NisitNaksuksa Vol.44

Page 13

บทความ 13

พื้นที่สีเทาของกฎหมายลิขสิทธิ์ เรื่อง : สงฟาง จรุงกิจอนันต

ประเทศไทยนัน้ ไดทำความรูจ กั กับสิง่ ทีเ่ รียก วาอินเทอรเน็ตครัง้ แรกเมือ่ ป พ.ศ. 2535 นวัตกรรม นีเ้ ปนทีแ่ พรหลายอยางรวดเร็วพรอมกับการเติบโต ของวงการขอมูลขาวสาร อาจเรียกไดวาเปนการ เติบโตทีร่ วดเร็วเกินไปก็ไดกระมัง จึงทำใหการติด ตอแตละครั้งบนอินเทอรเน็ตนั้นฉาบฉวย ตัวตน ของผูรับและผูสงขอมูลบนอินเทอรเน็ตขาดความ ชัดเจน สิ่งที่ตามมาคือบางครั้งคนบนอินเทอรเน็ต ขาดการใหเกียรติกนั ในเรือ่ งตางๆ รวมไปถึงความ เปนเจาของของผูส ง ขอมูล หรือทีเ่ รียกกันทัว่ ไปวา “ลิขสิทธิ์”

ลิขสิทธิ์ แตถามองในอีกแงหนึ่ง เปนไปไดหรือไม วาตัวกฎหมายลิขสิทธิ์ตางหากที่ตึงเกินไปสำหรับ โลกของอินเทอรเน็ตที่เต็มไปดวยความยืดหยุน ดวยธรรมชาติของอินเทอรเน็ต คนทุกผูท กุ เหลาสามารถทองไปไดอยางเสรี จึงทำใหทุกเนื้อ หาที่เขียนอยูบนอินเทอรเน็ตนั้นถูกเผยแพร และ ถูกปกปองตามกฎหมายลิขสิทธิ์ไปในตัว ซึ่งบาง ครั้งจุดประสงคของผูเขียนก็มิไดเปนเชนนั้น บาง ครัง้ ผูเ ขียนก็ไมไดตอ งการใหผลงานของตัวเองถูก กฎหมายลิขสิทธิ์ควบคุม นายพิชัย พืชมงคล กรรมการผูจัดการ บริษัท ธรรมนิติ จำกัด ชี้แจงปญหาที่เกิดจาก กฎหมายไรทางเลือก กฎหมายลิขสิทธิ์วา “การที่กฎหมายกำหนดให “ผมวาคนเคาไมคอยคิดอะไร ยิ่งคนไทยก็ ดีฟอลต (Default) เปนกอปปไ รต (Copyright) ซึง่ ไมคอยใหความสำคัญกับการเคารพลิขสิทธิ์อะไร งานทีส่ รางมาก็จะถูกสงวนไวโดยอัตโนมัติ ผูเ ขียน

การละเมิดลิขสิทธิ์เปนเรื่องไมดี แตในขณะ เดียวกันมันก็สะทอนอะไรบางอยางในพฤติกรรม คนที่ไปละเมิดลิขสิทธิ์ ทำไมถึงซื้อเทปผีเพลง แกรมมี่ ก็เพราะมันมีที่มาที่ไปแบบนี้

พวกนี้นัก จะเห็นวาพวกภาพที่เอาไวใหโหลดฟรี ในกระปุก (http://www.kapook.com) หรืออิโมติคอน (Emoticon) ก็มกี ารเอาวัตถุดบิ จากงานทีม่ ลี ขิ สิทธิ์ ไปใชเยอะแยะ อยางเคยมีกรณีของ “ไอแอนนนนน” (Iannnnn คือชื่อฟอนทบนเว็บไซต http://www. f0nt.com) ที่เปนคนทำฟอนทกระปุก ก็เอาฟอนท ไปใชโดยที่ไมไดบอก ซึ่งจริงๆ มันผิด มันไมควร” นายชิตพงษ กิตตินรเดช ทีป่ รึกษาแผนงานไอซีที ของสำนักงานกองทุนการสรางเสริมสุขภาพ (สสส.) เลาใหฟงเมื่อถามถึงสถานการณลิขสิทธิ์ภายใน ประเทศไทย แตก็ไมใชทุกคนที่จงใจทำเรื่องเชนนี้ มีอยู หลายกรณีที่การละเมิดลิขสิทธิ์เกิดขึ้นดวยความ ไมรูหรือไมไดตั้งใจ อยางการอัพโหลดเพลงขึ้น บล็อกของตนเอง หรือการนำขอเขียนของคนอื่น ไปใชโดยไมไดรับอนุญาต ดูเผินๆ แลวเรื่องนี้อาจ เกิดขึ้นจากการที่คนละเลยถึงตัวตนของกฎหมาย

