมุงสูการเปนกองบินลําเลียงทางอากาศ ตนแบบ (Airlift Knowledge Standardization) ๔. วางแผน ควบคุม และกํากับดูแล การซอม บํารุงอากาศยานของกองบิน ๖ (Logistic Control) ให ส ามารถตอบสนองภารกิ จ ที่ ไ ด รั บ มอบหมาย อยางมีประสิทธิภาพ ๕. ส ง เสริ ม และพั ฒ นาองค ค วามรู ข อง กองบินในภาพรวม เพื่อใหกาวทันการเปลี่ยนแปลง

ตาง ๆ ที่จะเกิดขึ้นในอนาคตอันใกล (Wing Development)

6

ผลงานและความภูมิใจของกองบิน ๖ ในชวงเวลาที่ผานมา ไดแก - การถวายบินรับ–สงเสด็จ และพระบรมวงศานุวงศทุกพระองค - การบินรับ-สงบุคคลสําคัญ เชน สมเด็จ พระสั ง ฆราช นายกรั ฐ มนตรี คณะรั ฐ มนตรี แ ละ ผูบัญชาการเหลาทัพ - ก า ร บิ น เ คลื่ อ น ย า ย กํ า ลั ง ก อ ง ร อ ย ทหารชางเฉพาะกิจ ณ ประเทศสาธารณรัฐอิสลาม อัฟกานิสถาน - การบิ น เคลื่ อ นย า ยกํ า ลั ง พลและหน ว ย เฉพาะกิ จ เข า ร ว มกองกํ า ลั ง เฉพาะกิ จ ปฏิ บั ติ ก าร เพื่อมนุษยธรรม ๙๖๗ ไทย/อิรัก - การขนเวชภั ณ ฑ ช ว ยเหลื อ ผู ป ระสบภั ย แผ น ดิ น ไหว ณ ประเทศสาธารณรั ฐ อิ ส ลามแห ง อิหราน - การบิ น หมู ทิ้ ง ร ม เฉลิ ม พระเกี ย รติ พระบาทสมเด็ จ พระเจ า อยู หั ว ในวโรกาสทรง ครองราชย ครบ ๖๐ ป ทําลายสถิติโลก ๔๐๐ คน ณ สนามบินอุดรธานี - การบิน ชวยเหลือผูประสบภัยธรณีพิบัติ TSUNAMI - การบินโปรยน้ําลดมลพิษ เนื่องจากหมอก ควัน ในพื้นที่ภาคเหนือ - การบิ น ให ค วามช ว ยเหลื อ ผู ป ระสบภั ย พายุไซโคลนนาสกีส ณ สหภาพพมา


- ดําเนินการเปดหลักสูตรการบินลําเลียง ขั้นตน (Air Lift Lead In) ใหกับนักบินใหมที่ศึกษา จากโรงเรียนการบิน เปนนักบินประจํากองในสวน ของเครื่องบินลําเลียง - การไดรับอนุมัติจากกรมการบินพลเรือน ในเรื่ อ งเกี่ ย วกั บ การมี ใ บอนุ ญ าตขั บขี่ ข องนั ก บิ น นักบินสวนบุคคล หลักสูตรเครื่องวัดประกอบการบิน หลั ก สู ต รการบิ น กั บ เครื่ อ งบิ น หลายเครื่ อ งยนต และปรับหนวยฝกการบินพลเรือน กองทัพอากาศ ธรรม

ใหเปนสถาบันการฝกอบรม โดยที่กลาวมาขางตน ไดรับการรับรองจากกรมการบินพลเรือน เปนการ พัฒนาระบบการศึกษา การฝกอบรม ซึ่งผูที่ผานการ ฝกอบรมสามารถมีสิทธิ์ที่จะขอรับการสมัครสอบ ภาคทฤษฎีจากกรมการบินพลเรือน โดยศักยการบิน ดังกลาว มีผลตอการปฏิบัติภารกิจกองทัพอากาศ ไดแก การรับอากาศยานใหม ๆ ที่จะเขามาประจําการ และการปฏิบัติการบินของกองบิน ๖


บ.ล.๑๖ (ATR 72-500) เป็น บ.รุน่ ล่าสุดของ กองบิน ๖ จากผลงานในอดีตที่ผานมาจะเห็น ไดวา ความหลากหลายของเครื่ อ งบิ น ที่ บ รรจุ อ ยู ใ น กองบิน ๖ สามารถที่จะตอบสนองภารกิจที่สําคัญ ไมเพียงแตภารกิจของกองทัพอากาศเทานั้น แตยัง ธรรม

สามารถตอบสนองภารกิ จ ที่ สํ า คั ญ ของประเทศ ไดอีกดวย ถึงแมจะผานมาแลว ๗๐ป แตทุกๆ ยางกาว ตอไปของ กองบิน ๖ ก็ยังพรอมที่จะปฏิบัติภารกิจ เพื่อกองทัพอากาศ และประเทศชาติตอไป


Gp.Capt.Cesky ความเคลื่อนไหวเกี่ยวกับเครื่องบินรบใน ภูมิภาคเอเชีย-แปซิฟก การจัดหาเครื่องบินรบขั้นสูง ยั ง คงมี ค วามต อ งการในการสร า งความมั่ น คง ในตลาดการคาเครื่องบินรบไดประสบความสําเร็จ ที่ ห ลากหลายในการค า ขายเครื่ อ งบิ น รบขั้ น สู ง ในภูมิภาคนี้ ขณะที่ประเทศออสเตรเลีย และอินเดีย ไดดําเนินการในการปรับปรุงเครื่องบินรบใหมีการ ปองกันขั้ นสูง และประเทศที่ มีง บประมาณจํ ากัด ไดมุงเนนในความสามารถจัดหา และเทคโนโลยี จากประเทศรัสเซีย การจัดหาเครื่องบินรบที่ผสมผสาน กั น จากประเทศตะวั น ตก และจากรั ส เซี ย ได เ พิ่ ม มากขึ้น ในตนป 2010 กองทัพอากาศออสเตรเลีย (RAAF) ไดรับ F/A-18F Block II Super Hornet 24 เครื่ อ งแรก ซึ่ ง สั่ ง ซื้ อ ในเดื อ น มี . ค.2007 เป น ส ว นหนึ่ ง ในโครงการเพิ่ ม กํ า ลั ง ทางอากาศและ การปรั บ ปรุ ง เครื่ อ งบิ น รบในการป อ งกั น ประเทศ

อยางไมหยุดยั้ง สําหรับ F/A-18F Block II จํานวน ที่เหลือ จะสงมอบทั้งหมดปลายป 2011 ซึ่งมีมูลคา 2.9 พันลานเหรียญออสเตรเลีย เครื่องบินรบ F/A-18F เปน บ.รบเอนกประสงคซึ่งเปนสัญลักษณของ บ.รบ ในยุคตอไป ในระดับขีดความสามารถในการปองกัน ภัยทางอากาศสําหรับ ทอ.ออสเตรเลีย


อยางไมหยุดยั้ง สําหรับ F/A-18F Block II จํานวน ที่เหลือ จะสงมอบทั้งหมดปลายป 2011 ซึ่งมีมูลคา 2.9 พันลานเหรียญออสเตรเลีย เครื่องบินรบ F/A-18F เปน บ.รบเอนกประสงคซึ่งเปนสัญลักษณของ บ.รบ ในยุคตอไป ในระดับขีดความสามารถในการปองกัน ภัยทางอากาศสําหรับ ทอ.ออสเตรเลีย

F/A-18F จํานวน 6 เครื่องแรก บินเดินทางมาถึง Australia

บ.F/A-18F Block II ไดติดตั้งเรดารรุน APG-79 Active Electronically Scanned Array (AESA) (AESA radar provides nearly instantaneous track updates and multi-target tracking capability)

มีขีดความสามารถในทุ กภารกิจทางยุ ทธวิ ธี ประกอบดวยการครองอากาศ การโจมตีทางอากาศ ทั้งกลางวัน และกลางคืนดวยอาวุธนําวิถีที่มีความ แมนยําสูง การบินคุมกัน การปฏิบัติการทางอากาศ โดยใกลชิด การโจมตีทางทะเล การบินลาดตระเวน การควบคุมการโจมตีทางอากาศ (AFAC) และการ เติมน้ํามันเชื้อเพลิงในอากาศ ทอ.ออสเตรเลี ย มี ค วาม ต อ งการให มี ค วามพร อ มรบกั บ บ.F/A-18F Block II Super Hornet ภายในสิ้ น ป 2010 สํ า หรั บ การ ซื้ อ ขายกระทํ า ภายใต โ ครงการ FMS กับรัฐบาลสหรัฐ ฯ โครงการ ปรั บ ปรุ ง ขี ด ความสามารถของ บ.รบ ประกอบด ว ยเครื่ อ งมื อ ชวยนักบิน (AVIONIC) โดยเพิ่ม ประสิทธิภาพในเรื่องการรูเทาทันสถานการณในขณะ ทําการบิน (Situation Awareness) เพิ่มประสิทธิภาพ เรดาร และเพิ่ ม ศั ก ยภาพในการปฏิ บั ติ ส งคราม อิเล็กทรอนิกส ซึ่งจะเพิ่มประสิทธิภาพในการปองกัน


ทางอากาศมากยิ่ ง ขึ้ น โดยเฉพาะการปรั บ ปรุ ง Full Colour Display, Moving Map, Secured Data Link 16 ระบบ Helmet Mounted Cueing, ระบบ ตอตานสงครามอิเล็กทรอนิกสมีขีดความสามารถ ในการรบกวนคลื่นเรดารและติดตั้งเรดารแจงเตือน รุนใหม ตลอดจนการปรับปรุงโครงสราง บ.LAU-127 guided missile launchers, AN/ALE-55 fiber optic towed decoys ใชปองกันเครื่องบินจากการถูกยิง ดวย Missile นําวิถีดวยเรดาร ดวยการปลอยสัญญาณ รบกวนเรดารของ บ.ขาศึก หรือจากตัวของ Missile ให Break Lock และจะลอให Missile ไมตามเครื่องบิน

Super Hornet ไดถูกเลือกเพื่อทดแทน บ.F-111 ซึ่งจะปลดประจําการในป 2010 ซึ่ง บ.F-111 ถือวาเปนเครื่องบินโจมตีหลักของ ทอ.ออสเตรเลีย ตลอดชวง 40 ปที่ผานมา สาเหตุที่ตองปลดประจําการ ก็ คื อ ค า ใช จ า ยในการซ อ มบํ า รุ ง เพิ่ ม มากขึ้ น และ คาใชจายในการปฏิบัติการแตละเที่ยวบินสูงมาก ขึ้นดวย เดิมที่จะใช บ.F-111 จนไดรับ บ.Joint Strike Fighter 35 (JSF-35) Lightning II(F-35) อยางไร ก็ตามดวยอายุของ บ.F-111 และความลาชาอยาง ไมมีกําหนดของโครงการ บ.F-35 ในระหวางเวลาที่ รอการทดแทน บ.F-111 ดวย บ.F-35 ทอ.ออสเตรเลีย จะใช บ.Super Hornet ในการปฏิบัติภารกิจในการ โจมตีทางอากาศแทน บ.F-111 ในขณะที่กองทัพเรือ

สหรัฐฯ ไดมี บ.Super Hornet เขาประจําการ จํานวน 420 เครื่อง โดยมี ทอ.ออสเตรเลียเปน กองทัพอากาศแรก ที่ใช Super Hornet นอกจาก สหรัฐ ฯ สําหรับ บ.Super Hornets 5 เครื่องแรก มาถึงสนามบิน Amberley ในรัฐ Queensland วันที่ 26 มีนาคม 2010 และชุดที่ 2 จํานวน 6 เครื่อง สงใหใน 7 กรกฎาคม 2010 โดยจะประจําการกับ ฝูงบินที่ 1 และฝูงบินที่ 6

Joint Strike Fighter บ.F-35 ได ถู ก ตรวจสอบอย า งละเอี ย ด โดยสื่อทั้งภายใน และภายนอกประเทศ และการ วิเคราะหการปองกันประเทศซึ่งมีคําถามเกี่ยวกับ ความเหมาะสม ความต อ งการเครื่ อ งบิ น โจมตี ระยะไกล ออสเตรเลียเปนประเทศ 1 ใน 8 ประเทศ ที่ล งทุน ในโครงการพั ฒ นา บ.F-35 แตร ะยะเวลา ในการผลิตไมเปนไปตามกําหนด รัฐบาลออสเตรเลีย ยังคงดําเนินการตามโครงการพัฒนา บ.F-35 ตอไป ซึ่ง บ.F-35 มีคุณลักษณะเปน บ.รบความเร็วเหนือเสียง เปน บ.รบในยุคที่ 5 ที่มีความคลองตัวสูง มีระบบ


ช ว ยให นั ก บิ น มี ค วามรอบรู เ ท า ทั น สถานการณ ในขณะทําการบิน (SA) อยางที่ไมมี บ.รบชนิดใด ธรรม

มีมากอน และขีดความสามารถในการบินหลบหลีก จากอาวุธตอตานจากขาศึกอยางหาที่เปรียบไมได

บ.F-35 มีการสรางดวยกัน 3 แบบ

F-35A การขึน้ ลงสนาม โดยใชทางวิ่งปกติ


F-35B การวิง่ ขึ้นสนามสัน้ และการลงสนามทางดิ่ง Short take-off and vertival landing (STOVL)

F-35C สําหรับขึ้นลง บนเรือบรรทุกเครื่องบิน

เปรียบเทียบระหวาง บ.SU-30 Vs F-35 Vs F/A-18


เปรียบเทียบคาใชจายในการปฏิบัติภารกิจ

เปรียบเทียบ บ.F-111 Vs F-35 Vs F/A-18


กองทัพอากาศอินเดียมีความตองการใน การจัดหา บ.รบขนาดกลางเอนกประสงค (Medium Multi-Role Combat Aircraft(MMRCA)) โดยมี บ.รบ เขาแขงขันประกอบดวย บ.Lockheed Martin F-16IN, บ.MIG-35 บ.Rafale, บ.Eurofighter Typhoon และ บ.Gripen สําหรับ บ.Rafale และ บ.Eurofighter Typhoon ยังไมประสบความสําเร็จในภูมิภาคนี้ เนื่องจากมี บ.MIG-35 เปนอุปสรรคในการแขงขัน ซึ่งตลาดยังมีความตองการใน บ.รบของรัสเซียกับ กองทัพ อากาศในหลายๆ ประเทศโดยการจั ด หา เพิ่มเติม บ.รบแบบ SU-30 และ MIG-35 เพื่อทดแทน Su-27,MiG-21,MiG-29 และ MiG-27

The Mikoyan MiG-35 มีขอไดเปรียบกับ บ.รบขนาดกลางจากประเทศอื่ น ๆ ที่ มี ขีด ความ สามารถในการติดตั้งอาวุธที่มีความแมนยําสูงถึง 12,000 ปอนดและมีเรดารรุน Zhuk-AE AESA ซึ่ง สามารถติดตาม(Track) เปาหมายไดถึง 30 เปาหมาย ระยะตรวจจั บ เป า หมายได ไ กล 160 กม. และ สิ่ ง สํ า คั ญ การถ า ยทอดเทคโนโลยี ใ ห ทั้ ง หมด ซึ่ ง ประเทศตะวั น ตกไม ส ามารถทํ า ได นอกจากนั้ น เทคโนโลยี ข องรั ส เซี ย ยั ง ได รั บ การยอมรั บ ในการ จัดหา บ.รบ Su-30 ทั้งมาเลเซียและอินโดนีเซีย

The SAAB Gripen ก็ถือไดวาประสบผลสําเร็จ ในภูมิภาค ซึ่งไดใหขอเสนอกับอินเดียการถายทอด เทคโนโลยี ใ ห ทั้ ง หมด ติ ด ตั้ ง เครื่ อ งยนต General Electric F414G และ full integrated AVIONIC mission system, ปฏิบัติภารกิจไดอเนกประสงค เพิ่มประสิทธิภาพในการบินไดนานมากขึ้น และได ไกลมากขึ้ น ตลอดจนเพิ่ ม น้ํ า หนั ก ในการบรรทุ ก มากขึ้นดวย สวนในรุน Naval Version กําลังไดรับ การพิจารณาสําหรับ ทร.อินเดียในอนาคต สําหรับ บ.Gripen รุนใหม ทอ.ไทยไดจัดหาเขาประจําการ จํานวน 12 เครื่อง เพื่อทดแทน บ.F-5B/E นอกจากนั้น มี บ.SAAB Erieye Airborne Early Warning(AEW) จํานวน 2 เครื่องในโครงการนี้ดวย

The Boeing F-15 ประเทศสิงคโปรเปน ประเทศแรกในภูมิภาคที่ไดจัดหา บ.F-15SG เขา ประจําการจํานวน 12 เครื่อง ไดสั่งซื้อในป 2005 และไดสั่งซื้อเพิ่มเติมใหครบ 24 เครื่องในป 2007 โดยจะสงมอบทั้งหมดในป 2011 ความสามารถของ บ.F-15SG ถูกออกแบบมาเพื่อปฏิบัติภารกิจตามที่ สิงคโปรกําหนดโดยติดตั้งอุปกรณในการเดินอากาศ แบบ LANTRIN โดยมี Terrain following radar, Forward-looking infrared และ Sniper ZR EO/


laser targeting pod สําหรับเรดารรุน APG-63V3 AESA (เพิ่ม SA ใหกับนักบินในการปฏิบัติภารกิจ ทุกกาลอากาศ เรดารมีหลายโหมด ใชไดเอนกประสงค การสนั บ สนุ น ในเรื่ อ งอะไหล อ ย า งยาวนาน และ ในการปรับปรุงสามารถกระทําไดอยางไมยุงยาก) การตรวจจับเปาหมายไดที่ระยะ 125 กม. และให อิสราเอลในการติดตั้ง Mission Computer และ ธรรม

ระบบสงครามอิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส ส ว นอาวุ ธ ที่ ติ ด ตั้ ง ประกอบดวย AIM-9X sidewinder, AIM-120 AMRAAM, ระเบิด JDAM นําวิถีดวย GPS และ อาวุธอากาศสูพื้นระยะไกล AGM-154 เปนอาวุธ standoff ระยะ 15 ไมล (28 กม.)ที่ความสูงต่ํา และ ที่ ค วามสู ง สู ง สามารถใช อ าวุ ธ ได ไ กลถึ ง 60 ไมล (111 กม.) MMM


พ.อ.อ.จํานงค ศรีโพธิ์

ปจจุบันกองทัพอากาศ 5 ประเทศทั่วโลก ประจําการดวยเครื่องบินขับไล JAS-39 Gripen ไดแก กองทัพอากาศสวีเดน (JAS-39 A 53 เครื่อง JAS-39B 10 เครื่อง JAS-39C 45 เครื่อง และ JAS-39D 13 เครื่อง) กองทัพอากาศแอฟริกาใต (JAS-39C 17 เครื่อง JAS-39D 9 เครื่อง) กองทัพอากาศ สาธารณรัฐเชค (JAS-39C 12 เครื่อง และ JAS-39D 2 เครื่อง) กองทัพอากาศฮังการี (JAS-39C 12 เครื่อง และ JAS-39D 2 เครื่อง) และกองทัพอากาศไทย (JAS-39 C/D 12 เครื่อง) นอกจากนี้โรงเรียนการบิน Empire Test Pilots' School ประเทศอังกฤษ ยังมี JAS-39B 1 เครื่อง โดยในบรรดากองทัพอากาศ ตางชาติ 4 ประเทศ มีเพียงกองทัพอากาศแอฟริกาใต และกองทั พ อากาศไทยที่ จั ด หาโดยวิ ธี จั ด ซื้ อ เครื่องบินเขาประจําการ ในขณะที่กองทัพอากาศ สาธารณรัฐเชค และกองทัพอากาศฮังการีทําการ “เชา” (lease) เครื่องบินจากกองทัพอากาศสวีเดน โดยกองทั พ อากาศทั้ ง สองประเทศอาจจะซื้ อ

เขา ประจํา การภายหลัง เมื่อสิ้ น สุด สัญ ญาเช า ซึ่ ง เครื่องบินขับไล Gripen ประจําการในกองทัพอากาศ สาธารณรัฐเชคจะครบสัญญาเชาในอีก 5 ปขางหนา คือป 2558 สําหรับกองทัพอากาศสาธารณรัฐเชค เริ่มตนเมื่อป 2549 มีอายุสัญญาเชา 12 ป ประเทศแอฟริกาใตมีอุตสาหกรรมปองกัน ประเทศ รวมทั้งศักยภาพดานการพัฒนาอุปกรณ ติ ด ตั้ ง ใช ง านกั บ อากาศยานทางทหาร และการ ดัดแปลง ซอมสรางอากาศยาน จนกระทั่งสามารถ ทําการสงออกอาวุธหรือทําการดัดแปลงอากาศยาน ใหกับกองทั พตางประเทศ และเปนที่ยอมรับจาก นานาประเทศ ดังจะเห็นตัวอยางไดจากเครื่องบิน ขับไล SU-30 MKM ของกองทัพอากาศมาเลเซีย เลือกติดตั้งอุปกรณปองกันตนเอง แบบ Integrated Defensive Aids Suite (IDAS) ซึ่งประกอบดวย RWS-300 Radar Warning Receiver, MAW–300 Missile Approach Warning และ LWS-300 Laser Warner ทํางานในยานความถี่ 0.7–40 GHz จาก


บริ ษั ทผู ผลิ ตประเทศ แอฟริ กาใต เหตุ ผลที่ แอฟริ กาใต ต อ งทํ า การ พัฒนาอาวุธยุทโธปกรณ ขึ้ น มาใช ง าน แทนที่ จ ะ สั่ ง ซื้ อ จากบริ ษั ท ผู ผ ลิ ต ตางประเทศ เพราะเหตุผล แอฟริกาใตถูกสังคมโลก โดดเดี่ยวมาตั้งแต ป 2508 เ นื่ อ ง จ า ก ป ญ ห า ก า ร เหยี ย ดผิ ว อย า งรุ น แรง (Apartheid) สังคมโลกจึงประณามและสหประชาชาติ ทําการคว่ําบาตรหามตางประเทศขายอาวุธใหกับ แอฟริกาใต จึงทําใหแอฟริกาใตตองพึ่งตนเองในการ พัฒนาอาวุธยุทโธปกรณทางทหาร โดยไดรับการ ชวยเหลือในเรื่องการถายเทคโนโลยีจากบางประเทศ อยางลับๆ เนื่องจากขณะนั้นแอฟริกาใตทําสงคราม กับประเทศรอบบานหลายประเทศและกลุมกบฏ ภายในประเทศ ปจจุบันอาวุธจากบริษัทแอฟริกาใต ไดรับความนิยมและมีกองทัพหลายประเทศทั่วโลก สั่ ง ซื้ อ ไปใช ง าน รวมถึ ง ขี ด ความสามารถในการ ซ อ มสร า งและดั ด แปลงอากาศยานทั้ ง เครื่ อ งบิ น ขับไลและเฮลิคอปเตอร ตัวอยางความสําเร็จของ อุ ต สาหกรรมการบิ น ของแอฟริ ก าใต ได แ ก การออกแบบและสรางเฮลิคอปเตอรโจมตี CSH-2 Rooivalk และการดัดแปลงเฮลิคอปเตอร โจมตี แบบ MI-24 รัฐบาลแอฟริกาใตไดสั่งซื้อเครื่องบินขับไล JAS-39C/D เมื่อป 2548 เพื่อนํามาประจําการทดแทน

เครื่องบินขับไลไอพน แบบ cheetah C/D ซึ่งบริษัท Atlas Aircraft Corporation (ปจจุบันคือ Denel Aviation) ทําการปรับปรุงแผนแบบมาจากเครื่องบินขับไล แบบ Dassault Mirage III โดยไดรับความชวยเหลือจาก บริษัท Israel Aircraft Industries ของอิสราเอล ซึ่ง มี ป ระสบการณ ใ นการพั ฒ นาเครื่ อ งบิ น ขั บ ไล Mirage III เปนเครื่องบินขับไล Kfir ซึ่งบริษัท Atlas Aircraft Corporation ไดสรางเครื่องบิน Cheetah C/D ให กั บ กองทั พ อากาศแอฟริ ก าใต เ ป น จํ า นวนรวม 54 เครื่ อ ง การปฏิ บั ติ ภ ารกิ จ ในบทบาทการรบ อากาศ–สู–อากาศ เครื่องบินขับไล Cheetah C/D สามารถติดตั้งจรวดนําวิถีอากาศ–สู–อากาศ พิสัย กลาง แบบ V4 R-Darter จรวดนําวิถีอากาศ–สู– อากาศ พิสัยใกล แบบ U–Darter และจรวดนําวิถี อากาศ–สู–อากาศ พิสัยใกล แบบ V3C Darter ซึ่ง เปนอาวุธจากบริษัทผูผลิตในประเทศแอฟริกาใต พั ฒ นาขึ้ น ใช ง านเอง โดยจรวดนํ า วิ ถี แบบ V3C Darter มีการกลาวอางวามีขีดความสามารถเทียบเทา


กั บ จรวดนํ า วิ ถี อ ากาศ–สู –อากาศ แบบ AIM-9L Sidewinder ของสหรัฐฯ สําหรับในบทบาทอากาศ– สู–พื้น เครื่องบินขับไล Cheetah C/D สามารถติดตั้ง ระเบิดนําวิถีดวยเลเซอร แบบ 745 Paveway และ ระเบิดรอน (glide bomb) แบบ Raptor I ซึ่งสามารถ ร อ นเข า โจมตี เ ป า หมายที่ อ ยู ห า งไกลออกไป 60 กิโลเมตร กองทัพอากาศแอฟริกาใตเริ่มบรรจุ เครื่องบินขับไล Cheetah C/D เขาประจําการเมื่อ ป 2529 และปลดประจํ า การเมื่ อ ป 2551 โดย เครื่องบินขับไล Cheetah C ซึ่งปลดประจําการไปแลว กองทัพอากาศเอกัวดอรไดซื้อไปประจําการ จํานวน 12 เครื่อง เพื่อนําไปทดแทนเครื่องบินขับไล แบบ Mirage F.1JA เครื่องบินขับไล JAS-39 C/D ประจําการ อยูในกองทัพอากาศสาธารณรัฐเชค ฮังการี และ กองทัพอากาศไทย เปนเครื่องบินมาตรฐาน รุนติดตั้ง