ก็มีทางเลือกคือสงวนไวอยางนี้ งานของเขาก็จะ เผยแพรไมไดถา วากันตามกฎหมาย เขาจึงไมรวู า ทีจ่ ริงแลวตัวเขายังมีทางเลือกมากกวานัน้ เคาอาจ จะวิงวอนใหคนอื่นเผยแพรก็ได โดยที่ขอสงวน สิทธิ์บางอยางไว” ครีเอทีฟ คอมมอนส ดวยความที่กฎหมายลิขสิทธิ์ไดตัดสินทุก อยางดวยคำวา “เผยแพร” กับ “ไมเผยแพร” “ถูก” กับ “ผิด” “ดำ” กับ “ขาว” ทำใหจุดประสงคสีเทา ของผูใชบางคนนั้นถูกกลืนหายไป การแยกแยะ ระหวางเนื้อหาที่นำไปใชไดกับนำไปใชไมไดจึง เปนไปอยางยากลำบาก เพื่อแกไขปญหาในขอนี้ ในป พ.ศ. 2544 องคกรที่มีชื่อวาครีเอทีฟ คอมมอนส (Creative Commons) จึงไดกอตั้งขึ้น โดย มีจดุ ประสงคในการเพิม่ ขอบเขตการแบงปนขอมูล และสื่อตางๆ ภายใตกฎหมายลิขสิทธิ์

ครีเอทีฟ คอมมอนสนน้ั เปนเสมือนขอตกลง ที่ไดกำหนดขึ้นเพื่อใหผูใชแตละคนเขาใจซึ่งกัน และกันวา เนื้อหาเผยแพรออกมานั้นมีขอบเขต การนำไปดัดแปลงหรือสามารถนำไปใชตอ ไดมาก เพียงใด โดยเงื่อนไขนั้นเจาของผลงานสามารถ กำหนดได เ องผ า นทางเครื่ อ งหมายที่ ค รี เ อที ฟ คอมมอนสกำหนดเอาไวทั้ง 6 แบบ อาทิ สัญญา อนุญาตประเภทแสดงทีม่ า ไมใชเพือ่ การคา ไมแก ไขตนฉบับ (by-nc-nd), สัญญาอนุญาตประเภท แสดงที่มา และไมใชเพื่อการคา (by-nc), สัญญา อนุญาตประเภทแสดงทีม่ า (by) เปนตน (หาขอมูล ครีเอทีฟคอมมอนสเพิ่มเติมไดที่ http://cc.in.th) หากผลงานของเราไมวาจะเปนภาพ เสียง หรืองานเขียนก็ตาม ถูกปกปองไวดวยครีเอทีฟ คอมมอนสดังกลาว ไมวาใครก็สามารถเอางาน ของเราไปใชไดอยางอิสระ แตตองอยูภายใตขอ กำหนดที่เราตั้งเอาไว ซึ่งถาเกิดมีการละเมิดขอ ตกลงขึ้นมา เชนมีคนเอางานของเราไปเผยแพร ตอโดยไมอา งชือ่ ของเราในงาน หรือนำงานของเรา ขายเพื่อเอาเงิน เราก็สามารถใชครีเอทีฟ คอมมอนสยื่นฟองศาลไดโดยใชพื้นฐานของกฎหมาย ลิขสิทธิ์ ครีเอทีฟ คอมมอนสจึงเปนตัวชวยอยางดี สำหรับผูที่ตองการเผยแพรขอมูลของตัวเองทาม กลางความเขมงวดของกฎหมายลิขสิทธิ์ ผูรับเอง ก็สามารถใชขอมูลที่อยูภายใตขอกำหนดไดอยาง สบายใจ เพราะตราบใดที่ยังทำตามขอตกลง ก็ถือ วายังไมไดละเมิดลิขสิทธิ์ของใคร