ระบบเรดาร ระบบอวิ โอนิ ก ส รวมทั้ ง ติดตั้ง ระบบ อาวุธอากาศ–สู–อากาศ จากประเทศสหรัฐอเมริกา เหมือนกัน คือจรวดนําวิถีอากาศ–สู–อากาศ พิสัย ปานกลาง แบบ AIM-120 AMRAAM และจรวด นํ า วิ ถี อ ากาศ–สู –อากาศ พิ สั ย ใกล แบบ AIM-9 Sidewinder สําหรับ Gripen ของกองทัพอากาศ สวี เ ดนในระยะแรกติ ด ตั้ ง อาวุ ธ นํ า วิ ถี อ ากาศ–สู – อากาศ เป น AIM-120 และ AIM-9 เช น เดี ย วกั น แต ป จ จุ บั น กองทั พ อากาศสวี เ ดนได จั ด ซื้ อ จรวด นําวิถี IRIS–T เพื่อมาทดแทน AIM-9 นอกจากนี้ยัง อยูระหวางพัฒนาและทดสอบจรวดนําวิถีอากาศ– สู–อากาศ แบบ Meteor รวมกับกองทัพอากาศยุโรป เพื่ อ จะนํ า มาทดแทน AIM-120 ในอนาคต ซึ่ ง แตกตางจากเครื่องบินขับไล JAS-39 C/D ของ กองทัพอากาศแอฟริกาใตจะใชระบบอาวุธ รวมทั้ง ระบบสงครามอิเล็กทรอนิกสเพื่อปองกันตนเองที่


ทําการพัฒนาและผลิตขึ้นใชงานเอง ซึ่งในปจจุบัน แอฟริกาใตมีโครงการพัฒนาระบบอาวุธ 2 แบบ ที่ มี วั ต ถุ ป ระสงค จ ะนํ า มาติ ด ตั้ ง เป น อาวุ ธ สํ า หรั บ เครื่องบินขับไล Gripen โดยเฉพาะ คือ จรวดนําวิถี อากาศ–สู–อากาศ พิสัยใกล แบบ A – Darter และ ระเบิดนําวิถีแบบ Umbani A–Darter เปนโครงการรวมมือระหวาง แอฟริ ก าใต กั บ บราซิ ล โดยกองทั พ อากาศ แอฟริ ก าใต จ ะนํ า มาติ ด ตั้ ง กั บ เครื่ อ งบิ น ขั บ ไล JAS-39 C/D สําหรับกองทัพบราซิลจะนําไปติดตั้ง กับเครื่องบินขับไลและเครื่องบินโจมตีหลายแบบ ไดแก เครื่องบินขับไล แบบ F–5M และเครื่องบินโจมตี AMX ของกองทัพอากาศ สําหรับกองทัพเรือบราซิล จะนําไปติดตั้งกับเครื่องบินโจมตีประจําเรือบรรทุก เครื่องบิน แบบ A–4 Skyhawk นอกจากนี้กองทัพอากาศ บราซิ ล ยั ง มี โ ครงการจะนํ า จรวดนํ า วิ ถี A–Darter ไปติดตั้งกับเครื่องบินขับไลตามโครงการ FX–2 ซึ่ง อยูระหวางพิจารณาเลือกแบบเครื่องบินขับไล 1 ใน 3 แบบที่เขารวมแขงขันในโครงการ ไดแก Rafale จาก ฝรั่งเศส F/A-18 E/F จากสหรัฐฯ และ Gripen NG จากสวีเดน A-Darter เปนจรวดนําวิถีอากาศ–สู–อากาศ ยุ ค ที่ 5 ลั ก ษณะแผนแบบคล า ยกั บ จรวดนํ า วิ ถี ASRAAM (Advanced Short Range Air to Air Missile ; ASRAAM) ของอังกฤษ แผนแบบมีเฉพาะ ตั ว จรวด ไม มี ค รี บ หรื อ ป ก ติ ด ตามลํ า ตั ว น้ํ า หนั ก 89 กิโลกรัม ยาว 2.98 เมตร ขนาดเสนผาศูนยกลาง 0.166 เมตร การเคลื่อนที่ของ surface ใชการทํางาน ดวยระบบไฟฟา ทอจรวดเปนแบบ thrust vectoring

สามารถปรับเปลี่ยนทิศทางแรงขับ จึงทําใหจรวด สามารถหักเลี้ยวมุมแคบเพื่อไลลาติดตามอากาศ ยานเปาหมาย และนักบินสามารถทําการยิงจรวด นําวิถีเขาตอตีเปาหมายที่บินอยูนอกแนวยิง จรวด นําวิถี A-Darter ติดตั้งระบบติดตามเปาหมายดวย เทคโนโลยี อุ ป กรณ ส ร า งภาพด ว ยความร อ นที่ ทันสมัย โดยใช dual color IIR Seeker โดยระบบ ติดตามเปาหมายจะทําการบันทึกภาพเปาหมายใน ยานความถี่ IR- band ดังนั้นจึงยังสามารถเขาตอตี เปาหมายแมวาจะดําเนินมาตรการตอตานเพื่อ ทํา การก อ กวน หรื อ การปล อ ยเป า ลวงเข า ต อ ต า น ระบบติ ด ตามเป า หมายมี มุ ม ตรวจจั บ และนํ า วิ ถี เข า สูเ ป า หมายเปน มุ ม กว า งได ถึง 90 องศา (90degree off-bore-sight capability) และสามารถ มองเห็นเปาหมายภายในรัศมี 180 องศา (180 degree field of view) การใชจรวดนําวิถี A-Darter เขาตอตี เปา หมายระบบอาวุธ สามารถทํ า งานสั ม พัน ธกั บ หมวกบิน แบบ Helmet Mounted Sight ซึ่งนักบิน สามารถทํ า การเล็ ง เป า หมายผ า นหมวกบิ น เมื่ อ นักบินมองไปยังเปาหมายไมวาจะอยูตําแหนงหรือ ทิศทางใดสามารถปลอยจรวดเขาสังหารเปาหมาย ได ทั น ที ที่ ร ะยะทํ า การไกลสุ ด นั ก บิ น สามารถใช จรวดนําวิถี A–Darter เขาตอตีเปาหมายในโหมด “ยิงกอนแลวลอคเปาหมายทีหลัง” (Lock–on after launch) เชนเดียวกันจรวด ASRAAM (ติดตั้งใชงาน กับเครื่องบินขับไล F/A–18 A/B ของกองทัพอากาศ ออสเตรเลีย) โดยนักบินจะยิงจรวดไปยังหวงอากาศ ที่คาดวาอากาศยานเปาหมายบินอยู โดยการนํารอง ดวยระบบ inertial navigation กอนที่ระบบติดตาม


เปาหมาย (seeker) จะคนหาเปาหมายไดเอง ระบบ เครื อ ข า ยดาต า ลิ ง ค ของจรวดจะปรั บ ปรุ ง ข อ มู ล ขณะเดิ น ทางเข า สู เ ป า หมาย เพื่ อ ป อ งกั น การยิ ง เปาหมายผิดพลาด จรวดนําวิถี A–Darter มีระยะ ยิงไกลไมนอยกวา 20 กิโลเมตร ความกาวหน าของโครงการพั ฒนาจรวด นําวิถี แบบ A–Darter ณ ปจจุบัน ถึงขั้นทําการยิง ทดสอบจากเครื่องบินขับไล Gripen โดยกระทํา ธรรม

เมื่ อ เดื อ นกรกฎาคม 2553 ณ สนามใช อ าวุ ธ ของ กองทั พ อากาศแอฟริ ก าใต ซึ่ ง ผลการทดสอบ ประสบความสําเร็จดวยดี บริษัท Denel Dynamics ซึ่งทําการพัฒนาจรวดนําวิถี A–Darter จะทําการ ส ง มอบจรวดนํ า วิ ถี สํ า หรั บ ใช เ พื่ อ การฝ ก ให กั บ กองทั พ อากาศแอฟริ ก าใต แ ละกองทั พ อากาศ บราซิ ล ในป 2555 สํ า หรั บ จรวดนํ า วิ ถี A-Darter ของจริงกําหนดจะสงมอบในปถัดไป

(อานตอฉบับหนา)


น.อ.อภิชัย ศักดิ์สุภา (นนอ.๒๒) (ตอจากฉบับที่แลว) ๕๖. เหรี ย ญหลวงปู สิ ม พุ ท ธาจาโร วัดคําประมง อ.พรรณานิคม จ.สกลนคร สรางโดย น.อ.ณรงค ศาลิคุปต (ยศขณะนั้น) ผบ.ฝูงบิน ๒๓๖ (สกลนคร) เมื่อป ๒๕๓๔ ลักษณะของเหรียญเปน เหรียญรูปไข เนื้อทองแดงรมดํา ดานหนาเปนรูป หลวงปูสิมครึ่งองค ขางลางมีตัวหนังสือ “หลวงปูสิม พุทธาจาโร”

สวนดานหลังตรงกลางเปนรูปพุทธสถาน โดยมีรูปเครื่องหมายปกอยูขางลางของพุทธสถาน สําหรับขางบนมีตัวหนังสือ “ฝูงบิน ๒๓๖ สกลนคร” และขางลางมีตัวหนังสือ “ศิษย ทอ. สรางถวาย วัดคําประมง อ.พรรณานิคม” กับตัวเลข “๒๕๓๔”


๕ ๗ . รู ป ห ล อ พ ร ะ ไ พ รี พิ น า ศ รุ น “นภาธิปตย ๔๐” สรางโดยคณะนักเรียนโรงเรียน เสนาธิ ก ารทหารอากาศ รุ น ๔๐ เมื่ อ ป ๒๕๓๙ ในสมั ย ที่ พล.อ.ต.มหิ น ทรา เที ย มทั ศ น (ยศ ขณะนั้น) ดํารงตําแหนง ผบ.รร.สธ.ทอ.ฯ เพื่อหารายได สวนหนึ่งจัดซื้อเครื่องมือแพทยมอบใหกับ รพ.ภูมิพลอดุ ล ยเดช กรมแพทย ท หารอากาศ ลั ก ษณะของ องคพระเปนรูปหล อจํา ลอง “พระไพรีพินาศ” ที่ ฐานดานหนามีตราสัญลักษณพระนามยอ “ญสส” ซึ่ ง หมายถึ ง “สมเด็ จ พระญาณสั ง วรสมเด็ จ พระสังฆราช สกลมหาสังฆปริณายก” สวนดานหลัง ที่ฐานขางลางมีตัวหนังสือ “ไพรีพินาศ” ในการจั ด สร า งนั้น ได จั ด ทํ า เป น ๓ ชนิ ด ดวยกันคือ - เนื้อทองคํา จํานวน ๓๙ องค - เนื้อเงิน จํานวน ๙๙ องค - เนื้อนวโลหะ จํานวน ๓,๙๙๙ องค รูปหลอพระไพรีพินาศ รุน “นภาธิปตย ๔๐” นี้ ไดนําเขารวมในพิธีมังคลาภิเษก ณ พระอุโบสถ วั ด พระศรี รั ต นศาสดาราม(วั ด พระแก ว ) ใน พระบรมมหาราชวัง เมื่อวันที่ ๓ มิถุนายน ๒๕๓๙ และสมเด็ จ พระญาณสั ง วรสมเด็ จ พระสั ง ฆราช สกลมหาสังฆปริณายก ไดเมตตาทรงอธิษฐานจิต ใหอีกครั้ง เมื่อวันที่ ๑๕ มิถุนายน ๒๕๓๙ (อานตอฉบับหนา)


น.อ.หญิง ทิพยรัตน สีเพชรเหลือง

“จากแดนนภา ถิ่นแห่งสุภาพบุรุษดอนเมือง สู่สถาบันหลักในการผลิตผู้นําและแหล่งองค์ความรู้ด้านการบินของชาติ” แรงบันดาลใจในการสรางสรรค ภาพโรงเรียนนายเรืออากาศในฝน หากจะกลาววาอะไรเปนแรงบันดาลใจให คิ ด สร า งภาพโรงเรี ย นนายเรื อ อากาศในอนาคต หรือโรงเรียนนายเรืออากาศในฝนทั้งๆ ที่ไมไดเปน ศิษยเกาหรือมีความรูดานวิศวกรหรือสถาปนิกใดๆ ไมไดเปนดอกชัยพฤกษในชอ เปนเพียงแตดอกไม อื่ น ที่ ม าขอเติ ม ความฝ น แต มี พ ลั ง อย า งหนึ่ ง ที่ ผลั ก ดั น ให ก ล า ที่ จ ะคิ ด และทํ า ในสิ่ ง ที่ ห า งไกล กั บ ตนเอง พลั ง ที่ ก ล า วนี้ มี อ ยู ใ นใจมาโดยตลอด ในชวงเวลาที่รับราชการที่นี่เกือบ ๒๐ ป คือ ความ ตองการเห็นภาพโรงเรียนนายเรืออากาศ ไดรับความ สนใจให มีก ารปรั บ ปรุ ง ใหม ใ ห เ กิด ความสงา งาม สมความภาคภูมิ กั บการเปน สถาบันหลัก ในการ ผลิตนายทหารสัญญาบัตรหลักของกองทัพอากาศ ทั้ ง ระบบการศึ ก ษาและอาคารสถานที่ และเมื่ อ

ความฝ น นี้ ม าถึ ง ก็ ข อสร า งสรรค ภ าพ ซึ่ ง อาจ เป น แนวคิ ด จากจิ ต ใจของครู ค นหนึ่ ง ในโรงเรี ย น นายเรืออากาศ ซึ่งอาจเกิดประโยชนตอการพัฒนา โรงเรียนนายเรืออากาศไดบางตามสมควร อยางไร ก็ ต าม ความฝ น นี้ จ ะเป น จริ ง ได ค งจะต อ งได รั บ การสนั บ สนุ น และผลั ก ดั น จากผู บั ง คั บ บั ญ ชาดั ง คํากลาววา...

รากฐานของกองทัพอากาศอยูที่โรงเรียนนี้ ฉะนั้น สิ่งใดที่กอใหเกิดความเจริญ สิ่งนั้นควรเริ่มเสนอ และคงจะได รับการสนองจากผูบังคับบัญชาทุกชั้น พล.อ.อ.เฉลิมเกียรติ วัฒนางกูร ๑ พ.ค.๙๗


ยึ ด มั่ น ในอั ต ลั ก ษณ “แดนนภา ถิ่นแหงสุภาพบุรุษดอนเมือง”

ร ว มมื อ กั บ มหาวิ ท ยาลั ย ภายนอก หรื อ การเป ด การเรี ย นการสอนในระดั บ บั ณ ฑิ ต ศึ ก ษาก็ ต าม

จุดเริ่มตนของการสรางโรงเรียนนายเรืออากาศ ครั้งแรกเกิดจากความฝน คือ ความตองการมีสถาบัน เฉพาะที่ผลิตนายทหารสัญญาบัตรหลักของเราเอง ใหได และความฝนครั้งนั้นไดเปนความจริงมาอยาง ยาวนานจนเกือบ ๖๐ ป ความฝนจึงเกิดอีกครั้งจาก การที่ ผู บั ง คั บ บั ญ ชาและศิ ษ ย เ ก า ได ต ระหนั ก ถึ ง ความสําคัญของโรงเรียนนายเรืออากาศที่จะตอง คงอยูและไดรับการพัฒนาใหกาวหนาและสงางาม อยางไรก็ตาม การพัฒนาจะเปลี่ยนแปลง ไปตามสมัยเพี ยงไร แต จะตองคงภารกิ จ สํา คัญ ของโรงเรี ย นนายเรื อ อากาศ ในการเป น สถาบั น ผลิ ต นายทหารสั ญ ญาบั ต รหลั ก ของ กองทัพอากาศ และคงอัตลักษณของโรงเรียน นายเรืออากาศไวเปนแกนสําคัญ ถึงแมวาจะมี การสรางหลักสูตรใหมเพิ่มเติมเชน การสรางความ

อัตลักษณหรือตั วตนแห งโรงเรียนนายเรือ อากาศ จะตองยังคงอยูและมีการพัฒนาใหเกิดความเปนเลิศ ยิ่งขึ้นในความเปนสถาบันเฉพาะทาง ในลักษณะนี้ ที่มีเพียงสถาบันเดียวในประเทศไทย อั ต ลั ก ษณ ที่ ค วรคงไว แ ละพั ฒ นาให เ กิ ด ความกาวหนายิ่งขึ้น ไดแก คงความเปน “แดนนภา” ซึ่ง เปน ถิ่ น ของท อ งฟ า หรือ เมื อ งของชาวฟา หรื อ พวกเราชาวทหารอากาศนั่นเอง นอกจากนั้น จะตอง คงความเป น “ถิ่ น แห ง สุ ภ าพบุ รุ ษ ดอนเมื อ ง” อั น สะท อ นถึ ง ผู สํ า เร็ จ การศึ ก ษาจากโรงเรี ย น นายเรืออากาศ จะตองเปนผูที่มีความเปนผูนําที่มี คุ ณ ธรรม มี เ กี ย รติ ย ศ มี อุ ด มการณ เป น ผู รั ก ษา ความสัตยความจริง อันเปนคุณลักษณะของผูนํา ที่ทุกสังคมตองการอยางไมเปลี่ยนแปลง


การคงเอกลักษณไวควรบูรณาการลงไป ในสิ่งที่จะตองพัฒนาดังนี้ ๑. หลั ก สู ต รการเรี ย นการสอน มุ ง รู เกี่ยวกับวิชาของเรา อะไรที่ไมตรงกับตัวเราใหทบทวน ไม เ ดิ น ไปในทิ ศ ทางที่ ผิ ด และไม ถื อ เป น ภารกิ จ เพราะควรมุงทําในสิ่งที่ไดผลตรงกับที่เราตองการ ใช และคํานึงถึงการใชทรัพยากรของกองทัพอากาศ ที่มี อ ยู เป น หองปฏิ บัติก ารที่ มี คุ ณค า เพื่ อ ให ผู เ รี ย นสามารถฝ ก หั ด และ มี ป ระสบการณ ต รงกั บ ที่ จ ะออกไป ทํางาน ไมสรางรอยแบงระหวางโรงเรียน นายเรืออากาศกับหนวยงานในกองทัพ นอกจากนั้ น หลั ก สู ต รที่ ค วร มุ ง เน น และให ค วามสํ า คั ญ เพิ่ ม เป น อยา งมาก คื อ หลั ก สูตรวิ ช าทหาร ซึ่ ง ถื อ เป น ความรู แ ละทั ก ษะที่ นั ก เรี ย น นายเรืออากาศควรพัฒนา ใหมีความ

เชี่ยวชาญ มี ความรูและทักษะเบื้องตนทางทหาร มีพื้ น ฐานของการบิ น ที่ ส ามารถต อ ยอดการเรี ย น ในโรงเรี ย นการบิ น หรื อนํ าไปใช ในการปฏิ บั ติ งาน ในกรมกองตางๆ ไดเปนอยางดี และสิ่งที่สําคัญคือ จะตองหลอหลอมใหนักเรียนนายเรืออากาศมี “ความ เปนทหารอากาศอาชีพ” หรือ Airmanship และ มีจิตรักการบิน หรือมี Air mind นั่นเอง

๒. การฝกอบรม ที่สําคัญ ไดแก การฝก อบรมภาวะผูนํา ซึ่ง จะตองเปนผูนําที่เหมาะสมกับการ ปฏิ บั ติ ง านในกองทั พ อากาศ ซึ่ ง เปนกองทัพเทคโนโลยี มีธรรมชาติ ของความรวดเร็ว และเปลี่ยนแปลง อยู เ สมอ ผูนํ า ที่ เ หมาะสมจะต อ ง เปนผูที่สามารถตัดสินใจไดถูกตอง เหมาะสมกั บ สถานการณ และ ทั น ต อ เวลา ดั ง ที่ พ ลอากาศโท พระยาเฉลิ ม อากาศ บุ พ การี ข อง กองทั พ อากาศได ใ ห ข อ คิ ด ว า


“ผูนําทหารอากาศ” ตองเปนผูตัดสินตกลงใจ ได ดี ดั ง นั้ น การพั ฒ นาภาวะผู นํ า ให กั บ นั ก เรี ย น นายเรืออากาศจึงตองสรางทักษะสําคัญในเรือ่ งการ ตัดสินตกลงใจ โดยเฉพาะอยางยิ่งในสภาพการณ ปจจุบัน ตองพัฒนาใหเปนผูนําที่มีวิสัยทัศน สามารถ กําหนดยุทธศาสตร นโยบาย และลําดับความสําคัญ ของงานได

อย า งไรก็ ต ามคุ ณ ลั ก ษณะของผู นํ า ที่ สําคัญอีกประการหนึ่งคือ “ความเปนสุภาพบุรุษ ดอนเมือง” ความหมายของสุภาพบุรุษในคูมือของ สถาบันฝกทหารแหงเวอรจิเนีย (Virginia Military Institute) กลาวไววา “บนพื้ น ฐานแห ง ศั ก ดิ์ ศ รี โ ดยไม จํ า เป น ตองสอดแนมดูพฤติกรรมอยางใกลชิดทุกยางกาว ไมวาจะไดรับการขัดเกลาเพียงใด ไมมีผูใดสมควร ถูกพิจารณาเปนสุภาพบุรุษ เพราะวาดวยเกียรติยศ แหงสุภาพบุรุษ เขาจะไมยอมเสียคําพูดและไมยอม ทรยศตอหลักการของเขา เขาเปนอัศวินนักรบผูถอมตน เป นผู นํ าอุ ดมการณ เป นผู ปกป องผู อ อนแอที่ ไม สามารถปกปองตนเองได เขาเปนผูนําแหงกระบวนการ ยุติธรรม หรือไมเชนนั้นเขาผูนั้นก็มิใชสุภาพบุรุษ”

ดังนั้น การฝกอบรมใหนักเรียนนายเรืออากาศ เปนสุภาพบุรุษแหงดอนเมืองจึงจําเปนยิ่งที่จะตอง คงไวและมี กระบวนการหลอหลอมอยางตอเนื่อง และคงมาตรฐานการปฏิ บั ติ อ ย า งเคร ง ครั ด ดัง คํา กลา วปฏิญ าณของนั ก เรีย นนายเรื อ อากาศ “เราจะไมโกหก ไมขโมย และจะไมยอมใหผูใด ทําเชนนั้น” ๓. อาคารเรียนและภูมิสถาปตย อาคาร สถานที่ อาจเปน เพี ย งสิ่ง ที่ไมมีชีวิ ต แตความไม มี ชีวติ นี้ สามารถหลอหลอมชีวิตและจิตวิญญาณใหกับ ผูอยูอาศัยได ในทางตรงกันขามหากอาคารสถานที่ อยูในสภาพที่ ไมเหมาะสม อาจทําใหผูอยูอาศัย ไมเกิดความภาคภูมิใจ ทั้งยังสรางใหเกิดความเบื่อ หน า ยและหดหู ขาดความกระตื อ รื อ ร น และ แรงจูงใจที่จะปฏิบัติภารกิจใหสําเร็จลุลวงได


อาคารเรียนและภูมิสถาปตยของโรงเรียน นายเรื อ อากาศนอกจากจะต อ งมี ค วามสง า งาม สมเกียรติภูมิ ใหความรูสึกถึงตัวตนหรืออัตลักษณ และสนองภารกิ จ หลั ก ของแต ล ะหน ว ยงานใน โรงเรี ย นนายเรื อ อากาศให ส ามารถดํ า เนิ น ไปได อย า งมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพและเกิ ด ประสิ ท ธิ ผ ลแล ว ธรรมชาติ

สิ่งสําคัญประการหนึ่งที่เปนตัวตั้งของการออกแบบ คือการมุง “นักเรียนนายเรืออากาศเปนสําคัญ” ไดแกการสรางและพัฒนานั้นไดกอใหเกิดประโยชน กั บ นั ก เรี ย นนายเรื อ อากาศในการพั ฒ นาทั้ ง ปญญาจิตใจ และทักษะอยางเปนองครวมมากนอย เพียงใด ËË

ฉบับหนา จะนําเสนอ การพัฒนาอาคารสถานที่ และภูมสิ ถาปตย


ป อั

ริ ก

ศ ษ ไขว

นา ร มีน

๑. ให้หาคํามาเติมในช่องว่างทั้งแนวตั้งและแนวนอน โดยดูจากความหมายที่ให้มา ๒. แต่ละช่องเติมได้ ๑ ตัวอักษร สระบน สระล่าง และวรรณยุกต์ ให้เติมไว้กับตัวอักษร ช่องเดียวกัน ส่วนสระหน้าและสระหลัง ให้แยกช่องต่างหาก


แนวนอน

แนวตั้ง

๑. หกกลิ้ง ๔. หนังสือสําคัญของทางราชการแสดงกรรมสิทธิ์ ที่ดิน ๘. สอง ๑๐. กลิน่ ๑๑. พระพุ ท ธรู ป ปางหนึ่ ง ยื น ย า งพระบาทซ า ย พระหัตถทั้งสองประสานพระเพลา มีเรือนแกว ๑๓. แม ๑๔. ไมใส ๑๕. ขาศึก ศัตรู ๑๘. ผูไปในฟา ๑๙. ชาติขา ในตระกูลมอญ - เขมร ๒๑. ผูมีจักร หมายถึงพระนารายณ ตอมาหมายถึง พระราชา ตามคติ ค วามเชื่ อ ของไทยที่ ถื อ ว า เป น พระนารายณอวตาร ๒๔. ทาง ๒๖. เปดเผยขอปดบังหรือความลับ ๒๘. เครื่องหมายทําเปนรูปตาง ๆ สําหรับประทับ เปนสําคัญ ๓๑. เคลาใหเขากัน ๓๒. ทําใหงอกงาม ๓๓. ที่เปนไปในทางสนับสนุน ทางดี หรือเชิงสรางสรรค ๓๔. รนหาที่ ๓๗. ทําใหแนน ๓๙. ความตาย (มักใชเปนสวนหนาของสมาส) ๔๐. บัญชีเรื่อง

๑. คนใกลชิดที่อาจคิดรายขึ้นมาเมื่อไรก็ได มักใชแก ศัตรูที่อยูใกลตัวหรือลูกเลี้ยงที่ติดมากับพอแม ๒. ทําเครื่องหมายเปนรูปกากบาท ๓. คําที่พระสงฆเรียกบิดามารดาของตน หรือผูใหญ รุนราวคราวเดียวกับบิดามารดา ๔. ยก (ใชแกหัว) ๕. ฉวยหรือชิงเอาโดยเร็ว ๖. คน หมูคน ๗. สูดเอากลิ่น ๘. หรูหราภูมิฐาน ๙. หมู เหลา ๑๑. เครื่ อ งอาศั ย เลี้ ย งชี วิ ต ของบรรพชิ ต ใน พระพุ ท ธศาสนา มี ๔ อย า ง คื อ จี ว ร บิ ณ ฑบาต เสนาสนะ คิลานเภสัช ๑๒. แกใหสําเร็จลุลวงไปได ๑๖. ผูเดินไป ๑๗. นําสิ่งตาง ๆ มารวมไวดวยกัน ๑๘. โอวาทของผูบวชใหม ๒๐. ตามแตจะเปนไป ๒๒. ทําใหแทงลูก ๒๓. เรียกสวนของหนา ตรงหวางคิ้ววา หนา.... ๒๗. ปรุ สลัก ๒๙. ลดเลี้ยว ๓๐. เอาฝามือหรือของแบน ๆ ตีอยางแรง ๓๕. เนื้อความ ๓๖. ไหว (ใชในกลอน)


แนวนอน

แนวตั้ง

๔๒. โลหะผสมชนิด หนึ่ ง เอาทองคํ า กั บ ทองแดง ผสมกัน ๔๔. เอื้อเฟอ เอาใจใส ๔๕. มาก มากกวาปกติ ๔๗. อาการเจ็บราวจากความเมื่อยขัดหรือบอบช้ํา ๔๙. ผูทํา มือ ๕๐. พระเจดียแบบจีน ๕๑. แกดวยอายุ

๓๘. ดาว ๔๐. ชางใหญ ๔๑. ชื่อเรือตอชนิดหนึ่ง หัวเรียว ทายเรียว ๔๓. รอบการเขาเวร ๔๔. ผม ๔๖. ดอกบัว (ใชในกลอน) ๔๘. ชื่อไผชนิดหนึ่ง ไมมีหนาม ปลองสั้น เนื้อลําหนา ใชจักตอก (เฉลยอยูหนา ๗๙)

ปาตุก รวบรวม

อกโรนฺโตปิ เจ ปาปํ กโรนฺตมุปเสวติ สงฺกิโย โหติ ปาปสฺมี อวณฺโณ จสฺส รูหติ

“ผู้ใด แม้หากมิได้ทําความชั่ว แต่คบหาเกลือกกลั้วกับผู้ทาํ บาป ผู้นั้นย่อมพลอยถูกระแวงในกรรมชั่ว อีกทั้งชื่อเสียงเสื่อมเสียก็เพิ่มพูนแก่เขา”


หมอพัตร

ตามปฏิทินไทย วันที่ ๑๕ เมษายน ๒๕๕๔ เปนวันเถลิงศก เปลี่ยนจากปขาลเปนปเถาะ อันเปน ปนักษัตรลําดับ ๔ วันเปลี่ยนปนักษัตรมีความแตกตางกันไป หลายแบบ บางแหงเปลี่ยนปเมื่อขึ้นเดือนอายคือ เดือนธันวาคม บางที่ก็เปลี่ยนพรอมกับปปฏิทินสากล คือเดือนมกราคมซึ่งนิยมใชกันมาก แตตามปฏิทิน โหราศาสตร การเปลี่ยนปนักษัตรถือเอาวันเถลิงศก คือวันที่ ๑๕ เมษายน ก็ตามอัธยาศัยแหละครับ ปนี้เปนปเถาะหรือปกระตาย จึงขอเลาเรือ่ ง กระต า ยเท า ที่ เ คยมี ป ระสบการณ ม าบ า ง ส ว น สํานวนไทยที่เกี่ยวกับกระตาย คุณนวีรไดเขียนลง ในขาวทหารอากาศ ฉบับเดือนมกราคมแลว เชิญหา อานได กระตายเปนสัตวเลี้ยงลูกดวยนม มีสี่เทา ตัวเล็กนารัก ขนฟูหูยาว ที่เห็นสวนมากมีสีขาว แต อันที่จริงกระตายไทยตามปาละเมาะมีขนสีน้ําตาล สีอื่นก็มี อาจเปนสีดํา เทา เหลือง หรือดาง กระตาย มีนัยนตากลมโตสีดําบาง สีแดง ฟา เหลือง ก็หาได ไมยาก ในนิทานสําหรับเด็ก กระตายมักมีสีขาวตาแดง

ซึ่งดูเขากันและนารัก และเพราะความนารักของมัน นี่เอง เจา พอแมกกาซีน เพลย บอย ฮิ วจ เฮฟเนอร จึ ง เรี ย กนางแบบสวยเซ็ ก ซี่ ใ นหนั ง สื อ ของแกว า บันนี (Bunny) แปลวากระตายนอย แตงกายรัดรูป โชวเชพคอนขางโป คาดหูยาวๆ ที่สมมุติวาเปนหู ของกระตายที่ศีรษะ ฮิตอยาบอกใครเชียว

เด็ก ๆ สวนมากชอบกระตาย เวลาผานราน ขายสัตวเลี้ยงที่จตุจักร มักรบเราใหซื้อเอาไปเลี้ยง ที่บาน สมัยผูเขียนเปนเด็กเคยมีคนเอากระตายมา ให เ ลี้ ย งเล น สามสี่ ตั ว ยั ง เป น ลู ก กระต า ยตั ว เล็ ก น า รั ก เราพี่ ๆ น อ งๆ เอาไปใส ก รงไว ที่ ชั้ น ดาดฟ า กระตายเลี้ยงงาย กินผักกินหญา เราหาผักบุงบาง


ใบไมกิ่งไมที่ปลูกไวบาง มันก็กินหมด โดยเฉพาะกิ่ง และใบเข็มชอบมาก กระตายไมกินน้ํา แคน้ําที่ได จากผักหญาที่กินก็พอแลว ไมตองอาบน้ําใหมันดวย ตามธรรมดาเราจะขั ง มั น ไว ใ นกรง เวลา แดดออนตอนเชาและเย็นเราจึงปลอยมันออกมา เดินเลนนอกกรง มันก็กระโดดหยอยๆ เราตองคอย ดูแล เผลอไมไดจะถูกแมวขโมยคาบไป การดูแล ก็ไมมีอะไรมาก แคคอยทําความสะอาดกรง กวาดมูล ที่เกลื่อนกลาด กระต ายกินทั้ง วัน มูลของมันเปน เม็ดกลมๆ สีดําคลายเม็ดมะละกอ กลิ่นไมเหม็น เราชอบอุมมันเลน เวลาจับใหรวบหูยาวๆ ของมันทั้งสองขางแลวยกขึ้น หรือดึงหนังบริเวณ สันหลังของมันยกขึ้น หามจับทองซึ่งเปนจุดออน เลี้ยงอยูไมนานมันก็โตพอผสมพันธุกันได แลวคลอดลูกเล็กๆ ออกมาครอกละหลายตัว ทีนี้ ชักยุง กระตายแพรพันธุเร็ว คลอดลูกจนเลี้ยงไมทัน ตองเอาไปแจกใหเพื่อนบานที่อยากได แตไมนาน ต อ มาเวรกรรมของเราก็ จ บสิ้ น ลง กระต า ยที่ เ รา เลี้ยงซึม แลวคอยๆ ตายไปทีละตัวสองตัว ไมทราบ วาเปนโรคอะไร เปนโรคระบาดหรือเปลา แตก็ทําให เราหมดภาระไป และไมคิดจะหากระตายมาเลี้ยง อีกเลย กระตา ยเข า มาสู ว งจรชีวิ ตผูเ ขี ย นอีกครั้ง หนึ่ ง เมื่ อ ผู เ ขี ย นเข า ศึ ก ษาเตรี ย มแพทย ที่ ค ณะ วิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย ในหลักสูตร ต อ งเรี ย นวิ ช ากายวิ ภ าควิ ท ยาเปรี ย บเที ย บ (Comparative Anatomy) เรียนถึงอวัยวะของสัตว ตางๆ เปรียบเทียบกับมนุษย กระตายเปนอยางหนึ่ง ที่ ต อ งศึ ก ษา เรี ย นทั้ ง กระต า ยสดๆ และกระต า ย

ดองฟอร ม าลิ น เอามาผ า ดู ตั บ ไตไส พุ ง ไปจนถึ ง โครงกระดูก, โครงกระดูกตองไปขอซื้อที่สถานเสาวภา เขาทําไวใหเรียบรอยครบทุกชิ้นตอเปนตัวไวเสร็จ ตั้งแตหัวกะโหลกจรดหาง สะอาดสะอานลางน้ํายา ไวข าวจั๊ ว ะ ขายให ตัว ละ ๑๕๐ บาท (ราคาเมื่อป พ.ศ.๒๔๙๔) พอหมดปก็สงตอใหนองรุนหลังเอาไป เรียนตอ (ทีตอนเราเรียนไมยักมีรุนพี่สงตอให) พอข า มไปเรี ย นต อ ที่ ค ณะแพทยศาสตร (เรียกวาขามฟาก ซึ่งก็ขามฟากจริงๆ แตเปนแคขาม ถนนสนามมา ที่เดี๋ยวนี้เรียกชื่อใหมวา อังรี ดูนังต) ก็ยังตองอาศัยกระตายอยู (ไมใชกระตายขูดมะพราว นะจ ะ ) ต อ งใช ก ระต า ยเป น สั ต ว ท ดลองในวิ ช า สรีรวิทยาและเภสัชวิทยา กลาวไดวากระตายมีบุญคุณ กับการศึกษาวิชาแพทยไมนอย เคยมีผูสงสัยวาเนื้อกระตายกินไดหรือไม ถากินไดผูเขียนเคยชิมดูบางหรือเปลา กระตายที่ เอามาเปน สัตวท ดลอง เมื่อเสร็จแลว ซากของมัน เอาไปทิ้งหรือเก็บไวทําเปนอาหาร ขอตอบวาเนื้อกระตายถาจะกินก็กินไดโดย ไมตองสงสัย ตามรานจาอะไรตออะไรที่ขายอาหาร ป า ก็ ห ากิ น ได ไ ม ย าก แต ก ระต า ยที่ เ รานํ า มาเป น สัตวทดลอง เราไมกินเนื้อของพวกมันหรอก ศึกษา ทดลองแลวก็เก็บไปกําจัดตามวิธีการ เนื้อกระตาย เหลานี้มีสารเคมีและตัวยาที่ใชทดลองปนอยู บางอยาง ก็เปนสารพิษ จึงเอาไปกินไมได แตถาถามวาเคยกินเนื้อกระตายไหม ขอตอบ วาเคย แตอยูในรายการอาหาร จะเลาใหฟง การทํ า งานเป น แพทย มี ก ารประชุ ม ทาง วิช าการบอยๆ บางครั้ งไปประชุม ถึงตา งประเทศ


และไปดูงาน ครั้งหนึ่งบริษัทยาที่ประเทศเบลเยี่ยม เชิ ญ แพทยจ ากโรงพยาบาลหลายแหงไปประชุม วิ ช าการที่ ป ระเทศเบลเยี่ ย ม ผู เ ขี ย นเป น ผู ห นึ่ ง ที่ ติดกลุมไปดวย เปนการประชุมเกี่ยวกับยาควบคุม โรคความดั น โลหิ ต สู ง ตั ว ใหม ได ไ ปประชุ ม และ ดูโรงงานผลิตยาของบริษัทนั้นหลายแหงหลายเมือง ค่ํ า วั น สุ ด ท า ยเมื่ อ สิ้ น สุ ด การประชุ ม เขาเชิ ญ ไป รับประทานอาหารค่ําที่ภัตตาคารที่มีชื่อเสียงที่เมือง อัน ทเวิรปซึ่ ง อยู บ นทางผา น ผูกํ า กับ การเดิน ทาง แจงวาจะใหชิมอาหารชั้นยอดของที่นั่น แตยังอุบ ไวกอนไมบอกวาคืออะไร พอไปถึงภัตตาคารนั่งประจําโตะดินเนอร เรี ย บร อ ย เขาจึ ง เผยว า เมนคอร ส (จานหลั ก )คื อ อกกระตายอบฟองเบียรราดซอสขาว (Rabbit’s side) หลายคนโดยเฉพาะแพทยสตรีทําทาอธิบายยาก บางคนปฏิเสธขอเปลี่ยนเปนไก สวนผูเขียนเห็นวา อาหารอยางนี้นานๆ จะไดกินสักครั้ง ขอฉลองศรัทธา สักทีเหอะนา พอถึงเมนคอรสก็ไมผิดหวัง เนื้ออกกระตาย ที่ เ ป น เนื้ อ ด า นข า งลํ า ตั ว ขนาดยาวเกื อ บฝ า มื อ ขาวราวกับเนื้อไก อบเบียรราดซอสขาวหอมเตะจมูก ไมมีกลิ่นสาบเลย นิ่มนวลรสดีดวย ผูที่ขอเปลี่ยน เปนไกบนเสียดาย อาหารจานนี้ตามดวยไวนขาว อรอยจริง ๆ ตามชานเมืองหรือชนบทในยุโรปหากระตาย ดูไดไมยาก มันวิ่ง(อันที่จริงกระโดด)หาอาหารพวก ผักหญาอยูตามสนามหนาบาน ชาวบานไมตองเลี้ยง มันมาเองหาอาหารกินเอง กระตายเปนสัตวสะอาด ไมมีเสียงรองหนวกหู ไมรบกวนใคร ตอนที่ผูเขียน

เปน นั กศึ ก ษาวิท ยาลัย ปอ งกัน ราชอาณาจักรเมื่ อ ป ๒๕๒๘–๒๕๒๙ ผู เ ขี ย นได ไ ปทั ศ นศึ ก ษาที่ ประเทศแถบยุโรปตะวันออก ขากลับมารอเครื่องบิน การบินไทยที่นครแฟรงคเฟรต พักคางที่กรุงบอนน ๒ คืน ตอนนั้นกรุงบอนนเปนนครหลวงของเยอรมนี ตะวันตก ทานเอกอัครราชทูตไทยเชิญพวกเราไป รับประทานอาหารค่ําที่สถานเอกอัครราชทูตไทย ที่อยูริมแมน้ําไรน บริเวณกวางขวางมีลานหญาและ ไมดอกประดับที่ริมฝงแมน้ํา แถวนั้นมีกระตายวิ่งเลน อยูหลายตัว นารักมาก ไมตองเลี้ยงดู มันมาเอง นิ ย ายปรั ม ปราของชาติ ต า งๆ มั ก เล า ถึ ง กระตายบนดวงจันทร มียายกะตาเลี้ยงไว อยางที่ เห็ น เงาคล า ยกระต า ยบนดวงจั น ทร เ วลาเดื อ น เต็มดวง เมื่อ ๔๐ กวาปกอน ตอนที่สหรัฐอเมริกาสง นักบินอวกาศไปเหยียบดวงจันทร เด็กฝรั่งคนหนึ่ง เขี ยนจดหมายไปถาม นีล อารมสตรอง ผูเหยีย บ พื้นดวงจันทรเปนคนแรกวาเจอกระตายบางหรือเปลา กระตายมีนิสัยชอบดวงไฟที่สองสวาง เวลา เดื อ นหงายกระต า ยจึ ง ชอบออกมาอยู ก ลางแจ ง ยืนสองขาชื่นชมดวงจันทร จนมีคํากลาววากระตาย หมายจันทร บางก็แตงเพลงเปรียบเปรยวากระตาย โง ซึ่งไมเปนความจริง กระตายมันชอบดวงไฟสวาง เทานั้นเอง นักลากระตาย(พวกบาปหนา)รูเรื่องนี้ดี จึ ง ใช วิ ธี ง า ยๆ ล อ กระต า ยออกมากลางแจ ง โดย จุดตะเกียงเจาพายุเอาไปแขวนไวกลางทุง กระตาย ก็ จ ะออกมาเล น ดวงไฟ เป น เหยื่ อ นั ก ล า ไปอย า ง งายดาย อยา วา แตตะเกีย งเจา พายุ สมั ย ที่ผูเ ขีย น ถู ก ย า ยไปเป น แพทย ป ระจํ า กองบิ น ที่ สั ต หี บ เมื่ อ


ป ๒๕๐๐ กึ่งพุทธกาล ตอนค่ําเราจะขับรถไป สร. (แผนกแพทย ) ตรวจเวรยามและความเรี ย บร อ ย ถนนตัดผานหนาเรือนรับรองที่ริมทะเล กอนถึงเรือน รับรองมีที่วางที่ อย. ใหพลทหารมาปลูกมันสําปะหลัง แปลงเล็กๆ รถเราใชไฟสูงพอผานแปลงมันสําปะหลัง กระตายแถวนั้น ก็จะวิ่งออกมาเลน แสงไฟ ถ าเรา คิด จะล า มั น มาปง หรื อย า งแกล ม เหลา ก็ ค งทํ า ได ไมยากเย็นนัก แตเราไมเคยทํา กระต า ยแพร พั น ธุ เ ร็ ว เอาตั ว รอดเก ง ตามประวัติการตั้งถิ่นฐานที่ทวีปออสเตรเลียกลาววา พวกที่ไปตั้งรกรากที่ดินแดนนี้พบวา สัตวที่นั่นเปน สัตวประเภทจิงโจที่มีกระเปาที่หนาทองเปนสวนใหญ แตไมมีกระตาย จิงโจเปนสัตวที่นักสัตววิทยากลาววา ภูมิปญญาไมคอยสูง ที่แพรพันธุอยูในทวีปออสเตรเลีย ได เ พราะไม คอ ยมี สั ตว คูแ ข ง และสั ตว กิน เนื้ ออื่ น ก็มีไมมาก ถามีคูแขงจิงโจอาจสูญพันธุไปแลวก็ได สั น นิ ษ ฐานว า หลายพั น ป ก อ นตอนที่ พื้ น แผ น ดิ น ที่เปนทวีปออสเตรเลียปจจุบันนี้แยกออกจากทวีป เอเชีย จิงโจติดมากับผืนดินที่แยกตัวแตสัตวอื่นติด มาน อ ย จิ ง โจ จึ ง เจริ ญ แพร ห ลายในออสเตรเลี ย มากมายจนเปนสัญลักษณของทวีปนี้ กระตายที่แต เดิมไมมีในออสเตรเลีย พอชาวอังกฤษที่ยายถิ่นฐาน ธรรมชาติ

เอากระต า ยมาเลี้ ย งเพื่ อ เป น อาหาร กระต า ยก็ แพรพืชพันธุ อย างรวดเร็ วจนทางการออสเตรเลีย ต อ งวางแผนจํ า กั ด จํ า นวนไว ก อ นที่ ก ระต า ยจะมี มากจนกินไมหมดและทําใหเกิดความวิบัติทางดาน นิเวศ โดยเฉพาะจิงโจซึ่งไมมีทางแขงขันกับกระตาย ไดเลย ฝรั่ ง ตะวั น ตกมี ค วามเชื่ อ ถื อ ว า กระต า ย ใหโชค โดยเฉพาะหางกระตาย (เรียกวา Scut) ชวยให มีโชค จึงเอาหางกระตายมาทําเปนพวงกุญแจติดตัว เพื่อความโชคดี ปนี้เปนปเถาะหรือปกระตาย สัตวที่นารัก ปราดเปรียว เนื่องในวาระสงกรานตขออํานวยพรให ทานผูอาน จงมีความสุขความเจริญและนารักเหมือน กระตายทั่วกัน เทอญ สวัสดีปเถาะ ครับ


นวีร ในรถนําเที่ยวคันนั้น คนไมคุนกันหลายคน คนนําเที่ยวจึงหากิจกรรมทําใหคนคุนเคยกันและ สนุกดวย กิจกรรมหนึ่งคือ ใหคิดสํานวนคําเดียว พร อ มความหมาย คนคิ ด ได ค นสุ ด ท า ย ไม มี ใ คร คิดตอได จะเปนผูชนะและไดรางวัลเล็ก ๆ นอ ยๆ เป น ที่ ร ะลึ ก ทํ า ให บ างคนท ว งว า “มี ด ว ยหรื อ สํานวนคําเดียว” สํานวนคือคําพูดที่เปนชั้นเชิง ไมตรงไป ตรงมา แตมีความหมายในคําพูดนั้นๆ คนฟงอาจ เขาใจความหมายทันทีถาคําพูดนั้นใชกันแพรหลาย ทั่วไปจนอยูตัวแลว แตถาไมแพรหลาย คนฟงตอง คิดใหเขาใจ ซึ่งอาจเขาใจตรงกับผูพูดหรือไมก็ได หรือไมเขาใจเลยก็ได สํานวนสวนใหญมักมี ๒ คํา ขึ้ น ไป เช น ชั ก ใย(สั่ ง หรื อ บงการอยู เ บื้ อ งหลั ง ) บางสํ า นวนยาวมาก เช น อยู บ านท านอย าดู ดาย ปนวัวปนควายใหลูกทานเลน(อาศัยอยูในบานผูใด ก็อยาอยูเปลาๆ ใหชวยทํางานทําการหรือทําอะไรๆ ไปตามแตจะทําไดทุกอยาง) สํานวนที่เปนคําเดียวนั้นก็มีอยูหลายสํานวน บางสํ า นวนเปน คํา เดียวแต มี ม ากกว า ๑ พยางค ขอยกตัวอยางดังนี้

ก ง หมายความว า กิ น เหล า สํ า นวนนี้ มาจากภาชนะที่เปนกระบอกเล็กๆ ใชตวงเหลา ซึ่ง มีหลายขนาด ขนาด ๕๐ ลูกบาศกเซนติเมตร เรียกวา กง คนกินเวลาจะซื้อก็บอกเปนกง คําวากงเลยเกิด เปนสํานวน กรอบ หมายความวา ยากจน มักใชหมายถึง คนมีเงินแลวยากจนลง เชน เคยหาเงินคลอง ตอนนี้ กรอบจะแย ถาเปนสํานวนหลายคํา ก็พูดวา จนกรอบ หรือ กรอบเปนขาวเกรียบ กวาง หมายความวา เขาไหนก็ได คนรูจัก มาก เปนสํานวนเดียวกับ กวางขวาง กะลา หมายความวา ไมมีคา เชน เกากะลา กุ หมายความวา ไมจริง พูดเท็จ ในพระราชหัตถเลขาพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาฯ ทรงมี พระราชทานแกสมเด็จพระพันปหลวง คราวเสด็จ ประพาสยุโรป ป พ.ศ.๒๔๔๐ มีวา “กุละนี้เปนศัพท แผลงใชกัน หมายความวา ทําหรือกลาวเกินจริงไป ....ใชวา กุละหรือกุ ก็เขาใจ” เก็ บ หมายความว า ทํ า ไม ใ ห ป รากฏตั ว ออกมา เชน “เมียเก็บ” หรือพูดวา “ไอนี่ขัดขวางเรา ตองเก็บมันเสีย”


เกลี้ยง หมายความวา หัวลาน(นอกจากนี้ ยั ง มี สํา นวนคํ า เดี ย วเกี่ ย วกั บหัว ลา นอีก หลายคํ า เชน เตียน โลง ลื่นใส ถวย) แก หมายความวา มากเกินไป เชน แกคุย ไขว หมายความวา เอาไปเปลี่ยนเปนเงินมา คือจํานํา ในสุภาษิตสอนหญิงของสุนทรภู มีวา “มีขาวของเคยผูกใหลูกเตา ก็เบียนเอาสิ้นสุดหาหยุดไม ลงชั้นวาผาผอนทอนสไบ เอาไปไขวเลนโปจนโซโซม” ครอบ หมายความวา สอนวิชาความรูให สํานวนนี้มาจากพิธีครอบโขนละครซึ่งทํากันมา แต โบราณ เปนการครอบหัวโขนที่ครูใหศิษย แสดงวา ศิษยนั้นมีความรูรําดีแลว ตอมาจึงใชคําวาครอบ เปนสํานวน หมายถึงสอนอะไรใหทุกอยาง คอ หมายถึง ชอบหรือนิยม เชน คอหวาน คือชอบรสหวาน คอเหลา คือชอบกินเหลา สํานวนนี้ มาจากการกินที่ผานลําคอลงไป สิ่งใดที่ผานลําคอ ไปไดก็แสดงวาสิ่งนั้นถูกกับลําคอ ตอมา คําวาคอนี้ เลยหมายถึง สิ่งที่ชอบรวมกันหรือมีรสนิยมในทาง เดียวกัน เชน “เขาคอกันได” หมายถึง เขาพวกกัน ได เ พราะชอบเหมื อ นกั น “คอเดีย วกัน ” หมายถึ ง รวมกันไปดวยดีเพราะมีรสนิยมเดียวกัน เฆี่ยน หมายความวา ทําใหแพ(คือชนะ) สํานวนนี้มาจากคําวา beat ของภาษาอังกฤษ ซึ่ง แปลวา เฆี่ยน ตี เชน ทีม A เฆี่ยนทีม B แสดงวา ทีม A ชนะทีม B จอด หมายความวา ไปไมรอด ไมสําเร็จ หรือตาย ถาพูดใหเต็มคือ จอดไมตองแจว สํานวนนี้