คุณสฤณีไดยกตัวอยางของผูท ต่ี อ งการสงวน ลิขสิทธิเ์ ต็มรูปแบบไวในกรณีเพลงของแกรมมี่ ซึง่ ปกติเธอจะใชวิธีแปลงเพลงเปนไฟลเอ็มพีสาม (MP3) ลงเครือ่ งคอมพิวเตอรเพือ่ ฟงจากโปรแกรม ไอทูนส (iTunes) และถายไฟลเขาไปในไอพอด (iPod) อีกที แตซีดีของแกรมมี่ (GMM Grammy PLC.) ที่เธอซื้อมาลาสุดนั้นไมสามารถทำเชนนั้น ได เพราะทางแกรมมี่มีการลงโปรแกรมปองกันไว ไมใหเครื่องคอมพิวเตอรสามารถอานไฟลที่เปน เพลงในซีดีได สุดทายก็ตองหันไปพึ่งแผนผีซีดี เถื่อน “จริงๆ แลวมันผิดกฎหมายผูบ ริโภค เพราะ เมื่อผูบริโภคซื้อซีดีมา เนื้อหาก็เปนสิทธิ์ของผู บริโภค จะเอาไปใชยังไงก็เปนเรื่องของผูบริโภค อยางงี้มันเปนการจำกัดสิทธิ์ของผูบริโภค” คุณ สฤณีชี้แจง “การละเมิดลิขสิทธิเ์ ปนเรือ่ งไมดี แตในขณะ เดียวกันมันก็สะทอนอะไรบางอยางในพฤติกรรม คนที่ไปละเมิดลิขสิทธิ์ ทำไมถึงซื้อเทปผีเพลง แกรมมี่ ก็เพราะมันมีทม่ี าทีไ่ ปแบบนี้ เพราะฉะนัน้ ผูผลิตที่มองไมเห็นพฤติกรรมที่เปลี่ยนไปเปลี่ยน มาเหลานี้แลวมัวแตนั่งกอดลิขสิทธิ์ตัวเอง ถึงที่สุด แลวมันก็จะไมถูกตอง” คุณสฤณีกลาวเพิ่มเติม แรกเริ่มเดิมที กฎหมายลิขสิทธิ์นั้นเกิดขึ้น เพราะวามีผูใหกับผูรับ ซึ่งผูรับก็จะชื่นชมและให เกียรติกับผูให ในขณะที่ผูใหก็พึงพอใจและยอม ใหผูรับนำผลงานของตัวเองไปใชไดตามขอตกลง ที่ตั้งเอาไว ซึ่งถามองในแงนี้ก็จะเห็นวากฎหมาย ลิขสิทธิ์ก็ไมไดตางอะไรครีเอทีฟ คอมมอนสเลย จะดวยความฉาบฉวยของอินเทอรเน็ตหรือจะเปน เพราะผลประโยชนใดๆ ก็ตามไดทำใหกฎหมาย ลิขสิทธิ์จากที่เคยเปนสีเทาหลายเฉดไดกลับกลาย เปนดำกับขาวไป ครีเอทีฟ คอมมอนสจึงเปนกาว แรกในการนำสีเทาที่เคยมีกลับมาเพื่อใหโลกของ ขอมูลขาวสารสามารถเดินหนาไปในทิศทางทีเ่ ปน ที่ยอมรับของทุกฝาย

ลิขสิทธิ์ที่ไมถูกแบงปน อยางไรก็ตาม ครีเอทีฟ คอมมอนสนั้นไม ไดมีขอบังคับหรือมีสวนชวยโดยตรงในการทำให คนละ-เลิกการละเมิดลิขสิทธิ์ สฤณี อาชวานันทกุล บล็อกเกอรประจำเว็บไซต http://www. fringer.org กลาววา ผูที่เหมาะกับการใชครีเอทีฟ คอมมอนสนั้นคือผูที่ตองการเผยแพรขอมูลของ ตัวเองอยูแลว เพื่อบอกวาตัวเองตองการเผยแพร ขอมูลแคไหน แตสำหรับผูที่ตองการจะสงวน ขอมูลภาพจาก ลิขสิทธิเ์ อาไวตง้ั แตแรกก็คงไมสนใจการใชครีเอทีฟ - http://blog.it.kmitl.ac.th/it51070008/files/2008/07/ คอมมอนส copyright.jpg


Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.