มาจากการแจวเรือ ในนิทานทองอิน พระราชนิพนธ รัชกาลที่ ๖ มีวา “เอา เอ็งยืนพิงตนไมนั่นเขา ขาอยาก จะลองดูวาจะตองการกระสุนกี่ลูกเอ็งถึงจะจอด” จา หมายความวา เปนใหญหรือมีอํานาจ หรือมีอะไรๆ เหนือคนอื่น โจ หมายความวา ทําอะไรอยางใดอยางหนึ่ง เชน โจขาว โจไพ โจก หมายความว า เป น หั ว หน า ในทาง เกกมะเหรก เชน หัว โจก คือหัว หน า นํา ไปในทาง เกกมะเหรก ถาเปนเด็กคือนําไปในทางซุกซน ฉาย หมายความวา เที่ยว เดินเที่ยว เดินเลน สํ า นวนนี้ ม าจากฉุ ย ฉาย ซึ่ ง เป น ชื่ อ เพลงและ กระบวนทารํา แสดงถึงทารํากรีดกราย เชน บทรองวา “ฉุยฉายเอย จะไปไหนหนอย เจาก็คอยเยื้องกราย” ซีด หมายความวา ไมคอยมีเงินติดตัว ดวด หมายความวา ดื่ม ทีเ ดีย วหมดถว ย (ใชแกเหลา) เด อ หมายความวา ไม เ ขา ท า เซอเรอร า เปน สํานวนนี้มาจากเหลอ ซึ่งตัดจาก เปอเหลอ ตัว ล กับ ตัว ด ออกเสียงเพี้ยนกันได แดง หมายความว า เรื่ อ งที่ ป กป ด อยู ปรากฏมาใหเห็น มักใชในเรื่องที่ไมดีหรือในความชั่ว เช น พู ด ว า “เรื่ อ งแดงออกมาแล ว ” สํ า นวนนี้ อ าจ มาจาก “เงิ น แดง” ในสมั ย รั ช กาลที่ ๔ ซึ่ ง เพิ่ ง มี เหรียญบาทออกใช ตอมามีเหรียญปลอมซึ่งเหมือนๆ เหรียญบาทแท แตสีไมขาวเปนมัน สีออกจะเรื่อๆ นิด ๆ จึงเรียกวา เงินแดง คงทําจากวัสดุที่เปนเนื้อ เงินออนถือเปนเงินไมดี จึงเอาคําวาแดง ที่ปรากฏ ใหเห็นเปรียบเทียบกับเรื่องไมดีที่ปรากฏขึ้น


ตอด หมายความว า พู ด เหน็ บ แนมว า เล็กนอย สํานวนนี้มาจากปลาที่ตอดอะไร ๆ กิน ถลุง หมายความวา ใชจายเงินทอง หรือ ทรัพยสมบัติ หรือสิ่งของอยางหนึ่งอยางใดหมดสิ้น เหลวแหลกในเวลาอันรวดเร็ว สํานวนนี้มาจากการ หลอมเหล็ก ซึ่งเหล็กจะละลายอยางรวดเร็ว ไถ หมายความวา หาผลประโยชนใสตัว โดยใช อํ า นาจในหน า ที่ ขู ด รี ด บั ง คั บ เอา จะเป น เงินทองหรือสิ่งของอะไรก็ได ทรพี หมายความว า อกตั ญ ู ไม รู คุ ณ บิดามารดา สํานวนนี้มาจากเรื่องรามเกียรติ์ ควายทรพี ฆาควายทรพาที่เปนบิดาตาย ลูกที่เนรคุณที่ทําราย หรือไมรูคุณบิดามารดา จึงเรียกวา ทรพี เทศน หมายความวา พูดติ พูดดา พูดวา สํานวนนี้มาจากพระสงฆเทศนหรือแสดงธรรม ซึ่ง เปนคําสอน เรามักใชเปนสํานวนเมื่อผูใหญวาผูนอย ฝอย หมายความว า พู ด มากเกิ น จริ ง สํานวนนี้มาจากเกร็ดหรืออะไรที่แตกจากสวนใหญ เชนตําราหมอดู มีฝอยทายละเอียดออกไป เมื่อมี “ฝอย” มากก็กลายเปนเรื่องไมจริง ดังพระราชนิพนธ ของพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกลาเจาอยูหัว มีความ ตอนหนึ่ง วา “ของเกาของเดิ มที่ เกิดขึ้นแหงความ นับถือเลื่อมใสนิยมยินดีนั้น ในชั้นตนก็แลเห็นงายๆ แตครั้นสอนตอๆ มามากเขา ก็เกิ ดมีฝอยมากขึ้น ทุกที ในที่สุดความที่นับถืออันเปนมูลเดิมลืมเสียสิ้น คงยึดมั่นอยูแตที่ฝอยบางอยาง จนศาสนาที่ถือกัน ในที่สุด เปนเรื่องฝอยเสียมาก” พระ หมายความว า ใจดี มี ค วามเมตตา กรุ ณ า เยื อ กเย็ น อดทนมี ขั น ติ ไม ทํ า อะไรหรื อ

เบียดเบียนใครใหลําบาก สํานวนนี้มาจากลักษณะ ของพระสงฆ ซึ่งพระจริงๆ ควรเปนเชนนั้น จึงมีการ เปรียบเปน พอพระ ใจพระ เปนตน เพลง หมายความว า แบบ “ว า กั น ตาม เพลง” คื อวา กัน ตามแบบ สํา นวนนี้มาจาก เพลง ซึ่งมี ๒ ความหมาย ความหมายแรก หมายถึง การ ขั บ รอ งลํ า นํ า ต า ง ๆ ตั้ ง แต เ พลงพื้ น เมือ งไปจนถึ ง เพลงมโหรีปพาทยกับทํานองของการบรรเลงดนตรี เปนลํานําตาง ๆ ซึ่งภาษาดนตรีเรียกวา ทาง ความหมาย ที่สอง หมายถึง ลีลาทารําตางๆ ตั้งแตรําพื้นเมือง รํ า กระบี่ ก ระบอง (ดั ง มี คํ า กล า วว า “รบกั น หลาย เพลงก็ ยั ง ไม แ พ ไ ม ช นะกั น ”) ไปถึ ง รํ า ละครต า งๆ เหลานี้เรียกวา ทา ทาง หรือ ทา หรือทํานอง ดังกลาวนี้ เปนแบบอยาง หรือลักษณะทาที หรือ เพลง ดังกลาว แลวขางตน เฟยว หมายความวา ทําอะไรหรือแสดงอะไร ผาดโผนเปนที่สะดุดตา เชน แตงตัวเฟยว ขับรถเฟยว โม หมายความวา พูดคุยโว เชน คุยโมตางๆ แตโบราณเปนสํานวนใชในความหมายวากิน เชน ในเสภาขุนชางขุนแผนวา “ปลาไหลไกกบทั้งเตาฝา แยบึ้งอึ่งนาไมพอไส หยิบคําโตโตโมเขาไป ประเดี๋ยว เหลาสิ้นไหไมซื้อทัน” ไม หมายความวา ทา หรือทาที หรือทวงที ที่ปรากฏขึ้น เชน มาไมไหนก็ไมรู สํานวนนี้มาจาก คําเรียกเพลงทาอาวุธ เชน กระบี่กระบอง คือตีหรือ ฟนหรือแทงลงไปทีหนึ่งๆ เรียกวา ไมหนึ่งๆ เมื่อเปน กระบวนเพลงสู ร บกั น ก็ มี ไ ม ห นึ่ ง ไม ส อง ไม ส าม ฯลฯ คือเปนทารุกรับเปนลําดับติดตอกันไป จนกวา จะผละแยกจากกั น ไม จึ ง ตรงกั บ ท า ที่ เ รี ย กไม


คงเป น เพราะการฝ ก หั ด ท า อาวุ ธ นั้ น จะใช ไ ม ทํ า อาวุธเพื่อความปลอดภัย ไมจึงกลายเปนสํานวนมา แต โ บราณและใช ต อ มา ในเรื่ อ งไปเมื อ งเตอรกี ของสมเด็จกรมพระยาดํารงราชานุภาพ ก็มีความ ตอนหนึ่งวา “อีกประการหนึ่ ง ฝาตําหนักเขียนไว งามๆ จะมาเจาะเสียเพราะตั้งเตาไฟใหขาพเจาผิงนี้ ขาพเจาขอเสียเถิด เขาก็ตอบแตวา มีรับสั่งอยางไร ก็ตองทําอยางนั้น ไมสามารถจะขัดขวางได ถูกอีไม นี้เขา ก็ตองลา” รีด หมายความวา ใชอํานาจขูเข็ญ บีบ บังคับ เอาเงินหรือทรัพยสิ่งของ หรืออะไรของผูอื่นมาเปน ประโยชนตนหรือพรรคพวก สวนมากใชกับเจาหนาที่ ทุจริตเบียดเบียนคนชั้นต่ําลงมาหรือราษฎร ลม หมายความว า คํ าพู ด คงมาจากคําว า ลมปาก ในพระราชนิพนธเรื่องอิเหนาของพระบาทสมเด็จ พระพุทธเลิศหลานภาลัยมีวา “แลวตอบถอยนอยฤา พระทรงฤทธิ์ ชางประดิษฐคิดความพองามสม ลวน กลาวแกลงแสรงเสเลหลม คดคมแยบคายหลายชั้น” สวด หมายความว า ว า กล า ว สั่ ง สอน ตลอดจนถึงดุดาวาตางๆ สํานวนนี้มาจากสวดมนต ใชเปนสํานวนแบบเดียวกับ เทศน แตสวดมักใช กั บ คนหลายคนกระทํ า พร อ มกั น เช น กรรมการ ตัดสินการประกวดไมยุติธรรม โดนคนดูสวดยับ แต เทศน มักใชกับคนคนเดียวกระทํา เชน ทําไมดีโดน ผูใหญเทศน สะตึ หมายความวา เปน เลว ต่ํา ไมเขาทา ไมเขาที เสน หมายความวา รสนิยม ชอง ทาง จุด สิ่ง ที่ ก อ ใหเ กิ ด ความพอใจ สํ า นวนนี้ เ กิด จากการ

จับเสนในการนวดอันเปนวิธีบําบัดความปวดเมื่อย ของรางกาย ซึ่งถือวาเสนหรือเอ็นในกายตัวผิดปกติ หมอจั บ เส น ถู ก ก็ เ ป น ที่ พ อใจ เราจึ ง เอาคํ า ว า เส น มาใช เ ป น สํ า นวนพู ด ต า งๆ เช น จั บ เส น ถู ก หมายความวา เขาถูกชองถูกทางอันทําใหเปนผลดี ถู ก เส น กั น หมายความว า มี ร สนิ ย มเดี ย วกั น เดินเสนไหน หมายความวา จะเขาทางไหน จุดไหน จึงจะไดผล เปนตน ใส หมายความวา สู ตอสู เขาทํารายรางกาย ใช ไ ด ทั้ ง การพู ด และการกระทํ า คื อ ทั้ ง โต เ ถี ย ง ทะเลาะกัน และตอสูกัน หมื่ น หมายความว า ทะลึ่ง เสือก พูด จา หรือแสดงกริยาบาระห่ํา อาจมาจากใครคนหนึ่งที่มี ราชทิ น นามเป น หมื่ น แต มี นิ สั ย มุ ท ะลุ ห รื อ ทะลึ่ ง จึง มี ก ารนํา มาเปรีย บ ในพระราชนิ พ นธเ รื่อ งคาวี ของพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหลานภาลัย ตอน ท า วสั น นุ ร าชเกี้ ย วนางจั น ท สุ ด า นางแกล ง หยิ บ หมอนมาวางแลวดาวา ชางกระไรไอหมอนนอนไมหลับ จนเขาขับขืนเกี้ยวไปเจียวหนอ แมนมีไมใกลตัวหัวจะนอ ใจคอไมลื้นเหมือนหมื่นทน (ลื้น แปลวา เจ็บอาย) ถา “หมื่นทน” มีตัวจริงในครั้งนั้น หมื่นคนนี้ อาจเปนคนมุทะลุทะลึ่งตึงตัง จนเอามาเปรียบและ ใชเปนสํานวนตอมา หมู หมายถึง งาย สะดวก จะทําอะไร ก็ได คล อง ๆ สํ านวนนี้ มาจากเนื้ อหมู ซึ่ งเป นของหาง าย ทําไดงาย อะไรที่หางาย ทําไดงาย ก็พูดวา หมู เปน ที่เขาใจกัน


หวาน หมายความวา ทํา ได งาย ชอบใจ พอใจ ทําไดคลอง ทําไดสะดวก สํานวนนี้มาจาก รสหวานกินไดอรอย โอด หมายความวา รองไห สํานวนนี้มาจาก เพลงดนตรีใชในบทรองไห เฮี้ยบ หมายความวา เครงครัด เด็ดขาด เอาจริงเอาจัง ตรง สํานวนคําเดียวที่กลาวมาขางตนนี้ เปนเพียง ตั ว อย า งซึ่ ง มี ใ ช ม านานแล ว ผู เ ขี ย นรวบรวมจาก หนั ง สื อ สํ า นวนไทยของขุ น วิ จิ ต รมาตรา (สง า กาญจนาคพันธุ) ที่นาสังเกตคือ ผูที่มีวัย ๕๐ ปขึ้นไป จะคุนกับสํานวนเหลานี้ สวนผูที่อายุออนกวานั้น อาจคุนเฉพาะบางสํานวน แตพอเรียบเรียงเขาประโยค เขาก็พอจะเขาใจ อยางไรก็ตาม สํานวนใหมกเ็ กิดขึน้ ได เชนสํานวนวา บิน เชน บินไปอังกฤษ บินไปอเมริกา ธรรม

(ความจริง บินนั้น เปนกิริยาของนกหรือสิ่งใดก็ตาม ที่ มี ป ก หรื อ เครื่ อ งยนต เช น เครื่ อ งบิ น หรื อ โดย ปริ ย ายหมายถึ ง การไปโดยลั ก ษณะเช น นั้ น เช น ขวัญบิน จานบิน แตเมื่อนํามาใชกับคน หมายความวา ไปโดยเครื่องบิน) เราตองบันทึกไว เพราะถาเครื่องบิน ไมมีปก อาจเลิกใชคําวาบิน ขอสรุ ป ท า ยเรื่ อ งว า ในรถนํ า เที่ ย วคั น นั้ น เพลิ ด เพลิ น กั บ กิ จ กรรมนี้ น านแสนนาน จนคน นํ า เที่ ย วต อ งยอมแพ แ ละยอมรั บ ว า มี อ าจารย ภาษาไทยในรถคันนี้หลายคน ทําใหเขาไดความรู เพิ่ ม เติ ม มากมาย แม แ ต ค นที่ ท ว งว า “มี ด ว ยหรื อ สํ า นวนคํ า เดี ย ว” พอเริ่ ม “เป น ” ก็ ห าคํ า มาต อ ได อยางสนุก จนคนนําเที่ยวตองหาของรางวัลแจกทุกคน ที่รวมสนุกกิจกรรมนี้


Runy

สวัสดีคะ ทานผูอานหนังสือขาวทหารอากาศทุกทาน Test Tip ตอนที่หนึ่งถึงเกาเปนสวนการฟง รวมทั้งหมด ๗๕ ขอ นอกจากความรู ความเขาใจที่ไดรับจากการอานบทความนี้แลว ยังตองฝกฟงสําเนียง การพูดภาษาอังกฤษของเจาของภาษาเพื่อใหเกิดความคุนเคย รวมทั้งตองทราบความหมายของคําศัพท ที่ใชดวย สวนที่สองของขอสอบ ECL คือการอาน ซึ่งเปนเรื่องของไวยากรณและคําศัพท สํานวนภาษา อังกฤษตาง ๆ ลองทําแบบทดสอบสิบขอนี้ แลวตรวจคําตอบพรอมคําอธิบายทายบทความไดเลยคะ 1. He gave aid to his injured friend. a. trouble b. help c. sympathy

d. sorrow

2. When we heard the explosion, our first _________ was to hit the floor. a. noise b. impulse c. thing d. jump 3. This home is ________. a. them b. our

c. ours

4. Do you ______ go to the city library? a. how b. can c. ever

d. their

d. never

5. She prepares breakfast for ______ and her husband. a. himself b. hers c. she d. herself


ขอที่ ๑. He gave aid to his injured friend. เขาใหความชวยเหลือเพื่อนที่ไดรับบาดเจ็บ ขอ a. trouble ความยุงยาก ปญหา ขอ b. help ความชวยเหลือ ขอ c. sympathy ความเห็นอกเห็นใจ ขอ d. sorrow ความเศราโศก เสียใจ ดังนัน้ คําตอบที่ถูกตองก็คือ b. help ความชวยเหลือ ขอที่ ๒. When we heard the explosion, our first _________ was to hit the floor. เมื่อพวกเรา ไดยินเสียงระเบิด การกระทําอยางแรกคือหมอบลงกับพื้น ขอ a. noise เสียง ขอ b. impulse แรงผลักดัน แรงกระตุน แรงดลใจ ชีพจร ขอ c. thing สิ่งของ ขอ d. jump กระโดด ดังนัน้ คําตอบที่ถูกตองก็คือ b. impulse แรงผลักดัน แรงกระตุน แรงดลใจ ชีพจร ขอที่ ๓. This home is ________. ขอ a. them พวกเขาทั้งหลาย เปนคําสรรพนามทําหนาที่เปนกรรมในประโยค ขอ b. our ของเรา เปนคําคุณศัพทแสดงความเปนเจาของ ขอ c. ours ของเรา เปนคําสรรพนามแสดงความเปนเจาของ ขอ d. their ของพวกเขาทั้งหลาย เปนคําคุณศัพทแสดงความเปนเจาของ ดังนัน้ คําตอบที่ถูกตองก็คือ ขอ c. ours ของเรา เปนคําสรรพนามแสดงความเปนเจาของ คําอธิบายเพิ่มเติม คําสรรพนามคือคําที่ใชแทนคํานาม คําสรรพนามมีหลายประเภท ในที่นี้จะอธิบาย เฉพาะที่พบบอย ๆ ในแบบทดสอบ ECL รวมทั้งคําคุณศัพทที่แสดงความเปนเจาของที่มีรูปคลายกันกับ คําสรรพนามที่แสดงความเปนเจาของ และคําสรรพนามที่ใชเนนวาประธานเปนผูกระทํากริยานั้นเอง - ผูพูด เรียกวา สรรพนามบุรุษที่ ๑ เอกพจน คือ I พหูพจนคือ We - ผูที่พูดดวย เรียกวา สรรพนามบุรุษที่ ๒ เอกพจน พหูพจน คือ You - ผูที่ถูกกลาวถึง เรียกวา สรรพนามบุรุษที่ ๓ เอกพจนคือ He, She, It พหูพจน คือ They


หนาที่และการใชคําสรรพนามและคําคุณศัพทที่ควรทราบมีดังนี้ ๑. สรรพนามที่ทําหนาที่ประธานของประโยค (subject) ไดแก I, You, We, They, He, She, It ๒. สรรพนามที่ทําหนาที่กรรมของประโยค (object) ไดแก me, you, us, them, him, her, it ๓. คําคุณศัพทที่อยูหนาคํานามและแสดงความเปนเจาของ (possessive adjective) ไดแก my, your, our, their, his, her, its ๔. คําสรรพนามที่แสดงความเปนเจาของ (possessive pronoun) ไดแก mine, yours, ours, theirs, his, hers, its ๕. คําสรรพนามที่ใชเนนวาประธานเปนผูกระทํากริยาเองหรือทําใหตัวเอง (reflexive pronoun) ไดแก myself, yourself, yourselves, ourselves, themselves, himself, herself, itself Personal Subject Pronouns บุรุษที่ ๑ I know Tom เอกพจน บุรุษที่ ๑ We know พหูพจน Tom. บุรุษที่ ๒ You know เอกพจน Tom. บุรุษที่ ๒ You know พหูพจน Tom. บุรุษที่ ๓ He knows เอกพจน Tom. บุรุษที่ ๓ She knows เอกพจน Tom. บุรุษที่ ๓ It knows เอกพจน Tom. บุรุษที่ ๓ They know พหูพจน Tom.

Object Tom knows me. Tom knows us. Tom knows you. Tom knows you. Tom knows him. Tom knows her. Tom knows it. Tom knows them.

Possessive Adjectives

Possessive Pronouns

Reflexive Pronouns

It’s my car.

It’s mine.

I enjoyed myself.

It’s our car.

It’s ours.

It’s your car.

It’s yours.

It’s your car.

It’s yours.

It’s his car.

It’s his.

He enjoyed himself.

It’s her car.

It’s hers.

She enjoyed herself.

It’s its car.

It’s its.

It enjoyed itself.

It’s their car.

It’s theirs.

They enjoyed themselves.

We enjoyed ourselves. You enjoyed yourself. You enjoyed yourselves.


ขอ ๔. Do you ______ go to the city library? คุณเคยไปหองสมุดของเมืองไหม ขอ a. how อยางไร ขอ b. can สามารถ ได ขอ c. ever เคย เปนคํากริยาวิเศษณใชในประโยคคําถามและปฏิเสธ ขอ d. never ไมเคย คําตอบที่ถูกตองคือ c. ever เคย เปนคํากริยาวิเศษณใชในประโยคคําถาม เชน I don’t ever tell lies. ผมไมเคยโกหก Do you ever eat Japanese food? คุณเคยกินอาหารญี่ปุนไหม never ไมเคย เปนคํากริยาวิเศษณใชในประโยคบอกเลา เชน I never drink wine. ผมไมเคยดื่มไวน มักจะใช ever และ never ในประโยค present perfect tense เชน Have you ever been to Japan? คุณเคยไปประเทศญี่ปุนไหม Has he ever eaten Chinese food? เขาเคยกินอาหารจีนไหม I have never been to Japan. หรือ I haven’t ever been to Japan. ผมไมเคยไปประเทศญี่ปุน He has never eaten Chinese food. หรือ He hasn’t ever eaten Chinese food. เขาไมเคยกิน อาหารจีน ขอ ๕. She prepares breakfast for ______ and her husband. เธอทําอาหารเชาใหตัวเองและ สามีของเธอ ขอ a. himself ขอ b. hers ขอ c. she ขอ d. herself คําตอบที่ถูกตองคือ d. herself ถามีขอสงสัยใหกลับไปอานคําอธิบายขอ ๓ อีกครัง้ คะ หลังจากที่ไดลองทํา แบบทดสอบ ตรวจคําตอบและอานคํ าอธิบายแลว ทานผูอานคงจะไดรับ ความรู ภ าษาอั ง กฤษเพิ่ ม ขึ้ น หรื อ อย า งน อ ยที่ สุ ด ก็ ถื อ ว า เป น โอกาสที่ ไ ด ท บทวนความรู ค วามเข า ใจ ภาษาอังกฤษ เพื่อเปนแนวทางในการพัฒนาความรูภาษาอังกฤษดวยตนเอง ดิฉันหวังเปนอยางยิ่งวา บทความในคอลัมน Test Tip จะเปนประโยชนตอขาราชการกองทัพอากาศ ติดตามคอลัมนนี้ไดในฉบับหนา นะคะ สวัสดีคะ


มิสกรีน BEETLE BAILEY

ภาพ 1 - เจานายของเรานาเบื่อมาก ไมเคยทําอะไรเขาทาสักอยาง - เราคอนขางจะภูมิใจในตัวเจานายของเรานะ ภาพ 2 - เขามีหนาเปนหมา มีพงุ เปนหมู มีบงั้ เหมือนมาลายแปะลงไปตามแขน และเขาก็ตะโกน ออกคําสั่งลูกนอง - เจาของสุนัข, มา ฯลฯ (the male owner of a dog, horse etc) - ในที่นเี้ ปนคําที่ใชในภาษาไมเปนทางการ แปลวา คนที่นา เบือ่ หรือนารําคาญ (a boring or annoying person) โดยปกติ pain แปลวา ความเจ็บปวดทางกายหรือจิตใจ (physical or mental suffering) right (adj.) - ในทีน่ ี้ แปลวา เหมาะสม หรือมีประสิทธิภาพ (suitable or effective) rather (adv.) - คอนขางจะ (fairly, quite, pretty) proud (adj.) - ภูมิใจ, พอใจ (feeling pleased about someone or something) มักใชกับคําบุพบท (prep.) of belly (n.) - พุง, ทอง stripes (n.) - ลายยาว, ลายขวาง หรือ บัง้ , แถบยศ ออกเสียงวา “สไตรพซ” master (n.) pain (n.)


to bark orders (n.)

- สุนัขเหา, คนสงเสียงดัง, ตะโกนดัง ๆ - คําสั่ง (instruction to do sth that is given by someone in authority) ปกติจะใชกับ กริยา to give an order (ออกคําสั่ง), to receive an order (รับคําสั่ง), to follow, to obey orders (ทําตามคําสั่ง)

THE BORN LOSER

ภาพ 2 - รีโมทนี่มนั ไมทํางานนะ แบตเตอรี่ตองหมดแนเลย ภาพ 3 - นัน่ มันโทรศัพทมือถือของแมฮะพอ - เปนโครงสราง to get sth to do sth หมายความวา ทําใหสิ่งหนึง่ กระทําสิง่ ใดโดยเฉพาะ เชน Ex. I can’t get the engine to start. (ฉันติดเครื่องยนตไมได) must (modal v.) - เปนกริยาชวย ซึ่งในที่นี้ใชแสดงความแนใจ วาสิง่ นัน้ ตองเปนจริงอยางที่ผพู ูด คาดคะเน Ex. Joe must be sick because he is never absent. (โจตองปวยแนเลย เพราะเขาไมเคยขาดงาน) dead (adj.) - ในทีน่ ี้ แปลวา ไมทาํ งาน (not working because there is no power) Ex. Suddenly, the radio went dead. (วิทยุดับไปในทันที) โดยปกติ เราคุนเคยกับ dead ที่แปลวา ตาย (not alive) ซึ่งอยาสับสนกับ คํากริยา to die เพราะการใชตางกัน Ex. My father died ten years ago. (คุณพอฉันเสียไป 10 ปแลว) และ The thief was already dead. (ขโมยคนนัน้ ตายไปแลว) dead เปน adj. ตองใชกับ V. to be cell phone (cellular phone) - โทรศัพทมือถือ (mobile phone) -- get this remote to work


ศูนยภาษาฯ สวัสดีคะ ทานผูอานหนังสือขาวทหารอากาศทุกทาน ฤดูกาลทดสอบภาษาอังกฤษตามโครงการของ กองทัพอากาศไดเริ่มตนขึ้นแลว หลายทานก็คงเริ่มหนานิ่วคิ้วขมวดรําพึงรําพัน เอ เราจะเอาอะไรไปสอบกัน ละนี่ เพื่อเปนการเตรียมความพรอมในการเขารับการทดสอบที่ศูนยภาษาฯ ดังนั้นบทความในตอนนี้เรามา ทบทวนไวยากรณและลองทําแบบฝกหัดกันดีมั้ยคะ เรื่องแรกที่จะนํามาใหทบทวนกันคือ Present Simple Tense ซึ่งเปนเรื่องพื้นฐานของไวยากรณ อังกฤษ

การใช (Usage) ๑. เหตุการณที่เปนความจริงตลอดกาล เชน ความจริงตามธรรมชาติ ความจริงทางวิทยาศาสตร ตัวอยางประโยค : - The earth moves round the sun. โลกหมุนรอบดวงอาทิตย - The sun rises in the east. พระอาทิตยขึ้นทางทิศตะวันออก - Water consists of hydrogen and oxygen. น้ําประกอบดวยไฮโดรเจนและออกซิเจน ๒. การกระทําซึ่งกระทําเปนประจํา เปนอยูในปจจุบัน (ขณะที่พูดประโยคนั้น) โดยปกติมักจะมี “คําแสดงความเปนประจํา” รวมอยูดวย เชน every day, always, sometimes เปนตน ตัวอยางประโยค : - I get up at six o’clock every day. ฉันตื่นนอนตอน ๖ โมง ทุกวัน - He usually gets up late. เขาตื่นสายเปนประจํา - Nipon is often late. นิพนธมาสายบอยๆ


¥ ประโยคบอกเลา • ประธานตามดวยกริยาชองที่ ๑ • ถาประธานเปนคํานามเอกพจนหรือสรรพนามบุรุษที่ ๓ (He, She, It) >>>> กริยาตองเติม s หรือ es เชน He walks to work every day. >>>> ถากริยานั้นลงทายดวย ss, sh, ch, x และ o ใหเติม es เชน go-goes, kiss-kisses >>>> ถาลงทายดวย y และหนา y เปนพยัญชนะไมใชสระ a, e, i, o, u ใหเปลี่ยน y เปน i กอนเติม es เชน cry-cries, study-studies ¥ ประโยคคําถามและปฏิเสธ • ทําเปนคําถามหรือปฏิเสธ ใช do หรือ does เปนกริยาชวย ประโยคบอกเลา I walk. You walk. We walk. They walk. He walks. She walks. It walks.

ประโยคคําถาม Do I walk? Do you walk? Do we walk? Do they walk?

ประโยคปฏิเสธ I don’t walk. You don’t walk. We don’t walk. They don’t walk.

Does he walk? Does she walk? Does it walk?

He doesn’t walk. She doesn’t walk. It doesn’t walk.

*****ขอสังเกต เมื่อใช does เขาชวยแลว จะตองเปลีย่ นกริยาเปนรูปเดิม (ไมมsี หรือ es) Simple Present Tense มักมีคําที่แสดงถึงการกระทําที่ทําเปนประจํา สม่ําเสมอ มักอยูทายประโยค เชน every day every week every year once a week once a year twice a month

ทุกวัน ทุกสัปดาห ทุกป สัปดาหละครัง้ ปละครั้ง เดือนละสองครั้ง


from time to time once in a while off and on three times a week

เปนบางครั้งบางคราว เปนบางครั้งบางคราว เปนบางครั้งบางคราว สัปดาหละ 3 ครั้ง

ตัวอยางประโยค : - He goes to school every day. เขาไปโรงเรียนทุกวัน - My brother brushes his teeth three times a day. นองชายฉันแปรงฟนวันละ 3 ครั้ง Ò คํากริยาวิเศษณแสดงความถี่ ความบอย (adverbs of frequency) เชน always เสมอ usually เปนประจํา, สม่ําเสมอ often บอย ๆ sometimes บางครั้ง occasionally บางครั้ง, บางโอกาส hardly ไมใครจะ, นาน ๆ ครั้ง seldom ไมใครจะ, นาน ๆ ครั้ง rarely ไมใครจะ, นาน ๆ ครั้ง never ไมเคย Ò คํากริยาวิเศษณแสดงความถี่ ความบอย (adverbs of frequency) จะวางไวหนากริยา (ถากริยา เปน verb to be วางหลัง to be) เชน ตัวอยางประโยค : - He always gets up early. เขาตื่นเชาเสมอ - He sometimes washes his own clothes. เขาซักเสื้อผาเองบางครั้ง - Ken is seldom late. เคนไมใครจะมาสาย - They are never busy. พวกเขาไมเคยมีธุระยุงเลย

ทีน้ีทานก็ลองทําแบบฝกหัด และตรวจคําตอบไดจากคําเฉลยขางทายคะ


Choose the correct answer a, b, c, or d. 1. Bob, would you go and study with Tom? Yes, when does he _____? a. studies b. studied c. study d. studying 2. Does she often have lunch here? Yes, she _____. a. never does b. usually does c. don’t ever d. doesn’t 3. Some people work on holidays, but others _____. a. doesn’t b. don’t c. does d. do 4. He often _____ to write the address on his letters. a. forget b. forgets c. forgotten d. forgetting 5. Do you _____ the dialog? a. understood b. understands c. understanding d. understand 6. Many Americans ____ their homes. a. paints and repairs b. paint and repaired c. paint and repair d. d. painted and repair 7. He ____ lunch every day. a. eat b. eats c. eating d. is 8. Select the correct sentence. a. Tom goes usually to the supermarket. b. Tom usually doesn’t go to the supermarket. c. Tom never is late for meeting. d. Tom is never late for meeting.


เฉลยคําตอบ 1.c 2.b 3.b 4.b 5.d 6.c 7.b 8.d เปนอยางไรบางคะ just a piece of cake งายเหมือนปอกกลวยเขาปากใชไหมคะ ที่จริงแลว ภาษาอั งกฤษไมย ากนัก หรอกค ะ เพียงแตท า นตอ งหมั่น ฝ ก ฝนทอ งจํ า นํ าไปใช บอ ยๆ สั กหน อ ยเท า นั้ น แลวพบกันใหมฉบับหนานะคะ ☺

มีน


ร.ท.วรรณลพ ลําพูลนอย ในสถานการณของโลกปจจุบันทานคงจะ ไดยินขาวการเกิดเหตุการณหลายๆ เหตุการณที่ทํา ให เ กิ ด ความหวาดหวั่ น วิ ต กกั ง วลขึ้ น ในใจ ไม ว า จะเปนขาวการกอการรายใน ๓ จังหวัดชายแดนภาคใต มีการใชระเบิดหลายรูปแบบ เชน มีการใชถังดับเพลิง บรรจุระเบิดฝ งไวตามเสนทางที่ รถของเจาหน า ที่ ทหาร ผานไปมาเพื่อสังหารเจาหนาที่ทหาร การลอบ วางระเบิด หรือระเบิดรถยนต (Car Bomb) ซึ่งอันนี้ จะเปนการสังหารไมเฉพาะเจาหนาที่ทหารเทานั้น ประชาชนทุ ก คนที่ อ ยู ใ นบริ เ วณนั้ น ก็ มี สิ ท ธิ์ โ ดน สัง หารด ว ยเชน กั น หรื อ ข า วการเกิด อุ บัติ ภั ย จาก โรงงานอุตสาหกรรมตางๆ ที่ใชสารเคมีเปนวัตถุดิบ ในการผลิ ต แล ว เกิ ด มี ก ารรั่ ว ไหลทํ า ให ส ารเคมี ฟุงกระจาย หรือเกิดอุบัติเหตุบนท องถนนของรถ ขนส ง สารเคมี จ นทํ า ให พ นั ก งานหรื อ ประชาชน บาดเจ็ บ และเสี ย ชี วิ ต เป น จํ า นวนหลายราย เช น เมื่อวันที่ ๑๘ ม.ค.๕๓ เกิดแกสแอมโมเนียรั่วไหล ภายในโรงงานของ บริษัทแชมเปยนฟูดสสยาม จํากัด

ซึ่งเปนโรงงานผลิตไกสดแชแข็งสงนอก เลขที่ ๓๔/๑ หมู ๗ ต.บึ ง คํ า พร อ ย อ.ลํ า ลู ก กา จ.ปทุ ม ธานี มี ผูบาดเจ็บกวา ๕๐ คน และสาหัส ๓ คน และวันที่ ๑๒ พ.ค.๕๓ เวลา ๐๙๔๐ ก็เ กิดแกสแอมโมเนีย รั่ ว ไหลอี ก ที่ บ ริ ษั ท ห อ งเย็ น ลี่ ฮ ะฮวด จํ า กั ด เขต คลองสาน มีผูบาดเจ็บ ๑ ราย นอกจากนั้นมีชาวบาน ใกล เ คี ย งสู ด ดมแก ส เข า ไปหมดสติ อี ก ๒ ราย นอกจากนี้ ก็ มี เ หตุ ก ารณ ก ารรั่ ว ไหลของสารเคมี อีกหลายตอหลายครั้งในนิคมอุตสาหกรรมตางๆ ซึ่ง ก็ มั ก จะเกิ ด ขึ้ น บ อ ยมาก จะเห็ น ได ว า เหตุ ก ารณ เหล า นี้ ไ ม ไ ด เ พิ่ ง เกิ ด ขึ้ น ในป จ จุ บั น นี้ เ ท า นั้ น แม ในอดีตเหตุการณตางๆ เหลานี้ก็เคยเกิดขึ้นมาแลว อยางตอเนื่อ งทั้งในประเทศไทยหรือต างประเทศ อยางเช น การกอการร ายก็มีใหเ ห็ น กัน อยูทั่ว โลก ไม ว า จะเป น ขบวนการกบฏเชซเนี ย ในรั ส เซี ย ขบวนการเจหมาอิสลามิยาห ขบวนการอัลเคดาทีม่ ี เครือขายสัมพันธกับเครือขายขบวนการกอการราย ระดับภูมิภาคตางๆ ทั่วโลกทั้งในยุโรป ตะวันออกกลาง


แมแตในเอเชียของเราเองมีเหตุการณที่เกิดจากการ ก อ การร า ยหลายต อ หลายเหตุ ก ารณ จ นจํ า แทบ ไมไหว แตมีการกอการรายที่ดูจะแปลกกวาที่เคย มีมาในอดีตแตวามีอันตรายในลักษณะวงกวางและ มีผลกระทบตอประชาชนจํานวนมากซึ่งกอใหเกิด ความตื่นตระหนกหวาดกลัว กรณีหนึ่งก็คือเหตุการณ ในสถานี ร ถไฟใต ดิ น ซึ่ ง เป น การปฏิ บั ติ ก ารของ ขบวนการลัทธิโอมชินริเกียว (Aum Shinrikyo) โดย การปลอยกาซซาริน (Sarin) ในสถานีรถไฟใตดิน ของกรุ ง โตเกีย ว เมื่ อ ๒๐ มีน าคม ๒๕๓๘ ถือว า เปนการกอการรายโดยใชสารเคมีซึ่งจัดวาเปนอาวุธ อานุภาพทําลายลางสูง (WMD) เปนครั้งแรก โดย สมาชิกกลุมไดนําสารซารินใสถุงแยกยายกันเดินทาง ในรถไฟใตดินสามขบวน เมื่อถึงเวลานัดหมายก็ใช ปลายรมแทงถุงใหทะลุปลอยสารซารินออกมาใน ตู ร ถไฟใต ดิ น ที่ มี ผู โ ดยสารอยู เ ต็ ม และหลบหนี ออกมาจากที่เกิดเหตุ ตอมาเริ่มมีผูปวยพรอมๆ กัน หลายคนในหลายสถานี แ ต เ จ า หน า ที่ ส ามารถ แก ป ญ หาเบื้ อ งต น ได ดี พ อสมควรจึ ง มี ผู เ สี ย ชี วิ ต เพียง ๑๒ คน แตบาดเจ็บถึงกวา ๕,๐๐๐ คน

อาซาฮาระ โชโค ผูนําลัทธิ

การกอการรายโดยใชอาวุธอานุภาพทําลาย ลางสูง (WMD) ในครั้งนี้เปนบทเรียนที่สําคัญมากที่ ทั่วโลกจับตาดู เพราะเปนเหมือนการเปดโลกยุคใหม ของการกอการรายโดยใชสารเคมี ซึ่งจะวาไปแลว สามารถทําไดงายกวาและมีอันตรายในวงกวางกวา การก อ การร า ยทั่ ว ๆ ไปที่ ใ ช วั ต ถุ ร ะเบิ ด ธรรมดา เสียอีก

หลายคนอาจสงสั ย ว า อาวุ ธ อานุ ภ าพ ทําลายลางสูงคืออะไร และมีอะไรบางที่เปนอาวุธ อานุภาพทําลายลางสูง คําตอบคืออาวุธอานุภาพ ทําลายลางสูงคืออาวุธที่ออกแบบมาเพื่อสังหารคน จํ า นวนมากโดยไม เ น น วา เป น ทหารหรื อ พลเรื อ น อาวุธอานุภาพทําลายลางสูงบางชนิดหวังผลใหเกิด ความตื่น ตระหนกตอผูค นมากกวา การมุง สัง หาร หรื อ ใช ป ระโยชนท างยุ ท ธวิธี อาวุ ธ ที่ เ ข า ข า ยเป น


อาวุธอานุภาพทําลายลางสูงไดแก อาวุธเคมี, อาวุธ ชีวภาพ, อาวุธรังสีและนิวเคลียร, ระเบิดขนาดใหญ แตเดิมคํานิยามของอาวุธอานุภาพทําลายลางสูง จะมี เ พี ย งอาวุ ธ นิ ว เคลี ย ร , อาวุ ธ เคมี และอาวุ ธ ชี ว ภาพ ต อ มาได เ พิ่ ม เติ ม อาวุ ธ จากการระเบิ ด ขนาดใหญ ที่ มี อ านุ ภ าพทํ า ให มี ผู บ าดเจ็ บ และ เสียชีวิตจํานวนมากใหเปนอาวุธทําลายลางสูงดวย อาวุธอานุภาพทําลายลางสูงภาษาอังกฤษเขียนวา WMD (Weapon Mass of Destruction) ก็พอจะ เขาใจแลวนะครับวาอาวุธอานุภาพทําลายลางสูง คืออะไร ทีนี้เราลองมาดูในเรื่องของอันตรายที่เกิด จากอุ บั ติ ภั ย ต า งๆ ดู บ า งว า ในอดี ต นั้ น เคยเกิ ด เหตุการณอะไรบาง การเกิ ด อุ บั ติ ภั ย ทางเคมี ต า งๆ ในอดี ต ที่ผานมานั้นเกิดขึ้นอยูเปนประจําตลอดมามากมาย หลายครั้ ง จนจํ า แทบไม ไ หว ยกตั ว อย า งที่ เ ป น ขาวใหญๆ ก็เชน กรณีรถแกสระเบิดที่ถนนเพชรบุรี

เมื่อวันจันทรที่ ๒๔ กันยายน ๒๕๓๓ รถบรรทุกแกส พลิกคว่ําและแกสที่บรรทุกมาจํานวน ๒๐,๐๐๐ ลิตร

เกิดการระเบิดขึ้นทําใหมีผูเสียชีวิตจํานวน ๕๙ คน และบาดเจ็บอีกกวา ๘๐ คน หรือในกรณีโคบอลต ๖๐ ที่มีผูแอบลักลอบเอาสารโคบอลต ๖๐ จากโรงพยาบาล เกาไปขายที่รานขายของเกาและทําการผาภาชนะที่ บรรจุโคบอลต ๖๐ ทําใหเกิดการแพรกระจายของ รังสีขึ้น มีผูเสียชีวิต ๓ ราย บาดเจ็บอีกกวา ๑๐ ราย และเสียชีวิตทั้งหมดภายใน ๒ เดือนหลังจากไดรับ รังสี และกรณีสารเคมีรั่วไหลที่โรงงานอุตสาหกรรม ในนิคมอุตสาหกรรมแหลมฉบัง จ.ชลบุรี และนิคม อุตสาหกรรมมาบตาพุด จ.ระยอง และยังมีอกี หลาย ตอหลายเหตุการณที่เกิดขึ้นจากการกอการรายและ อุบัติภัยของสารเคมี สารชีวะ และรังสี ซึ่งก็ขอยกมา เปนตัวอยางเพียงเล็กนอยเทานั้นเพื่อใหเห็นวาภัย ที่ อ ยู โ ดยรอบตั ว เราในป จ จุ บั น นี้ มี อ ยู ม ากมาย ทั้งจากการกอการรายโดยบุคคลกลุมหนึ่งและจาก อุบัติภัยที่เกิดจากความประมาทของคนอีกเชนกัน โดยเฉพาะอยางยิ่งการขนสงสารเคมีตามทองถนน ที่ ร ถขนสารเคมี วิ่ ง กั น เกลื่ อ นถนน ไปหมด แต ไ ม ว า จะเกิ ด จากอะไร เราทุกคนไมวาทหารหรือเจาหนาที่ บานเมืองอื่นๆ หรือแมแตประชาชน ทั่วๆ ไป ก็ควรตองมีการระมัดระวัง ตองมีความรูในเรื่องการปองกันและ การชว ยเหลื อเบื้ อ งตน ไวบา ง ทั้ง นี้ ก็เพื่อความปลอดภัยของตัวเองเปน อันดับแรก และยังสามารถชวยเหลือ ผูอื่นไดในเบื้องตนอีกดวย สําหรับทางกฎหมายนั้น ไดกําหนดใหเปน หน า ที่ ข องทหารเช น เดี ย วกั น ในการช ว ยเหลื อ


ประชาชน เมื่ อ ประชาชนเดื อ ดรอ นจากภั ย ตา งๆ ไมตองพูดถึงเรื่องกอการรายซึ่งเปนหนาที่โดยตรง ของทหารอยู แ ล ว จากเหตุ ก ารณ ที่ เ กิ ด ขึ้ น ดั ง ที่ ยกตัวอยางมาขางตนนั้น ทําใหเราไมอาจนิ่งนอนใจ ไดเลยวามันจะไมเกิดขึ้นอีกในระยะเวลาขางหนานี้ ดั ง นั้ น จึ ง เป น หน า ที่ ข องเราที่ ต อ งเตรี ย มพร อ ม สําหรับเหตุการณที่อาจเกิดขึ้นและถามันเกิดเหตุขึ้น ในเขตรับผิดชอบของกองทัพอากาศเราก็สามารถที่ จะเข า ทํ า การช ว ยเหลื อ หรื อ แก ไ ขสถานการณ เบื้ อ งต น ได ซึ่ ง หน ว ยงานของกองทั พ อากาศที่ มี หนาที่โดยตรงในเรื่องนี้คือ แผนกปฏิบัติการนิวเคลียร ชีวะ เคมี กวศ.ศวอ.ทอ. หรือหนวยงานอื่นที่อาจจะ ไม มี ห น า ที่ โ ดยตรงแต อ าจประสบกั บ เหตุ ก ารณ เหลานี้ ก็สามารถที่จะเขาระงับเหตุฉุกเฉินในเบื้องตน ไดอยางปลอดภัย หรือรูจักการระมัดระวังปองกัน เพื่ อ ไม ใ หเ หตุ ก ารณ เ หล า นี้ เ กิ ดขึ้ น หลั ง จากท า น ไดอานบทความนี้จะทําใหทานรูวาวิธีการปองกัน และระงับเหตุฉุกเฉินเบื้องตนทั้งจากการกอการราย ดวยอาวุธอานุภาพทําลายลางสูง (WMD) หรือจาก อุบัติภัยจากสารเคมี สารชีวะ และสารกัมมันตภาพรังสี ไดพอสมควร ทีเดียว กอนที่เราจะรูวิธีการปองกันและการระงับ เหตุฉุกเฉิน เรามารูถึงผลอันตรายของสารเคมีตางๆ อยางกวางๆ กอน สารเคมีทางทหารและสารเคมี ทางอุตสาหกรรมนั้นมีอันตรายเหมือนๆ กันขึ้นอยู กับปริมาณและความเขมขนที่ไดรับ ในที่นี้ ขอแยก ผลอันตรายไวกวางๆ คือ อันตรายจากการหายใจ หรือกลืนกินและอันตรายจากการสัมผัสผิวหนัง

สารที่มีอันตรายจากการหายใจ คือ - สารสําลัก (Choking Agents) เชน Chlorine, Phosgene - สารพิษตอโลหิต (Blood Agents) เชน Cyanogens, Chloride, Hydrogen Cyanide - สารทําลายประสาท (Nerve Agents) เชน Tabun, Sarin, Soman

สารเคมีที่มีอันตรายจากการสัมผัส คือ สารพุพอง (Vesicants, Blistering Agents) เชน Lewisite, Mustard

นอกจากนี้ ส ารเคมี ท างอุ ต สาหกรรมก็ มี อันตรายอยูมากมายหลายชนิด เมื่อเกิดการรั่วไหลขึ้น


จะมี ไ อระเหยทํ า ให เ กิ ด การระคายเคื อ งและเกิ ด แผลไหม มีผลตอระบบทางเดินหายใจ เจ็บหนาอก ชัก หมดสติและเสียชีวิต เชน กาซแอมโมเนีย ดังนัน้ จําเปนตองใหพวกเราไดรูจักวิธีการปฏิบัติเมื่อเกิด เหตุการณเหลานี้ขึ้น เราจะไดรูวาสามารถทําอะไร เบื้องตนไดบาง เพื่อเปนการลดระดับของอันตราย ที่จะเกิดขึ้นกับตนเองและบุคคลอื่น ในการปฏิบัตินั้น เรายึดหลักของการปองกันอันตรายสําหรับตนเอง ๓ ขอ คือ ๑. หลีก เลี่ย ง คื อ พยายามอย า เขาไปใน พื้นที่เกิดเหตุถาไมจําเปน ๒. การปองกัน คือ เมื่อจําเปนตองเขาไป ในพื้ น ที่ เ กิ ด เหตุ จ ริ ง ๆ เพราะเป น เจ า หน า ที่ ห รื อ เหตุจําเปนอยางอื่นก็ตองรูจักการปองกันตนเองให ปลอดภัยเสียกอน เชน ตองมีเครื่องแตงกายปองกัน หนากากปองกันที่เหมาะสม

๓. การชําระลางสารพิษ คือ เมือ่ เราถูกสารเคมี สารชี ว ะ หรื อ ปนเป อ นสารกั ม มั น ตรั ง สี จ ากการ เข า พื้ น ที่ ใ นข อ ๒ เราจะต อ งได รั บ การชํ า ระล า ง สารพิษออกโดยเร็วที่สุด

นี่ คื อ หลั ก การทั่ ว ไปของการปฏิ บั ติ ใ น เบื้องตนในการปองกันอันตรายของตนเองเมื่อตอง ประสบกั บ เหตุ ก ารณ ห รื อ มี ห น า ที่ โ ดยตรงที่ ต อ ง ปฏิบัติก็ตองยึดหลักทั้ง ๓ ขอนี้ไว 11 (สําหรับฉบับหนา จะกลาวถึงการกอการราย ดวยอาวุธอานุภาพทําลายลางสูง)


วิหกเหินฟา รวบรวม สงครามเป น สิ่ ง ที่ ทุ ก คนไม ต องการ แต เ มื่ อ ความขั ด แย ง ดํ า เนิ น ไปถึ ง จุ ด หนึ่ ง ที่ ก ารดํ า เนิ น การ ทางการทูตไมสามารถแกไขหาทางออกได สงครามจึงเปนสิ่งที่หลีกเลี่ยงไมได ซึ่งเปนที่ทราบกันดีวาในการ ทําสงครามนั้น ปจจัยที่สําคัญมีอยู 3 ประการ ไดแก กําลังพล, ยุทธศาสตรหรือยุทธวิธี และสุดทายคือ เทคโนโลยีห รืออาวุธ ยุทโธปกรณ ซึ่งหากวิเคราะหแลว จะพบว า จํ า นวนกํ า ลั ง พลจะมี จํ า กั ด ตามสั ด ส ว นของ ประชากรในประเทศ และนั บ วั น มี แ นวโน ม จะลดลง ตามนโยบายปรั บลดอัตรากํา ลัง พล ซึ่งเปน เชนนี้เกือบ ทุกประเทศ หรือหากจะพิจารณาในแงของยุทธศาสตร หรือยุทธวิธี ก็จะพบวากองทัพของแตละประเทศลวนแต ศึกษามาจากตําราเลมเดียวกัน มีตนแบบคลายๆกัน เชน ซุนวู หรือ เคลาสวิทซ เปนตน โดยเฉพาะในยุคโลกาภิวัตนเชนทุกวันนี้ ที่ขาวสารความรูแพรถึงกันอยาง งายดาย จึงสงผลใหความสามารถดานยุทธศาสตรหรือยุทธวิธีไมนาจะแตกตางกันมากนัก จึงนํามาซึ่ง บทสรุปที่วา ปจจัยที่มีอิทธิพลสูงสุดในสงครามยุคใหมก็คือ เทคโนโลยีหรืออาวุธยุทโธปกรณ ฝายใดมี เทคโนโลยีที่เหนือกวายอมไดชัยชนะ ซึ่งหนึ่งในเทคโนโลยีทางทหารที่ไดรับความสนใจสูงสุดในปจจุบันก็คือ จรวดหรือขีปนาวุธ


จรวดมีประวัติความเปนมาที่ยาวนานอาจยอนหลังไปประมาณ 4,000 ป โดยชาวจีน หลังจากนั้น ก็มีวิวัฒนาการมาอยางตอเนื่อง จนปจจุบันไดกลายเปนอาวุธทางยุทธศาสตรและยุทธวิธีที่นาเกรงขาม เพราะใชกํา ลังพลเพี ยงไมกี่นาย สามารถเคลื่อนยายตําแหนงที่ตั้ง มีระยะยิงที่ไกล จนถึงขั้น ขามทวีป อํานาจการทําลายรุนแรงมหาศาล สามารถบรรจุหัวรบที่มีน้ําหนักมาก หรือแมแตหัวรบนิวเคลียร รวมทั้งมี ความแมนยําสูง จึงเปนอาวุธที่หลายประเทศตองการจัดหาหรือผลิตขึ้นเองเพื่อใชเปนอํานาจในการเจรจา ตอรอง และสรางความมั่นคงทางทหาร ไมเวนแมแตประเทศในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใตหรืออาเซียน ที่เรงจัดหาอาวุธชนิดนี้ ยกตัวอยางดังขอมูลในตารางดานลาง ประเทศ มาเลเซีย สิงคโปร พมา

กัมพูชา เวียดนาม ไทย

แบบของจรวด ASTROS II HIMARS M-1991 ขนาด 240 มม. BM-21 Type-90 BM-21 Type-81 BM-21 MLRS ขนาด 130 มม. ติดตั้งบนรถ Type-85

ประเทศผูผลิต บราซิล สหรัฐอเมริกา เกาหลีเหนือ สหพันธรัฐรัสเซีย จีน สหพันธรัฐรัสเซีย จีน สหพันธรัฐรัสเซีย จีน

จํานวนโดยประมาณ 36 ระบบ 18 ระบบ มากกวา 30 ระบบ เกือบ 200 ระบบ 180 ระบบ 100 ระบบ อยางนอย 1 กองพัน 800 ระบบ 6 ระบบ

หมายเหตุ : 1 ระบบ จะประกอบดวยรถควบคุมและสั่งการซึ่งจะทําการบังคับบัญชาและควบคุมการยิง, รถบรรทุกติดตั้งแทนยิง และรถบรรทุกจรวดสําหรับบรรจุเพิ่มเติม


ขอมูลทางเทคนิค

แบบของจรวด ASTROS II

HIMARS

M-1991 BM-21, Type-81, Type-90

ขนาดเสน ผานศูนยกลาง

จํานวน พลประจํารถ

127 มม. (SS-30) 180 มม. (SS-40) 300 มม. (SS-60) 300 มม. (SS-80) AV-300 MT (Cruise Missile) M26 M30/31 MGM-140A 240 มม. 122 มม.

3 นาย 3 นาย 3 นาย 3 นาย 3 นาย

จํานวน ทอยิง หรือ ลํากลอง 32 16 4 4 2

3 นาย 3 นาย 3 นาย 4 นาย

6 6 1 22 40

ระยะยิงไกล สุด 30 ก.ม. 35 ก.ม. 60 ก.ม. 90 ก.ม. 300 ก.ม. 32 ก.ม. 60 ก.ม. 120 ก.ม. 43 ก.ม. 40 ก.ม.

รูปภาพของ ASTROS II


รูปภาพของ HIMARS

รูปภาพของ M-1991

รูปภาพของ BM-21, Type-81, Type-90


ดั ง จ ะ เ ห็ น ไ ด ว า ป ร ะ เ ท ศ เพื่ อ นบ า นของเรา ต า งก็ ต ระหนั ก ถึ ง ความสํ า คั ญ ของการจั ด หาจรวดเพื่ อ เ ส ริ ม ส ร า ง ค ว า ม มั่ น ค ง ท า ง ท ห า ร โดยเฉพาะอย า งยิ่ ง จรวดพื้ น สู พื้ น แบบ หลายลํากลอง ซึ่งการดําเนินยุทธศาสตร ในลั ก ษณะเช น นี้ น า จะมี เ หตุ ผ ลที่ ดี รองรั บ เหตุ ผ ลที่ สํ า คั ญ ประการหนึ่ ง จากการวิ เ คราะห ก็ คื อ การรบในยุ ค รูปภาพของ MLRS ขนาด 130 มม.ติดตั้งบนรถ Type-85 สมั ย ใหม จ ะเป น การรบที่ จ บลงอย า ง รวดเร็ว ไมยืดเยื้อเหมือนสมัยกอน รูปแบบของการบุกยึดดินแดนอยางถาวรจะไมคอยปรากฏใหเห็น แมจะ เปนดินแดนเพียงเล็กนอยก็ตาม เพราะปจจุบันองคกรระหวางประเทศรวมทั้งองคการสหประชาชาติจะเขา มาทําหนาที่ในการไกลเกลี่ยเจรจาใหยุติสงครามโดยเร็วในที่สุด ซึ่งกวาจะถึงเวลานั้นทั้งสองฝายก็อาจโจมตี อีกฝายเสียหายมากมายดวยใชจรวดหรืออากาศยาน ดังนั้นฝายใดที่สามารถโจมตีใหขาศึกเสียหายมาก ที่สุดในชวงเวลาอันสั้นนั้นยอมไดเปรียบ เสมือนวาเปนผูชนะในสงครามและขณะเดียวกันก็เปนการสั่งสอน ใหบทเรียนกับอีกฝาย เพื่อวาจะไดไมกลาทําตัวเปนปฏิปกษอีกตอไป เปนที่แนนอนวาความพยายามในการรุกคืบดวยกําลังทางบกจะถูกตอตานดวยกําลังทางบกของ อีกฝาย ซึ่งจะสรางความเสียหายแกขาศึกไดก็เฉพาะตามแนวชายแดน และเห็นผลการสูรบที่ไมชัดเจนนัก โดยเฉพาะในกรณีที่ทั้งสองฝายมีจํานวนกําลังพลและอาวุธที่ใกลเคียงกัน การโจมตีทางยุทธศาสตรที่ไดผล ชัดเจนกวา คือกําลังทางอากาศที่สามารถโจมตีลึกเขาไปในดินแดนของขาศึก ถึงจุดศูนยดุลหรือ COG แต เนื่องจากอากาศยานของฝายเราก็ไมไดมีมากมายเหมือนกับประเทศมหาอํานาจ จึงสมควรที่จะออมกําลัง ทางอากาศไวเพื่อการตั้งรับเปนสําคัญ และการสงอากาศยานเขาไปในแดนขาศึกที่มีอาวุธตอสูอ ากาศยานที่ ทันสมัยเปนจํานวนมากอาจจะเปนความเสี่ยงอยางใหญหลวง ดวยเหตุผลดังที่กลาวมาทั้งหมด จะเห็นไดวา การใชจรวดในเชิงยุทธศาสตรนาจะเปนทางเลือกที่ดีที่สุดในการรบสมัยใหม โดยเฉพาะจรวดหลายลํากลอง (Multiple Launch Rocket System หรือ MLRS) ที่สามารถยิงเปนกลุมกอนเขาทําลายเปาหมายเปน บริเวณกวางและมีอานุภาพที่รุนแรง สามารถทําลายขาศึกไดทั้งทางกายภาพและในเชิงจิตวิทยาที่จะสราง ความหวาดกลัวไปไดโดยทั่ว และนั่นนาจะเปนคําตอบวา ทําไมประเทศที่พัฒนาแลวและทั้งที่กําลังพัฒนา จึงแสดงเจตนารมณที่ชัดเจนในการจัดหาอาวุธชนิดนี้


หากพิ จ ารณาจากภั ย คุ ก คามที่ มี อ ยู ร อบดา น รวมทั้ ง ขีด ความสามารถทางทหารของประเทศ เพื่อนบานแลว ก็จะพบวาประเทศไทยก็เปนอีกประเทศหนึ่งที่นาจะจัดหาจรวดเพื่อความมั่นคงเชนเดียวกัน เพราะอยางนอยก็จะสรางความหวั่นเกรงใหแกขาศึกไดวา กองทัพของเราก็มีอาวุธที่ทันสมัย สามารถยิง ตอตานไดเชนกัน หากยิงจรวดโจมตีมาก็เปนความชอบธรรมที่เราจะโตตอบดวยจรวดเชนกัน แตคําถามที่ ตามมาก็คือ แลวเราจะจัดหาจรวดเพิ่มเติมมาจากที่ไหน บทเรียนจากสงครามในอดีตมากมายย้ําเตือนใหเราระลึกอยูเสมอวา เราจะไปหวังพึ่งคนอื่นอยูตลอด คงเปนไปไมได เพราะสุดทายเราก็ตองหันกลับมาพึ่งตัวเอง ทุกประเทศตองยึดผลประโยชนของชาติตน มากอน วันนี้ผลประโยชนเกื้อกูลกัน ไมขัดกัน ก็ถือเปนมิตร แตหากวันใดวันหนึ่งในอนาคต เกิดการขัดแยง ก็พรอมจะกลายเปนศัตรูกัน ดังนั้นเราควรจะกาวใหทันโลกที่หมุนไปอยางรวดเร็ว กาวเดินไปขางหนาอยาง มั่นคง และที่สําคัญตองเปนการกาวดวยเทาและลําแขงของเราเอง นับเปนขาวดีของประเทศไทยและกองทัพไทย ที่วาในชวงสองสามปที่ผานมานี้ กระทรวงกลาโหม มีแนวคิดที่จะวิจัย, พัฒนา และผลิตจรวดหลายลํากลองขึ้นเอง ซึ่งในขณะนี้อยูในระหวางการพัฒนา และ หากประสบความสําเร็จก็จะทําใหเรามีศักยภาพทางทหารเพิ่มขึ้นอีกมาก เพราะสามารถผลิตจรวดได ในจํานวนมาก โดยใชงบประมาณอยางประหยัด ตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง และในอนาคต อาจจะ เปนแหลงสรางรายไดเขาสูประเทศ นับเปนแนวความคิดที่นาจะใหการสนับสนุนเปนอยางยิ่ง ในฐานะ ประชาชนคนไทยที่รักชาติคนหนึ่ง 0


น.อ.จิโรตม มณีรัตน ก อ นที่ จ ะทราบป ญ หาการเลื อ กตั้ ง ครั้ ง ยาวนานที่สุดของพมาครั้งนี้ จะขอกลาวถึงปญหา ตางๆ ในประเทศพมาซึ่งถือวาเปนบริบทสําคัญที่ ต อ งทํ า ให ป ระเทศนี้ ป กครองโดยเผด็จ การทหาร มาเกือบตลอด หลังจากไดรับเอกราชจากอังกฤษ ในป พ.ศ.๒๔๙๑ (พมาตกเปนเมืองขึ้นของอังกฤษ ตั้งแต ๑ มกราคม พ.ศ.๒๔๒๙) ในสมัยลาอาณานิคม ของประเทศมหาอํานาจทางตะวันตก ซึ่งในสมัยนั้น มี ป ระเทศไทยเพี ย งประเทศเดี ย วที่ ร อดพ น จาก “ปากเหยี่ยวปากกา” ของนักลาอาณานิคม โดย ประเทศที่ อ ยู ร อบประเทศไทยถู ก ยึ ด ครองจาก ชาวตะวัน ตกทั้ง สิ้น ยกเว น จี น เพี ย งประเทศเดีย ว แต ก็ มิ ว ายพื้ น ที่ บ างส ว นถู ก ชาติ ม หาอํ า นาจทาง ตะวันตกเขามายึดครองบังคับเชาโดยใชเวลานาน ถึง ๙๙ ป เชน เกาะฮองกงและเกาะมาเกา นอกจากนี้ จีนบางสวนยังตกเปนเขตอิทธิพลของตางชาติและ ญี่ปุนดวย ดานประเทศลาว กัมพูชา และเวียดนาม ได ต กเป น เมื อ งขึ้ น ของฝรั่ ง เศส ส ว นทางตอนใต ของไทย มี มลายู (มาเลเซีย) และสิงคโปรตกเปน

เมื อ งขึ้ น ของอั ง กฤษ สํ า หรั บ อิ น โดนี เ ซี ย ตกเป น เมืองขึ้นของประเทศเนเธอรแลนด เปนตน จากปญหาการยึดครองของตางชาตินี้เอง ไดสรางปญหาตางๆ เกิดขึ้นกับประเทศที่ถูกยึดครอง มาจนถึงปจจุบัน รวมถึงประเทศไทยอยางมหาศาล ที่ ถู ก ชาติ ม หาอํ า นาจทั้ ง อั ง กฤษและฝรั่ ง เศส กลั่น แกลง ยึดเอาพื้น ที่ของไทยไปอยา งมหาศาล ในการเสี ย ดิ น แดน ๕ ครั้ ง คิ ด เป น พื้ น ที่ ทั้ ง หมด ๔๖๗,๕๐๐ ตารางกิโลเมตร คื อดิน แดนบางสว น ของประเทศลาว และกั ม พู ช า ในป จ จุ บั น ทํ า ให ประเทศไทยตองสูญเสียไปเกือบครึ่งประเทศ ตาม สนธิสัญญาลงวันที่ ๒๓ มีนาคม ๒๔๕๐ ระหวาง ไทยกั บ ฝรั่ ง เศส สํ า หรั บ อั ง กฤษนั้ น ไทยต อ งเสี ย รัฐกลันตัน ตรังกานู ไทรบุรี และปะลิส เพื่อแลกกับ สิท ธิ ส ภาพนอกอาณาเขตของอัง กฤษนอกจากนี้ ไทยยั ง มี ป ญ หาเรื่ อ งเส น เขตแดนระหว า งไทยกั ม พูชา และ ไทย-ลาว ที่ฝรั่ ง เศสได ทําไว กั บไทย โดยไมยึดถือการแบงเขตแดนที่ใชสันปนน้ําตามที่ นานาชาติ ย อมรั บ กั น โดยทั่ ว ไปสํ า หรั บ เขตแดน ที่เปนภูเขา และการใชรองน้ําลึกเปนเสนแบงเขต


ระหวางประเทศ ในกรณีที่เปนแมน้ําตางๆ ตัวอยาง สํ า คั ญ คื อ ป ญ หาชายแดนไทย-กั ม พู ช า บริ เ วณ ปราสาทพระวิหาร เปนตน

สนธิสัญญาปางหลวง

สําหรับพมาหลังจากตกเปนเมืองขึ้นของ อังกฤษแลว เมื่อ ๒๗ ม.ค.๒๔๙๐ อังกฤษไดลงนาม ในสั ญ ญา เพื่ อ มอบเอกราชให แ ก พ ม า ดั ง นั้ น ในวันที่ ๗ ก.พ.๒๔๙๐ อังกฤษไดจัดใหมีการประชุม ชนกลุมนอยชาติพันธุตางๆ ในพมาที่เวียงปางหลวง โดยมติ ที่ ป ระชุ ม ให ช นกลุ ม น อ ยต า งๆ ในพม า ไดร วมตั ว เป น อั น หนึ่ง อัน เดีย วกั น เพื่ อแสดงพลั ง ความสามั ค คี ใ ห อั ง กฤษเห็ น และเมื่ อ พม า ได รั บ เอกราชแลว จะอยูรวมกันตอไปอีก ๑๐ ป เพื่อผนึกกําลัง สรางชาติใหเขมแข็ง กอนจะแยกยายเปนอิสระของ ตนตอไป ตามขอตกลงนี้ไดเซ็นสัญญารวมกันเมื่อ ๑๒ ก.พ.๒๔๙๐ เรียกสนธิสัญญานี้วา “สนธิสัญญา ปางหลวง” อยางไรก็ตามหลังจาก อู อองซาน ถู ก ลอบสั ง หารเมื่ อ ๑๙ ก.ค.๒๔๙๐ เป น ผลให สนธิสัญญาดังกลาวลมเลิกไป และตอมาอังกฤษได มอบเอกราชใหแกพมาในป ๒๔๙๑ แตระบบการ ปกครองของพม า ต อ งล ม ลุกคลุ ก คลานมาตลอด ชวงเวลา ๑๐ กวาป จนเกิดเหตุการณสําคัญขึ้นคือ

เมื่อ ๒๖ ก.ย.๒๕๐๑ เกิดการปฏิวัติขึ้นในพมาโดย นายพลเนวินฯ ยิ่งทําใหเกิดปญหากับชนกลุมนอย ในพมาอยางรุนแรง โดยเฉพาะการประกาศนโยบาย สรางชาติพมาโดยกําหนดเกณฑวา “คนที่จะเปน พลเมืองของพมาไดจะตองเกิดและอาศัยอยูในพมา กอนป พ.ศ.๒๓๖๗ ( ค.ศ.๑๘๒๔)” จากกฎหมาย สัญชาติพมาในป ๒๕๒๕ (๑๙๘๒) ดังกลาว เปนผล ให ช นกลุ ม น อ ยชาติ พั น ธุ ต า งๆ ในพม า ทั้ ง หมด ๑๓๕ กลุม ที่ไดรับการรับรองจากทหารพมา (ยกเวน ชาวโรฮิงยา ที่ อยูนอกเหนือกฎเกณฑนี้) และเมื่อ สนธิ สั ญ ญาปางหลวงได ถู ก ยกเลิ ก เป น ผลให ชนกลุ ม น อ ยต า งๆ ต อ งผิ ด หวั ง ที่ จ ะได ป กครอง ตนเองเปนอิสระ โดยเฉพาะชนกลุมนอยกลุมใหญ ที่มีดินแดน และอาวุธในการปกครองตนเองจํานวน ๘ กลุ ม คื อ มี กํ า ลั ง ติ ด อาวุ ธ ของตนเอง เช น กลุ ม กะเหรี่ยงพุทธ กะเหรี่ยงคริสต กลุมวา กลุมไทยใหญ กลุมมอญ กลุมคะฉิ่น ฯลฯ ของพมานี้เองเปรียบเสมือน “หอกขางแคร” ของรัฐบาลทหารพมามาโดยตลอด พมามีศัตรูจากภายในประเทศทําลายความมั่นคง อยูตลอดเวลา ถาเมื่อใดรัฐบาลกลางพมาเกิดออนแอ จะเปนอันตรายตอความมั่นคงของพมาทันที เนื่องจาก ชนกลุมนอยตางๆ ที่มีอาวุธจะทําการสูรบตอตาน รัฐบาลของพมามาโดยตลอด และถารัฐบาลพมา ออนแอจนไมสามารถควบคุมชนกลุมนอยเหลานี้ ได ทํ า ใหช นกลุม น อ ยต า งๆ ที่ ก ล า วแลว ประกาศ ปกครองตนเองแยกตัวเปนอิสระทันที จากเหตุผล ดัง กลา วจึง ทํ า ให พ ม า ต อ งปกครองโดยเผด็ จ การ ทหาร มาตั้ง แต ป ๒๕๐๑ จนถึง ปจจุ บัน ถึงแมวา ในป ๒๕๓๓ ได มี ก ารเลื อ กตั้ ง ทั่ ว ไปเกิ ด ขึ้ น เป น


ครั้ง แรก แต ก ารเลื อกตั้ ง ครั้ ง ใหม นี้ ปรากฏว า ผล การเลื อ กตั้ ง ครั้ ง นั้ น พรรคสั น นิ บ าตแห ง ชาติ เ พื่ อ ประชาธิปไตย (เอ็น แอล ดี) ของนางอองซาน ซูจี ไดรับชัยชนะอยางทวมทน โดยไดรับเลือกไดที่นั่ง ในสภาถึง ๓๙๒ ที่นั่ง จากทั้งหมด ๔๘๕ ที่นั่ง แต นางอองซาน ซูจี ก็ไมสามารถจัดตั้งรัฐบาลได เนือ่ งจาก รัฐบาลเผด็จการทหารไดสงกําลังออกปราบปราม ประชาชน และทําการควบคุ มตั วนางอองซาน ซูจี ไว เปนเวลา ๖ ป ไดรับการปลอยตัวเมื่อ ๑๐ ก.ค.๒๕๓๘ และในระหว า งที่ ถู ก ควบคุ ม ตั ว ปรากฏว า เมื่ อ ๑๔ ต.ค.๒๕๓๔ คณะกรรมการรางวัลโนเบล ไดประกาศ มอบรางวั ล โนเบลสาขาสั น ติ ภ าพให แ ก น างด ว ย อย า งไรก็ ต ามจากการต อ สู ข องนางอองซาน ซู จี เพื่ อ ให มี ก ารปกครองในระบอบประชาธิ ป ไตย ไมประสบผลสําเร็จ นางถูกรัฐบาลเผด็จการทหาร ควบคุ ม ตั ว ภายในบ า นพั ก ของตนเองมาจนถึ ง ปจจุบันเปนเวลารวมกันทั้งหมด ๑๕ ป และหลังสุด จากสาเหตุที่นายจอหน แยททอร ชาวสหรัฐฯ ได ว า ยน้ํ า ไปยั ง บ า นพั ก ริ ม ทะเลสาบของนาง ใน นครยางกุงโดยมิไดรับเชิญ เมื่อ พ.ค.๕๒ ที่ผานมา เปนผลใหมีความผิด และถูกรัฐบาลสั่งขยายเวลา กักบริเวณเธอออกไปอีก ๑๘ เดือน โดยครบกําหนด ปลอยตัวในวันที่ ๑๓ พ.ย.๕๓ การสรางเมืองหลวงใหมของพมา รั ฐ บาลพม า ได ส ร า งเมื อ งหลวงใหม ขึ้ น และเมื อ งหลวงใหม นี้ มี ชื่ อ เรี ย กว า “เนพิ ด อร ” (Napyidaw City) มีความหมายวาเปนเมืองหลวง หรือเมืองที่มี พระเจา แผนดิ นประทับ (จะมีรูปปน

ของพระมหากษัตริยโบราณพมา ๓ พระองคทรง ประทั บ ยื น บนพระแท น ) ประกอบด ว ยเมื อ งหลั ก ๓ เมืองคือ เมืองพินมานา (Pyinmana) เมืองตะโกง (Tatkon) และเมืองละเว (Lewe) อยูทางตอนใต ของมั ณ ฑะเลย ห า งจากกรุ ง ย า งกุ ง เดิ ม ไปทาง ตอนเหนื อ ประมาณ ๔๐๐ กม. รวมพื้ น ที่ ข นาด ๓,๖๐๐ ตารางกิโลเมตร ลักษณะภูมิประเทศเปน ที่ราบสูง ทิศตะวันออกติดตอเทือกเขาฉานโยมา ซึ่ง มีความสูงประมาณ ๗,๐๐๐ ฟุต สวนทิศตะวันตก ติดตอกับเทือกเขาแปคูโยมา มีความสูง ๓,๐๐๐ ฟุต และมีเขื่อนปางหลวงเปน แหลงใหพ ลัง งานไฟฟา พลังน้ํา เพื่อปอนเมืองหลวงใหมนี้ พรอมสิ่งอํานวย ความสะดวกตางๆ อยางพรอมเพรียง เชน สนามบิน ใหม อาคารรัฐสภา ทําเนียบรัฐบาล รวมถึงกระทรวง ตางๆ มหาวิทยาลัย โรงเรียน โรงพยาบาล สนามกีฬา ฯลฯ การสรางเมืองหลวงใหมพมาครั้งนี้ เริ่มตั้งแต เดือน ก.ค.๒๕๔๖ และไดเสร็จสมบูรณเมื่อป ๒๕๕๑

“เนพิดอร” (Napyidaw City)


ใหมครั้งนี้ ไดเปลี่ยนกลับมาเปน พมาเหมือนเดิมอีก แตเพิ่มชื่อขางหนาเปน “สาธารณรัฐสหภาพพมา” คือเพิ่มคําวา “สาธารณรัฐ” นําหนาสหภาพพมา นั่นเอง

การสรางเมืองหลวงใหมของพมามีปจจัย ใหพิจารณาในหลายประเด็นคือ ๑. เหตุ ผ ลจากความเชื่ อ โชคชะตาด า น โหราศาสตร เนื่ อ งจากผู นํ า ทางทหารส ว นใหญ ของพมา มีความเชื่อเรื่องโชคลาง เพราะมีคําทํานาย ของโหรวา ในป ๒๕๔๙–๒๕๕๐ ดวงเมืองพมาไมดี กั บ กรุ ง ย า งกุ ง หรื อ มี อั น ตรายเกิ ด ขึ้ น กั บ สมาชิ ก ภายในครอบครัว ๒. เหตุ ผ ลด า นความมั่ น คง เนื่ อ งจาก กรุ ง เนพิ ด อร เป น จุ ด ยุ ท ธศาสตร ที่ สํ า คั ญ เพราะ ตั้ ง อยู ใ จกลางของประเทศ มี เ ทื อ กเขาขนาบทั้ ง สองดาน สามารถปองกันการรุกรานจากภายนอก ไดดี ทั้งดานตะวันตกและตะวันออก ประกอบกับ กรุงยางกุงอยูใกลกับปากแมน้ําและทะเล จะทําให ขา ศึกใชอ าวุ ธ นํา วิถี ยิง ทํ า ลายจากเรื อรบไดงา ย เชนเดียวกับที่ประเทศสหรัฐฯทําสงครามกับประเทศ อิรักที่ผานมา นอกจากการยายเมืองหลวงใหมครั้งนี้ แลว กอนการเลือกตั้งเพียงเล็กนอยรัฐบาลพมาได เปลี่ยนชื่อประเทศใหมอีกครั้งหนึ่งหลังจากที่เคย เปลี่ยนมาครั้งหนึ่งแลว จากเดิมชื่อในภาษาอังกฤษ Burma เปน Myanmar หรือ “เมียนมาร” แตไทย ยังคงเรียกวาพมาเหมือนเดิม สวนการเปลี่ยนชื่อ

การเลือกตั้งครั้งใหมเพื่อพัฒนาประชาธิปไตย ในรอบ ๒๐ ป ตามรัฐธรรมนูญใหมของพมา ป ๒๕๕๒ การเลือกตั้งครั้งนี้จะไดรับการบันทึก อีก ครั้งหนึ่งวา เมื่อ ๗ พ.ย.๒๕๕๓ รัฐบาลพมาไดจัดให มีการเลือกตั้งทั่วไปเปนครั้งแรกในรอบ ๒๐ ป และ นับเปนครั้งที่ ๒ นับตั้งแตป ๒๕๓๓ เปนตนมา ตาม รัฐธรรมนูญป ๒๕๕๒ การพัฒนาประชาธิปไตยพมา จั ดเป นบั นได ๕ ขั้ น เพื่ อเดิ นทางไปสู การปกครอง ระบอบประชาธิปไตย ตามที่รัฐบาลพมาไดประกาศไว

อย า งไรก็ ต ามการเลื อ กตั้ ง ทั่ ว ไปครั้ ง นี้ ประเทศตางๆ ในระบอบประชาธิปไตยทั่วโลก ใหความ สนใจและจับตามองอยางใกลชิด ถึงแมไมสามารถ ส ง จนท. เข า ไปสั ง เกตการณ อ ย า งใกล ชิ ด ก็ ต าม และไดมีเสียงวิพากษวิจารณ ถึงการออกกฎจํากัด สิทธิชาวตางชาติ จากประเทศตางๆ ทั่วโลก เพราะ เชื่ อ ว า การเลื อ กตั้ ง จะไม โ ปร ง ใสและเป น ธรรม


ขณะเดียวกันนักวิเคราะหสถานการณโลกเชื่อวา การเลือกตั้งพมาครั้งนี้เปนเพียง “การเปลี่ยนรูปแบบ การปกครองจากเผด็ จ การทหาร เป น เผด็ จ การ พลเรือน” นั่นเอง และการเลือกตั้งก็มาจากสาเหตุ จากการกดดันจากนานาชาติ มาโดยตลอด เปนผล ใหรัฐ บาลพมา ได ประกาศกฎหมายเลื อ กตั้ง เมื่อ ๘ มีนาคม ๒๕๕๓ ที่ผานมาจึงถือไดวาเปนการ เลือกตั้งครั้งแรก นับตั้งแตป ๒๕๓๓ โดยรัฐบาลได คัดเลือกและอนุญาตใหพรรคการเมืองจากทั้งหมด ๔๗ พรรคการเมือง มีสิทธิสงสมาชิกลงสมัครรับ เลือกตั้ง จํานวนทั้งสิ้น ๓๗ พรรคการเมือง โดยมี ผู ส มั ค รรั บ เลื อ กตั้ ง สั ง กั ด พรรคการเมื อ งทั้ ง สิ้ น ๓,๑๕๓ คน และผูสมัครอิสระ ๘๒ คน ลงสมัครเลือกตั้ง ชิงเกาอี้สภาแหงชาติ ๔๔๐ ที่นั่ง และสภาประชาชน ๗๑๘ ที่นั่ง และในจํานวนสมาชิกทั้งสองสภานี้จะมี โควตาตัวแทนจากทหารคิดเปนรอยละ ๒๕

อยางไรก็ตามในขณะทําการเลือกตั้งทั่วไป ครั้งนี้ พมายังคงควบคุมนักโทษการเมืองมากกวา ๒,๐๐๐ คน รวมถึงนางอองซาน ซูจี แกนนําเรียกรอง

ประชาธิปไตยและหัวหนาพรรคสันนิบาตประชาธิปไตย แหงชาติ (เอ็น แอล ดี) ที่เคยชนะการเลือกตั้งทั่วไป ในป ๒๕๓๓ อยางทวมทน นอกจากนี้ในการประกาศ รั บ สมั ค รตั ว แทนพรรคนั้ น ได มี ก ารตั้ ง เงื่ อ นไขแก พรรคการเมืองฝายคานเปนเชิงกีดกันตางๆ นานา เชนการกําหนดระยะเวลาสงชื่อผูรับเลือกตั้ง โดยให เวลาเพียง ๑๐ วัน รวมถึงการกําหนดใหตองจาย คาสมัครรับเลือกตั้งคนละ ๕๐๐ ดอลลารสหรัฐฯ ซึ่ง ถือไดวาเปนจํานวนเงินที่สูงมากสําหรับชาวพมาที่มี รายไดวันละไมถึง ๑ ดอลลา รสหรัฐฯ รวมถึง การ บั ง คั บ ให แ ต ล ะพรรคต อ งส ง ผู ส มั ค รเข า รั บ การ เลือกตั้งอยางนอยไมต่ํากวา ๕ คน การเลือกตั้งพมา ครั้งนี้ ไดรับการวิพากษวิจารณอยางกวางขวางวา เปนการเปลี่ยนรูปแบบการปกครองแบบเผด็จการ ทหารเปนเผด็จการพลเรือนเทานั้น เนื่องจาก กอนหนา การเลื อ กตั้ ง มี ค ณะรั ฐ มนตรี จํ า นวน ๒๖ คน ได ลาออกจากตําแหนงเพื่อลงรับสมัครในนามพรรค สหภาพเอกภาพและการพัฒนา (ยู เอส ดี พี) ซึ่ง พรรคดังกลาวเปนพรรคที่รัฐบาลใหการสนับสนุน และพรรคเอกภาพแหงชาติ (เอ็น ยู พี) ที่สืบสายมา จากพรรคเดิม ของนายพล เนวิน อดี ตผู นํ า พม า ที่ ลวงลับไปแลว โดยทั้งสองพรรคนี้ไดสงผูสมัครลง แขงขันเลือกตั้งรวมกันเกือบ ๒ ใน ๓ ของผูสมัคร ทั้งหมด พรอมกับมีขาวไมเปดเผยวา พลเอกอาวุโส ตันฉวย พรอมจะสวมหัวโขนใหมในฐานะประธานาธิบดี อยางไรก็ตามทางรัฐบาลไดปฏิเสธขาวดังกลาว แต ประเด็นนี้ยังคงเปนที่จับตาอยูตอไป ดานรัฐธรรมนูญฉบับป ๒๕๕๓ ของพมาได เขียนวางกรอบโครงสรางการบริหารประเทศพมา


ไววา จะมีประธานาธิบดีเปนผูบริหารประเทศสูงสุด และมี ค ณะรั ฐ บาลสมาชิ ก สภาแห ง ชาติ และ สภาประชาชน ซึ่งแตละสภาจะมีโควตาจากตัวแทน ทหารคิดเปนรอยละ ๒๕ ตามที่กลาวแลว สําหรับ ในสวนของอํานาจการแตงตั้งคณะรัฐมนตรี ประจํา กระทรวงสําคัญๆ เชน กลาโหม มหาดไทย เปนอํานาจ ของผูบัญชาการทหารสูงสุด ซึ่งปจจุบันเปนตําแหนง ของ พลเอกอาวุโส ตันฉวย

พลเอกอาวุโส ตันฉวย

นอกจากนี้มีการระบุคุณสมบัติของผูที่จะ ดํารงตําแหนงประธานาธิบดีวาจะตองมีความรูเกี่ยวกับ กิ จการทหารเป นอย างดี พร อมระบุ ว าผู บั ญชาการ ทหารสูงสุด สามารถดํารงตําแหนงทางการเมืองได ขณะเดียวกันรัฐสภาไมสามารถตรวจสอบกิจการ ทหารได ไมวาจะเปนเรื่องดานงบประมาณหรือการ บังคับใชกฎหมายตอกําลังพล ใหอํานาจกองทั พ สามารถประกาศภาวะฉุกเฉินไดเมื่อเห็นสมควร และ หากมีการประกาศใชภาวะฉุกเฉิน อํานาจบริหาร นิติบัญญัติ และตุลาการ จะถูกถายโอนอยูภายใต ธรรม

อํา นาจของกองทัพทัน ที และที่สํา คัญมีก ารเขี ย น รัฐธรรมนูญกําหนดวา “การแกไขรัฐธรรมนูญ จะตอง ไดเสียงจากสภาอยางนอยรอยละ ๗๕” เพื่อเปดโอกาส ในการแก ไ ขรั ฐ ธรรมนู ญ ที่ ใ ห อํ า นาจแก รั ฐ บาล ชุดปจจุบันในการรักษาอํานาจการบริหารประเทศ หลังจากการเลือกตั้ง บรรดาพรรคการเมืองฝายคาน ตลอดชนกลุมนอยตาง ๆ ของพมาไดพากันรองเรียน ถึงเรื่องไมชอบมาพากล โดยกลาวหารัฐบาลและ พรรคการเมื อ งตั ว แทนรั ฐ บาลโดยเฉพาะพรรค ยู เอส ดี พี วา ฉอฉลขมขูและคุกคามโดยที่คณะกรรมการ การเลือกตั้งของพมามิไดดําเนินมาตรการแตอยางใด ด า นพรรคประชาธิ ป ไตยพม า กั บ พรรค พลังประชาธิปไตยแหงชาติ (เอ็น อี เอฟ) ซึ่งจะเปน พรรคฝายคานไดกลาวหาพรรค ยู เอส ดี พี วา ทําการ ขมขูใหประชาชนไปเลือกตั้งลวงหนา และไดยื่นเรื่อง ไปยั ง คณะกรรมการเลื อ กตั้ ง แล ว ขณะเดี ย วกั น องคกรสิทธิมนุษยชนชาวชิน ไดเปดเผยวาที่รัฐชิน ดานตะวันตกของพมา มีคูหาเลือกตั้ง ๑ แหง ตั้งอยู บริ เ วณด า นตรวจของทหาร จึ ง ทํ า ใหป ระชาชนที่ เดินทางไปเลือกตั้งลงคะแนนไมมีความเปนอิสระ เนื่องจากอยูในสายตาของทหารตลอดเวลา สําหรับ ผลการเลือกตั้งครั้งนี้ยังไมไดประกาศออกมาอยาง เปนทางการแตมีขาวยืนยันวาพรรคสหภาพเอกภาพ และการพั ฒ นา (ยู เอส ดี พี ) ได ป ระกาศชั ย ชนะ อา งวา สามารถได รับ การเลือ กตั้ง ไดรับที่ นั่ง เกือบ รอยละ ๘๐ "" (อานตอฉบับหนา)


Pharoah

การศึกษามีบทบาทสําคัญตอการพัฒนา ประเทศ เพราะการศึกษาเปนกลไกสําคัญในการ พัฒนาคนในชาติใหกลายเปนทรัพยากรที่มีคุณคา

ที่เรียกวาทรัพยากรมนุษย (Human Resource) และทรัพยากรมนุษยนี้เองที่เปนปจจัยสําคัญที่จะ นําพาประเทศใหกาวไปสูการพัฒนาในทุกดานตาม ความมุ ง หมายของเจตนารมณ บทบาทของ การศึ ก ษาในการพั ฒ นาทรั พ ยากรมนุ ษ ย จึ ง เป น บทบาทที่ มี ค วามสํ า คั ญ ยิ่ ง จนอาจกล า วได ว า การศึ ก ษากั บ การพั ฒ นาประเทศเป น ของคู กั น

เป น สิ่ ง ที่ ต อ งมี ค วบคู กั น เสมอ ซึ่ ง สอดคล อ งกั บ พระราชบั ญ ญั ติ ก ารศึ ก ษาแห ง ชาติ พุ ท ธศั ก ราช ๒๕๔๒ ความวา “การศึกษา คือ กระบวนการเรียนรู เพื่อความเจริญงอกงามของบุคคลและ สังคม โดยการถายทอดความรู การฝก อบรม การสื บ สานทางวั ฒ นธรรม การ สรางสรรคจรรโลงความเจริญกาวหนา ทางวิชาการ การสรางองคความรูอันเกิด จากการจั ด สภาพแวดล อ ม สั ง คม การเรียนรูและปจจัยเกื้อหนุนใหบุคคล เ รี ย น รู อ ย า ง ต อ เ นื่ อ ง ต ล อ ด ชี วิ ต ” จากข อ ความดั ง กล า วทํ า ให เ ห็ น ถึ ง ความสําคัญของการศึกษาในมิติตาง ๆ ดังนี้ ¾ บทบาทตอเศรษฐกิจ : การศึกษาเปน เครื่องมือในการพัฒนากําลังคนเพื่อตอบสนองตอ ระบบเศรษฐกิ จ เช น ประเทศไทยเป น ประเทศ เกษตรกรรม ดั ง นั้ น การศึ ก ษาพั ฒ นาองค ค วามรู เพื่อพัฒนาภาคเกษตรจะชวยเพิ่มมูลคาการผลิตที่ เอื้อตอระบบเศรษฐกิจโดยรวมของประเทศ การที่


ประชาชนผลิตขาวที่มีคุณภาพ สามารถสงออกได มากขึ้ น ย อ มส ง ผลให ร ายได ข องประเทศสู ง ขึ้ น ตามมาดวย ¾ บทบาทการศึ ก ษาต อ สั ง คม : การที่ สั ง คมจะมี ค วามเจริ ญ จะต อ งอาศั ย บุ ค คลที่ เปน สมาชิ กในสั งคมมีคุณธรรม มีจ ารี ตประเพณี เคารพสิทธิเสรีภาพซึ่งกันและกัน เคารพกฎหมาย บานเมือง สิ่งเหลานี้เปนหนาที่หลักของการศึกษา ที่ จ ะต อ งถ า ยทอดให กั บ สมาชิ ก ของสั ง คมยึ ด ถื อ และปฏิบัติตาม ดังเปาหมายของพระราชบัญญัติ การศึก ษาแห งชาติ พุทธศั กราช ๒๕๔๒ “การจัด การศึ ก ษาต อ งเป น ไปเพื่ อ พั ฒ นาคนไทยให เ ป น มนุ ษ ย ที่ ส มบู ร ณ ทั้ ง ร า งกาย จิ ต ใจ สติ ป ญ ญา ความรู คุณธรรม มีจริยธรรมและวัฒนธรรมในการ ดํ า รงชี วิ ต สามารถอยู ร ว มกั บ ผู อื่ น ได อ ย า งมี ความสุข” การศึกษายังมีบทบาทตอวัฒนธรรมในการ เปนเครื่องมือในการถายทอดวัฒนธรรมของสังคม อีกดวย พื้นที่ ๓ จังหวัดภาคใตของไทย ประกอบดวย ปตตานี ยะลา นราธิวาส เปนพื้นที่ ที่มีเอกลักษณ ทางวั ฒ นธรรมต า งจากภู มิ ภ าคอื่ น ของประเทศ มี ป ระชากรกว า ร อ ยละ ๘๐ เป น มุ ส ลิ ม ผู นั บ ถื อ ศาสนาอิ ส ลาม มี วิ ถี ชี วิ ต ที่ เ ป น เอกลั ก ษณ ข อง ภูมิภาค เปนวิถีชีวิต (Way of Life) ตามระบอบของ ศาสนาอิ ส ลาม และการศึ ก ษาก็ เ ป น สิ่ ง สํ า คั ญ ที่ มุสลิมทุกคนตองยึดถือ การศึกษาเปนหนึ่งในหลัก ศรั ท ธาของศาสนาอิ ส ลาม เพราะการศึ ก ษาเป น จุ ด เริ่ ม ต น ของการยอมรั บ พระเจ า ระบอบการ ดํา เนิ น ชี วิ ต แบบอิ ส ลามเน น การศึ ก ษามาก และ

ถื อ เป น หน า ที่ ข องมุ ส ลิ ม ทุ ก คนทั้ ง ชายและหญิ ง ที่จะตองแสวงหาความรู อิสลามถือวา การศึกษาคือรัศมี เปนแสงสวาง นํ า ไปสู พ ระผู เ ป น เจ า เส น ทางสู พ ระผู เ ป น เจ า คือ การเรียนรู (Knowledge) การศรัทธา (Faith) การปฏิบัติ (Practice) สิ่งที่สําคัญที่ตองศึกษาของ มุสลิม คือ ศาสนาของอัลลอฮฺ จุดเดนประการหนึ่ง ของศาสนาอิสลาม คือ การแปลงศาสนาเปนแนวทาง ปฏิบัติ เปนแนวทางที่มุสลิมจะตองปฏิบัติตามดวย ความศรัทธาในพระผูเปนเจา จึงเปนแรงผลักดันให ชาวมุสลิมตองศึกษาอัลกุรอานอยางลึกซึ้ง เพื่อการ เข า ใจลึ ก ซึ้ ง ในศาสนา ด ว ยความแนบแน น ทาง ศาสนา มุ ส ลิ ม ทุ ก คนจึ ง ต อ งศึ ก ษาศาสนาเป น ประถมบทแห ง การเรี ย นรู ด ว ยเหตุ ผ ลดั ง กล า ว ประชาชนใน ๓ จังหวัดภาคใตของไทย จึงสงเสริม การศึ ก ษาศาสนาให กั บ บุ ต รหลานของตนอย า ง เต็มกําลังความสามารถ การศึ ก ษาศาสนาของเยาวชนมุ ส ลิ ม ใน ๓ จังหวัดภาคใต เริ่มตั้งแตในวัยเยาวโดยผูปกครอง จะส ง บุ ต รหลานไปศึ ก ษาศาสนากั บ โต ะ อิ ห ม า ม ตามมัสยิดหรือกับโตะครู ที่เรียกวา ตาดีกา ผูศึกษา มีระดับประถมวัย สถานที่เรียนจะเปนสถานที่ชุมชน รวมกันสรางขึ้นใชเปนสถานที่สอนศาสนาสําหรับ บุตรหลาน หรือเปนการศึกษาตามมัสยิด ในระดับ ต อ มาก็ จ ะเป น การศึ ก ษาระดั บ มั ธ ยม ผู ป กครอง มักสงบุตรหลานเขาเรียนโรงเรียนสอนศาสนาหรือ ที่เรียกวา ปอเนาะ ซึ่งจะมีทั้งแบบดั้งเดิม คือ มีการ เรียนการสอนเฉพาะวิชาศาสนาเทานั้น และ ปอเนาะ แบบบูรณาการจะมีเรียนการเรียนการสอนศาสนา


ควบคูไปกับการเรียนการสอนวิชาสามัญ เมื่อสําเร็จ การศึกษาในระดับนี้ถือวาสําเร็จการศึกษาในระดับ มั ธ ยมปลาย ก็ จ ะต อ งศึ ก ษาในระดั บ อุ ด มศึ ก ษา ตอไป ในอดี ตที่ ผ านมาประเทศไทยไม มี สถาบั น อุ ด มศึ ก ษาด า นศาสนาอิ ส ลามเพื่ อ รองรั บ ความ ต อ งการศึก ษาศาสนา ซึ่ ง เป น ความตอ งการของ ประชาชนในพื้ น ที่ จากผลการวิ จั ย เรื่ อ งความ ต อ งการที่ แ ท จ ริ ง ของประชาชนใน ๓ จั ง หวั ด ชายแดนภาคใต (ยะลา ปต ตานี และนราธิว าส) พบวาประชาชนตองการใหมีการใหเพิ่มมหาวิทยาลัย สมบูรณแบบสอนในทุกสาขาวิชา ซึ่งในปจจุบันมี วิ ท ยาลั ย อิ ส ลามยะลา เป น การดํ า เนิ น งานของ ภาคเอกชน และวิทยาลัยอิสลามศึกษา มหาวิทยาลัย สงขลานคริ น ทร วิ ท ยาเขตป ต ตานี เป น สถาบั น อุดมศึกษาทางดานศาสนา นอกจากในอดีตประเทศไทยขาดสถาบัน อุ ด มศึ ก ษาที่ ต อบสนองความต อ งการทางด า น ศาสนาแลว ทัศนคติของผูปกครองยังมีทัศนคติที่ดี ตอการศึกษาตางประเทศ พบวา “ซาอุดิอาระเบีย เปนประเทศที่ประสูติของทานศาสดา นาจะมีตํารา วิ ช าการมากเหมาะสํ า หรั บ การศึ ก ษา อี ยิ ป ต มี คาครองชีพถูก ภูมิอากาศดี มีสวัสดิการดี” จึงทําให ผูที่มีศรัทธาทางศาสนา มีความมุงหวังที่จะศึกษา ศาสนาอยางลึกซึ้ง เชน ภาษาอาหรับซึ่งเปนภาษา ในคัมภีรอัลกุรอาน วิชากฎหมายอิสลามฯ จําเปน ตองเดินทางไปศึกษายังตางประเทศที่เปนอิสลาม โดยเฉพาะประเทศแถบอาหรับ เชน ซาอุดิอาระเบีย ประเทศอียิปต แถบเอเชีย อาคเนย เช น ประเทศ

อินโดนีเ ซีย ประเทศมาเลเซีย เปนตน เพราะการ แสวงหาความรูโดยเฉพาะความรูทางศาสนาเปน สิ่งที่สําคัญของชาวมุสลิม

การไปศึกษาตอในประเทศอิสลาม การศึกษาถือเปนหลักศรัทธาที่สําคัญของ ศาสนาอิสลาม เนื่องดวยการศึกษาเปนจุดเริ่มตน ของการยอมรับพระเจา และการดําเนินชีวิตแบบ อิสลามเนนการศึกษาอยางยิ่ง อิสลามมีความเชื่อ วา การแสวงหาความรูเปนสิ่งประเสริฐและเปนหนาที่ ของทุกคน โดยเฉพาะมุสลิมทุกคนทั้งชายและหญิง จะต อ งแสวงหาความรู เ กี่ ย วกั บ ศาสนา เพราะ ศาสนาคือวิถีแหงการดําเนินชีวิต ที่ผานมานั้นไดมี นักศึกษาไทยมุสลิมไปศึกษาตอตางประเทศไมวา จะเปนประเทศอาหรับหรือประเทศกลุมมุสลิมอยาง ตอเนื่อง อาจเนื่องจากปจจัยแวดลอมตางๆ มากมาย ซึ่งก็ขึ้นกับปจเจกบุคคล ยอมแตกตางกันไป สําหรับ ป จ จั ย ที่ มี อิ ท ธิ พ ลต อ การตั ด สิ น ใจไปศึ ก ษาต อ ตางประเทศของนักศึกษาไทยมุสลิม มี ๕ ประเด็น คือ ๑. คาใชจายถูกและมีทุนสนับสนุน : นักเรียน ไทยมุสลิมเมื่อสําเร็จการศึกษาระดับ ม.๖ ถาเปน สายสามัญ หรือสําเร็จการศึกษาดานศาสนา ชั้น ๑๐


หลายคนมุ ง ที่ จ ะศึ ก ษาต อ แต เ มื่ อ เปรี ย บเที ย บ คา ใชจาย ไมวาจะเปนคาเลาเรียน คา ที่พั ก หรือ ค า ใช จ า ยในชี วิ ต ประจํ า วั น ในเมื อ งไทยและ ต า งประเทศ จะพบว า ค า ใช จ า ยในต า งประเทศ โดยเฉพาะในประเทศอาหรับจะถูกกวาคาใชจาย ในเมืองไทยมาก และในประเทศอาหรับหรือกลุม ประเทศมุสลิม เชน อียิปต คูเวต ปากีสถาน นั้น จะมี ทุนสนับสนุนหรือเงินซะกาตเปนจํานวนมากมาย หากนั ก ศึ ก ษาคนใดที่ ยั ง ไม ไ ด รั บ ทุ น การศึ ก ษา ตั้ ง แต แ รก ก็ ส ามารถไปขอรั บ ทุ น สนั บ สนุ น หรื อ เงินซะกาตเพื่อเปนทุนการศึกษาไดดวย ผูที่ไดไปศึกษาตอยังตางประเทศ สวนใหญ ฐานะทางครอบครัวไมคอยดีจนถึงปานกลาง บิดา มารดาประกอบอาชีพทําสวนยาง คาขาย รับจาง ซึ่ง รายได ก็ คอ นขา งน อ ย ดั ง นั้ น การที่ นั ก เรี ย นจะ ศึ ก ษาต อ ในระดั บ ที่ สู ง ขึ้ น โดยเฉพาะในระดั บ ปริญญาตรี ปจจัยดานการเงินในประเด็นคาใชจาย ถูกและมีทุนสนับสนุนจึงมีอิทธิพลอยางมาก อีกทั้ง ในต า งประเทศก็ ยั ง มี ก องทุ น สนั บ สนุ น อยู เ ป น จํานวนมากดวย ๒. ตะวั น ออกกลางเป น ศู น ย ก ลางของ ศาสนาอิสลาม : นักเรียนไทยที่ไปศึกษาตอตางประเทศ มีแนวคิดวาตะวันออกกลางเปนดินแดนศักดิ์สิทธิ์ เปนตนกําเนิดของศาสนาอิสลาม มีสถานที่สําคัญ ทางศาสนา เปนแหลงที่มีความรูวิชาการ เปนแหลง อารยธรรมดานศาสนา นอกจากนี้ ยังตองการความ ลึกซึ้งดานภาษาอาหรับเพื่ออานอัลกุรอาน ๓. การไดเรียนรูวัฒนธรรมของชาวอาหรับ : เหตุ จู ง ใจอย า งหนึ่ ง ที่ ทํ า ให นั ก เรี ย นไทยต อ งการ

ไปศึ ก ษาที่ ต า งประเทศโดยเฉพาะประเทศใน ตะวันออกกลางก็คือ การไดไปอยูในสังคมบรรยากาศ แบบอิสลาม ไดไปพบปะพูดคุย อยูในสังคมมุสลิม ที่ พู ด ภาษาอาหรั บ เรี ย นรู ก ารใช ชี วิ ต ร ว มกั บ ชาว อาหรั บ ได ศึ ก ษาและแลกเปลี่ ย นความคิ ด เห็ น ซึ่ ง ช ว ยให ซึ ม ซั บ วั ฒ นธรรมของชาวอาหรั บ ได เปนอยางดี นอกจากนี้ ยังไดภาษาอาหรับ ภาษา อังกฤษดวย ๔. ความตองการของชุมชน : เนื่องจากใน ชุมชนนั้น ๆ มีผูรูทางดานอิสลามนอยมาก และผูที่ จบทางดานศาสนาจากตางประเทศก็มีนอยเชนกัน ทําใหเกิดแรงผลักดันและแรงสนับสนุนจากชุมชน ในการไปศึก ษาตอ ที่ต า งประเทศ และเมื่อ สํา เร็ จ การศึ ก ษากลั บ มาก็ จ ะมาเป น ผู รู ท างศาสนาของ ชุมชน ๕. ขอจํา กัดเกี่ยวกับสาขาวิชาที่เปดสอน ในเมืองไทย : เมืองไทยไมมีสาขาวิชาที่ตองการศึกษา จึงทําใหตองตัดสินใจไปเรียนที่ตางประเทศ บทสรุป การสร า งคนให มี ค วามรู ความสามารถ มี ทั ก ษะพื้ น ฐานที่ จํ า เป น มี ลั ก ษณะนิ สั ย จิ ต ใจที่ ดีงาม มีความพรอมที่จะตอสูเพื่อตนเองและสังคม มี ค วามพร อ มที่ จ ะประกอบการงานอาชี พ ได การศึกษาชวยใหคนเจริญงอกงาม ทั้งทางปญญา จิตใจ รางกาย และสังคม การศึกษาจึงเปนปจจัย ที่ ๕ ของชีวิต เปนปจจัยที่จะชวยแกปญหาทุก ๆ ดาน ของชีวิตและเปนปจจัยที่สําคัญที่สุดของชีวิตในโลก ที่มีกระแสความเปลี่ยนแปลงทางดานวิทยาศาสตร


และเทคโนโลยีอยางรวดเร็ว และสงผลกระทบใหวิถี ดํารงชีวิตตองเปลี่ยนแปลงอยางรวดเร็วอีกดวย จากการที่การศึกษามีบทบาทสําคัญตอการ พัฒนาประเทศในทุก มิติ ดัง นั้นการศึกษาจึงเป น นโยบายสําคัญที่รัฐบาลจะตองจัดการศึกษาใหกับ ประชาชนในชาติอย า งมีประสิ ท ธิภ าพและทั่ว ถึ ง ธรรมอางอิง :

และสอดคล อ งกั บ ความแตกต า งของแต ล ะพื้ น ที่ ด ว ย โดยเฉพาะการศึ ก ษาของคนมุ ส ลิ ม ในพื้ น ที่ ๓ จั ง หวั ด ภาคใต ข องไทย โดยการเพิ่ ม สถาบั น อุ ด มศึ ก ษาด า นศาสนาอิ ส ลามเพื่ อ รองรั บ ความ ต อ งการศึ ก ษาศาสนา ซึ่ ง เป น ความต อ งการของ ประชาชนในพื้นที่อยางแทจริง

- จรัญ มะลูลีม , กิติมา อมรทัต และพรพิมล ตรีโชติ, ๒๕๓๙. ไทยกับโลกมุสลิม ศึกษาเฉพาะกรณีชาวไทยมุสลิม. กรุงเทพ : สถาบันเอเชียศึกษา จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย. - อิบราเฮ็ม ณรงครักษาเขตและคณะ,๒๕๔๘. รายงานการวิจัยเรื่องความตองการที่แทจริงของประชาชนใน ๓ จังหวัดภาคใต (จังหวัดยะลา ปตตานี และนราธิวาส).ปตตานี : วิทยาลัยอิสลามศึกษา มหาวิทยาลัยสงขลานครินทรและ วิทยาลัยอิสลามยะลา.

แอนฟลด

สวั สดี ค รับ พี่น้ อ งชาวกองทัพ อากาศ เดื อนนี้ เ ป็น เดือนที่ สํ า คั ญ สํา หรั บ พวกเรา ชาวสีเทาทุกท่าน เพราะวันที่ ๙ เม.ย. ของทุกปีจะเป็นวันกองทัพอากาศ ดังนั้น กระผม ขอแนะนําเว็บไซต์ดี ๆ ที่พวกเราชาวกองทัพอากาศทุกท่านควรทราบ คือ เว็บไซต์ของ พิพิธภัณฑ์กองทัพอากาศ (http://www.rtafmuseum.com) ซึ่งในเว็บไซต์นี้ พวกเราจะทราบถึงประวัติของกองทัพอากาศ รวมไปถึงรูปภาพ และประวัติของเครื่องบิน รุ่นต่าง ๆ มากมาย ซึ่งบางภาพเป็นภาพที่หาดูได้ยาก อย่าลืมลองคลิกเข้าไปชมกันนะครับ.


สปท.

งานแสดงเทคโนโลยี การสัมมนา และการสร้างเครือข่าย สําหรับอุตสาหกรรมป้องกันประเทศและการรักษาความปลอดภัยแห่งเอเชีย (Defense & Security 2011) พลเอก กิตติพงษ เกษโกวิท ปลัดกระทรวงกลาโหมและประธานคณะกรรมการอํานวยการ ประสานงานงานแสดงเทคโนโลยี การสัมมนา และการสรางเครือขาย สําหรับอุตสาหกรรมปองกันประเทศ และการรักษาความปลอดภัยแหงเอเชีย (Defense & Security 2011) และมี พลอากาศตรี อนิรุทธ กิตติรัต รองเจากรมยุทธการ ผูแทนผูบัญชาการทหารสูงสุด พลเอก ดาวพงษ รัตนสุวรรณ เสนาธิการทหารบก ผูแทนผูบัญชาการทหารบก พลเรื อโท ทวี วุฒิ พงศ พิ พั ฒน ผู ช ว ยเสนาธิ ก ารทหารเรือ ฝา ยยุท ธการ ผูแ ทนผู บัญ ชาการ ทหารเรือ พลอากาศโท พลเทพ โหมดสุ ว รรณ ผู ช ว ยเสนาธิ ก ารทหารอากาศฝ า ยยุ ท ธการ ผู แ ทน ผูบัญชาการทหารอากาศ ใหเกียรติเปนประธานเปดตัวงาน Defense & Security 2011 งานแสดงเทคโนโลยี การสัมมนา และการสรางเครือขาย สําหรับอุตสาหกรรมปองกันประเทศและการรักษาความปลอดภัยแหงเอเชีย เมื่อ วันพฤหัสบดีที่ ๒๗ มกราคม พ.ศ.๒๕๕๔ ณ โรงแรม แลนดมารค กรุงเทพ


หัวขอของงานในครั้งนี้ คือ “BE PREPARED” โดยมีเอกอัครราชทูต ผูชวยทูตทหารทางดานทหารบก ทหารเรือ และทหารอากาศตลอดจนผูรวมแสดงในงานรวมในพิธีดังกลาว

พลเอก กิตติพงษ ไดกลาวในพิธีเปดวา “งาน Defense & Security 2011 เปนเวทีการจัดงานที่ ดีเยี่ยมงานหนึ่ง สําหรับการนํ าเสนอยุทโธปกรณ ด า นการป อ งกั น ประเทศ โดยเป น เวที ที่ ส ง เสริ ม ความเชื่ อ มโยงและเครื อ ข า ยระหว า งบุ ค ลากร ผูผลิต ผูเชี่ยวชาญและนักวิชาการ รวมทั้ง ผูแทน กระทรวงกลาโหมและหนวยงานดานความมั่นคง ของประเทศตา งๆ ผ า นรู ป แบบของการจั ด แสดง สิ น ค า การสั ม มนา และกิ จ กรรมเพื่ อ สร า ง สัมพันธไมตรี และทานยังไดเชิญชวนผูประกอบการ ดานอุตสาหกรรมปองกันประเทศและอุปกรณรักษา ความปลอดภั ย ทั้ ง ในและต า งประเทศ รวมถึ ง หนวยงานที่เกี่ยวของเขารวมงาน Defense & Security 2011 ในเดือนพฤศจิกายนนี้”

DEFENSE & SECURITY 2011 งานแสดงอาวุ ธ ยุ ท โธปกรณ ท างทหารและ ความมั่นคงภายในประเทศ-ประตูสูโอกาสทางธุรกิจในภูมิภาคเอเชียแปซิฟก ซึ่งจะจัดระหวาง วันที่ ๒ - ๕ พฤศจิกายน พ.ศ.๒๕๕๔ ที่ศูนยนิทรรศการและการประชุมอิมแพ็ค เมืองทองธานี ข้อมูลเพิ่มเติมที่ www.asiandefense.com และ info@asiandefense.com


อ.วารุณี

รายชื่อผูโชคดี ๓ รางวัล ดังนี้ - น.อ.อาภัสร เพชรผุด - น.อ.สุชิน ผองจิตต - น.ท.หญิง แสงจันทร นาโลม

โทร. ๒ – ๗๓๑๗ โทร. ๒ – ๖๗๒๒ โทร. ๒ - ๒๙๔๑

กรุณาติดตอรับรางวัลๆ ละ ๓๐๐ บาท จาก สํานักงานหนังสือขาวทหารอากาศ ภายใน พ.ค.๕๔ โทร.๒ - ๔๒๔๑


พล.อ.อ.อิทธพร ศุภวงศ‹ ผบ.ทอ. ใหˆการตˆอนรับนักบินและ เครื่องบิน Gripen 39 C/D ของ ทอ. ตามโครงการจัดซื้อระยะที่ ๑ จำนวน ๖ เครื่อง เดินทางถึงประเทศไทย ณ ฝูงบิน ๗๐๑ บน.๗ จ.สุราษฎร‹ธานี

พล.อ.อ.อิทธพร ศุภวงศ‹ ผบ.ทอ. เป็นประธานในพิธีส‡งหน‡วยบิน ปฏิบัติการฝนหลวงกองทัพอากาศ ประจำปี ๒๕๕๔ ณ ฝูงบิน ๖๐๑ บน.๖ ดอนเมือง

พล.อ.อ.ศรีเชาวน‹ จันทร‹เรือง ผช.ผบ.ทอ. เป็นประธานในพิธีเปิด หลักสูตรพัฒนาสัมพันธ‹ระดับผูˆบริหาร ทอ. รุ‡นที่ ๖ ณ หˆองประชุม บน.๖ (อาคารหอประชุมธูปะเตมีย‹)

พล.อ.อ.อิทธพร ศุภวงศ‹ ผบ.ทอ. ทำการบินเครื่องบิน แบบ ๑๘ ค (F-5F) จากดอนเมื อ ง ไป บน.๒๑ และเป็ น ประธานในพิ ธ ี เปิดปƒายอาคารอเนกประสงค‹ “ศิวิไล” ณ บน.๒๑ จ.อุบลราชธานี

พล.อ.อ.อิทธพร ศุภวงศ‹ ผบ.ทอ. เป็นประธานเปิดอาคารหอพัก นิสิตแพทย‹ รพ.ภูมิพลอดุลยเดช พอ. โดยมี พล.อ.ท.อมร แสงสุพรรณ จก.พอ., พล.อ.ต.ชูพันธ‹ ชาญสมร ผอ.รพ.ฯ พรˆอมนายทหาร ชั้นผูˆใหญ‚ใหˆการตˆอนรับ

พล.อ.ท.พลเทพ โหมดสุวรรณ ผช.เสธ.ทอ.ฝยก. หัวหนˆาคณะ ทำงานฝ่ายกองทัพอากาศไทย จัดประชุม Air Working Group Meeting ครั้งที่ ๘๐ ระหว‡าง ทอ.ไทย กับ ทอ.มาเลเซีย ณ โรงแรม Discovery Beach Hotel พัทยา อ.บางละมุง จ.ชลบุรี


พล.อ.อ.ปาร†ค จง ฮยอน ผบ.ทอ.กล.ต. และ น.อ.ศิริพงษ† สุภาพร ผชท.ทอ.ไทย/โซล ร‡ ว มในพิ ธ ี ร ะลึ ก ๖๐ ปี สงครามเกาหลี ที่พิพิธภัณฑ‹สงครามเกาหลี กรุงโซล สาธารณรัฐเกาหลี

พล.อ.ท.วุฒิชัย คชาชีวะ รอง เสธ.ทอ. พรˆอมคณะฯ ตรวจเยี่ยม การปฏิบัติงานช‡วยเหลือประชาชนของหน‡วยมิตรประชากองทัพ อากาศ และศิลปิน ดารา นักรˆอง นักแสดง นำถุงยังชีพ และขนม ไปแจกใหˆแก‡เด็กนักเรียน ณ ร.ร.บˆานท‡าดินแดง อ.สังขละบุรี จ.กาญจนบุรี

พล.อ.ท.สฤษดิ์พงษ‹ โกมุทานนท‹ ผบ.รร.นอ. เป็นประธานในงาน อาลัยดอน ๕๕ เพื่อแสดงความยินดีแก‡ นนอ.ชั้นที่ ๔ รุ‡นที่ ๕๕ ที่สำเร็จการศึกษาประจำปี ๒๕๕๓ ณ อาคารรณนภากาศ

รร.สธ.ทอ.ยศ.ทอ. โดย นทน.หลักสูตรเสนาธิการกิจ รุ‡นที่ ๕๕ ไดˆจัดงาน อภิปรายทางวิชาการ เรื่อง “บทบาทของกองทัพไทยในการรองรับการ เปลี่ยนแปลงไปสู‡ประชาคมการเมืองและความมั่นคงอาเซียน ๒๐๑๕” โดยมีวิทยากรร‡วมอภิปราย ๓ ท‡าน ไดˆแก‡ พล.อ.ภานุมาต สีวะรา ที่ปรึกษา สปท., คุณ อาชวิน วิชัยดิษฐ‹ รอง ผอ.สขช.ฝ่ายการต‡างประเทศ และ คุณ กวี จงกิจถาวร บก.อาวุโสและผูƒวิเคราะห‹ข‡าวเนชั่นและคมชัดลึก ณ หˆองบุษราคัม หอประชุมกองทัพอากาศ (๘๐ ปี)

พล.อ.ท.สฤษดิ์พงษ‹ โกมุทานนท‹ ผบ.รร.นอ. เป็นประธานในพิธี ตˆอนรับ นนอ.ชั้นปีที่ ๑ ใหม‡ รุ‡นที่ ๕๙ จำนวน ๗๑ คน และมอบธง ประจำกองพันที่ ๑ ใหˆแก‡ผูˆแทน นนอ. ณ ลานอเนกประสงค‹ รร.นอ.

พล.อ.ท.เมธา สังขวิจิตร จก.สพ.ทอ. เป็นประธานในพิธีปิด การแข‡งขันกีฬาภายใน สพ.ทอ. ประจำปี ๕๔ ณ สนามกีฬา ภายใน สพ.ทอ.


พล.อ.ท.ดิเรก พรหมประยูร จก.ยศ.ทอ.เป็นประธานในพิธีปิด การศึกษาหลักสูตรครูทหารชั้นสัญญาบัตร รุ‡นที่ ๔๑ ณ หˆอง บรรยาย รร.คท.ยศ.ทอ.

พล.อ.ต.ศิวเกียรติ์ ชเยมะ ผบ.รร.การบิน ใหˆการตˆอนรับ พ.อ.เชาว†โรจน‹ สอโส ผอ.กศ.รร.การบิน ทบ. นำศิษย‹การบิน รร.การบิน ทบ. ศูนย‹การบินทหารบก จ.ลพบุรี เยี่ยมชมกิจการ รร.การบิน จ.นครปฐม ณ หˆองประชุม กฝบ.

พล.อ.ต.ชนนนาถ เทพลิบ ผอ.ศกอ. เป็นประธานในพิธีเปิด การอบรม การปฏิบัติหนˆาที่ Mission Commander ณ หˆองประชุม ศกอ.

พล.อ.ต.อานนท‹ จารยะพันธุ‹ รอง ผบ.อย. ใหˆการตˆอนรับ พล.อ.ต.คเชนท‹ โสมะนันทน‹ ผอ.สธน.ทอ. พรˆอมคณะฯ ในโอกาสตรวจกิจการสายวิทยาการพระธรรมนูญ หน‡วย อย. ประจำปี ๕๔ ณ หˆองประชุมเจริญจรัมพร

พล.อ.ต.นุวัฒน‹ เกียรติพันธ‹ ผบ.ดม. เป็นประธานในพิธีเปิด การฝึกอบรมหลักสูตรสายวิทยาการเหล‡า สห. แบบการศึกษา ดˆวยตนเอง สำหรับ น.ประทวน รุ‡นที่ ๑ ณ หˆองประชุมรˆอยจราจร พัน.สห.ทอ. กรม สห.ทอ.สน.ผบ.ดม.

พล.อ.ต.สมพล พูนทวีธรรม จก.จร.ทอ. เดินทางตรวจการปฏิบัติ ราชการ บน.๒๓ โดยมี น.อ.ชาติ ดิถีเพ็ง เสธ.บน.๒๓ ใหˆการ ตˆอนรับ ณ บน.๒๓ จ.อุดรธานี


พล.อ.ต.ชินชาต บุญคง จก.สบ.ทอ.นำคณะกรรมการฝ่ายพิพิธภัณฑ‹ ในการจัดงานวันเด็กแห‡งชาติ ประจำปี ๕๔ ไปมอบกระเชƒาขอบคุณ สมาคมนักรบนิรนาม ๓๓๓ ที่ใหˆการสนับสนุนการจัดงานวันเด็กแห‡งชาติ ณ พิพิธภัณฑ‹ ทอ. โดยมี พล.อ.ประเสริฐ พรรคเจริญ เป็นผูˆแทนรับมอบ ณ สมาคมนักรบนิรนาม ๓๓๓

พล.อ.ต.อุทิศ ยิ้มแกˆว จก.ชย.ทอ.และคณะฯ ตรวจเยี่ยมสายวิทยาการ ช‚างโยธา บน.๒ ประจำปี ๕๔ โดยมี น.อ.เฉลิมวงษ‹ กีรานนท‹ ผบ.บน.๒ ใหˆการตˆอนรับ ณ บน.๒

พล.อ.ต.ธีระภาพ เสนะวงษ‹ ผอ.สวบ.ทอ. เป็นประธานในพิธี เปิดการศึกษาหลักสูตรการลำเลียงผูˆป่วยทางอากาศเบื้องตˆน รุ‡นที่ ๑ ณ หˆองบรรยาย ๑ สวบ.ทอ.

พล.อ.ต.บวรศักดิ์ ลับไพรี ผอ.สตน.ทอ. เป็นประธานในพิธี ปิดการศึกษา หลักสูตรนายทหารตรวจสอบภายใน รุ‡นที่ ๗ ณ หˆองประชุม สตน.ทอ.

พล.อ.ต.ศิริชัย ภัทรสุวรรณ จก.ขส.ทอ. เป็นประธานในพิธีเปิด หลักสูตรการฝึกอบรมทหารกองประจำการ สังกัด อย. เป็นพลขับรถ รุ‡นที่ ๓๐ ณ กวก.ขส.ทอ.

พล.อ.ต.สุจินต‹ แช‡มชˆอย รอง ปช.ทอ. และคณะฯ ตรวจเยี่ยม สายวิทยาการ บน.๔๖ โดยมี น.อ.ทศวรรณ รัตนแกˆวกาญจน‹ ผบ.บน.๔๖ ใหˆการตˆอนรับ ณ หˆองประชุมพิษณุโลกประชานารถ บก.บน.๔๖


พล.อ.ต.เจษฎา วิจารณ‹ ผอ.สพร.ทอ. ผูˆแทน ทอ. เป็นประธาน รับการติดตามประเมินผลจากผูˆแทนสำนักงาน ก.พ.ร. และบริษัท ที่ปรึกษาดˆานการประเมินผล (บริษัท ทริสคอร‹ปอเรชั่น จำกัด) ณ หˆองประชุม ฝสธ.๒

น.อ.ถาวรวัฒน‹ จันทนาคม รอง จก.ยก.ทอ. และ น.อ.โรเบิร‹ต พี โทซ ผอ.กองอำนวยการฝึกผสม ฯ ฝ่าย ทอ.สหรัฐอเมริกา ร‡วมในพิธีปิดการฝึกผสม BALANCE TEAK TORCH 11 ณ บริเวณ ลานจอดอากาศยาน บน.๒๓ จ.อุดรธานี

น.อ.สมโพธิ เงินกลม รอง จก.ทสส.ทอ. เป็นประธานเปิดการฝึกอบรม นายทหารรักษาความปลอดภัยระบบสารสนเทศกองทัพอากาศ(เร‡งรัด) เพื่อรองรับระเบียบ ทอ.ว‡าดˆวยการรักษาความปลอดภัยระบบสารสนเทศ กองทัพอากาศ พ.ศ.๒๕๕๒ และ พ.ร.บ.ว‡าดˆวยการกระทำความผิด เกี่ยวกับคอมพิวเตอร‹ ณ หˆองฝึกอบรม สอ.ทอ.

น.อ.ชวรัตน‹ มารุ‡งเรือง รอง จก.กพ.ทอ. พรˆอมคณะฯ ตรวจเยี่ยม ฝ่ายอำนวยการกำลังพล หน‡วย อย. ประจำปี ๕๔ โดยมี น.อ.วงศกร เปาโรหิตย‹ รอง เสธ.อย. ใหˆการตˆอนรับ ณ หˆองประชุมเจริญจรัมพร

น.อ.ชาติชาย รอดบุญพา รอง จก.กง.ทอ. พรˆอมคณะฯ ตรวจเยี่ยม สายวิทยาการการเงิน สน.ผบ.ดม. ประจำปี ๕๔ โดยมี น.อ.อนุรัตน‹ ปัญญาชนวัฒน‹ รอง ผบ.ดม. ใหˆการตˆอนรับ ณ หˆองประชุม สน.ผบ.ดม.

น.อ.สฤษดิ์พร สุนทรกิจ ผบ.บน.๗ เป็นประธานในพิธีประดับ เครื่องหมายแสดงความสามารถนักเหินเวหา ทอ.เป็นกิตติมศักดิ์ ใหˆแก‡ผูˆทำคุณประโยชน†ใหˆกับ ทอ. ณ หˆองประชุมยอดเตย พัน อย.บน.๗


น.อ.ประยูร ธรรมาธิวัฒน‹ ผบ.บน.๔๑ นำขˆาราชการชั้นสัญญาบัตร บน.๔๑ เขˆาร‡วมเป็นเกียรติและลงนามถวายพระพรพระบาทสมเด็จพระเจˆาอยู‡หัว บนผืนผˆาความยาว ๙๙๙ เมตร เพื่อแสดงถึงความจงรักภักดี และเทิดทูน สถาบันพระมหากษัตริย‹ ณ อาคารอำนวยการ ศาลากลาง จ.เชียงใหม‡

น.อ.ตากเพชร พินพันธุ‹ รอง ผบ.บน.๕ (๑) ไดˆจัดชุดบรรเทา สาธารณภัย บน.๕ ออกช‚วยเหลือประชาชนผูˆประสบภัยแลˆง แจกจ‡ายน้ำสะอาดเพื่ออุปโภค-บริโภค ใน ต.หˆวยยาง อ.ทับสะแก จ.ประจวบคีรีขันธ‹

น.อ.พิสิษฐ‹ ด‡านอนุพันธ‹ เสธ.บน.๒ เป็นหัวหนˆาคณะผูˆแทน ทอ. นำขˆาราชการไปวางพวงมาลาสักการะอนุสาวรีย†วีรชนชาวบˆาน บางระจัน ประจำปี ๕๔ ณ บริเวณอุทยานค‡ายบางระจัน ต.บางระจัน อ.ค‡ายบางระจัน จ.สิงห‹บุรี

กร.ทอ. นำเยาวชนจากสามจังหวัดชายแดนภาคใตˆที่เขˆาร‡วมโครงการ เยาวชนไทยใตˆฟƒาเดียวกัน รุ‡นที่ ๒/๕๔ ทัศนศึกษาสถานที่ท‡องเที่ยวในพื้นที่ จ.พระนครศรีอยุธยา เพื่อเรียนรูˆวัฒนธรรมทˆองถิ่น เพื่อก‡อใหˆเกิด ความรัก ความสามัคคี สรˆางความเขˆาใจการอยู‡ร‡วมกันอย‡างสันติสุข

น.อ.ประเสริฐ เรืองวิทย‹ รอง ผบ.ฝูงบิน ๒๐๖ พรˆอมขˆาราชการ ปจว. ร.ร.บˆานทดนˆอย ต.ผักขะ อ.วัฒนานคร จ.สระแกˆว

น.อ.อมฤต กนกแกˆว รอง ผบ.บน.๕๖ เป็นประธานในพิธีเปิด การศึกษาหลักสูตรโครงการฝึกวิชาชีพทหารกองประจำการ รุ‡นปี ๒๕๕๓ ผลัดที่ ๒ ณ หˆองประชุม พัน.อย.บน.๕๖






Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.