หนังสือพิมพ์ภาคใต้โฟกัส ฉบับ 793

Page 41

Çѹ·Õè 18 - 24 ¾ÄÉÀÒ¤Á 2556 เอกอัครราชทูตสาธารณรัฐอินโดนีเซียประจํา ประเทศไทยนําคณะเยี่ยมทาเรือกันตัง ดูลู ทางพัฒนาการคาการลงทุน เล็งเพิม่ สัมพันธ กลุม จังหวัดอันดามัน สตูล ตรัง และกระบี่ โดย เฉพาะความรวมมือกับองคกรปกครองสวน ทองถิ่น เพื่อเขาสูประชาคมอาเซียน Mr.Lutfi Rauf เอกอัครราชทูต สาธารณ รัฐ อินโดนีเซีย ประจําประเทศไทย พรอมคณะเดิน ทางมาจังหวัดตรัง เพื่อพบนายธีระยุทธ เอี่ยม ตระกูล ผูวาราชการจังหวัดตรัง กอนเดินทางไป ยังอาคารคอมซิมบี้ สํานักงานเทศบาลเมือง กั น ตั ง เพื่ อ รั บ ฟ ง บรรยายสรุ ป สภาพทั่ ว ไป สถานการณเศรษฐกิจในพื้นที่จังหวัดตรัง โดยเฉพาะการสงออกของทาเรือกันตัง, ความคืบหนาการดําเนินการกอสรางทาเรือนา เกลือ ตําบลนาเกลือ อําเภอกันตัง เพื่อเชื่อม ความสัมพันธอนั ดีทางดานการคาการลงทุน การ สงออก โดยมีนายวิศษิ ฐ ตัง้ ปอง นายอําเภอเมือง กันตัง ,นายกิจ หลีกภัย นายกองคการบริหารสวน จังหวัดตรัง นายสรนนท จิโรจนมนตรี นายก เทศมนตรีเมืองกันตัง และหัวหนาสวนราชการ ใหการตอนรับและรวมฟงบรรยายสรุป

เอกอัครราชทูตฯ อินโดนีเซีย กลาววา การ เดินทางครัง้ นี้ มีกาํ หนดการเดินทางใน 3 จังหวัด ชายฝงอันดามัน กระบี่ ตรัง และสตูล เพื่อแลก เปลี่ยนความคิดดานการคา การสงออก เรื่อง ของแนวทางการพัฒนาเศรษฐกิจในพื้นที่ภาค ใตรว มกัน โดยเฉพาะอยางยิง่ ดานการลงทุน การ สงเสริมอาชีพการเกษตร เชน ยางพารา ปาลม นํ้ามัน และพลังงาน ทั้ ง นี้ ที่ ผ  า นมาความสั ม พั น ธ ร ะหว า ง ประเทศอิ น โดนี เ ซี ย กั บ ประเทศไทยมี ค วาม

µÃѧ

5B

ทูตฯอินโดนีเซียดูทา เรือกันตัง เล็งเพิ่มสัมพันธ‘อันดามัน’รับAEC

สัมพันธที่ดีตอกัน โดยมีการติดตอกันทั้งในดาน การคา ศิลปวัฒนธรรม โดยเฉพาะอยางยิ่งดาน เศรษฐกิจที่มีตัวเลขการลงทุนของภาคเอกชน ไทยในประเทศอินโดนีเซียเพิม่ สูงขึน้ เรือ่ ยๆ รวม ถึงดานการทองเที่ยว ที่ชาวอินโดนีเซียเดินทาง มาทองเที่ยวประเทศไทยกวา 1 แสนคน “ครัง้ นี้ เรายังตองการขยายการมีสว นรวม ไปยังหนวยงานทองถิ่นและพัฒนาทองถิ่นใน ภาคใตของประเทศไทย โดยเฉพาะอยางยิ่งใน พืน้ ทีข่ องจังหวัดชายฝง อันดามัน” Mr.Lutfi Rauf

กลาว และวา ความรวมมือภายหลังเขาสูประชาคม เศรษฐกิจอาเซียนในป 2015 ประเทศอินโดนีเซีย และจังหวัดตรัง จะไดรวมกันผลักดันและเชื่อม โยงความสัมพันธใหเปนรูปธรรมกันมากยิ่งขึ้น หลังจากนั้น เอกอัครราชทูตอินโดนีเซีย ประจําประเทศไทย พรอมคณะไดเดินทางไป เยี่ยมชมทาเรือกันตัง ซึ่งใชเปนทาเรือนําเขา สง-ออกสินคาระหวางประเทศ เชน ยางพารา นํา้ ยางผสมเสร็จ ไมยางพาราแปรรูป ปูนซีเมนต

ยิปซั่ม ถานหิน ปุยเคมี และสินคาอื่นๆ ในโอกาสดังกลาว Mr.Lutfi Rauf ไดกลาว แสดงความยินดีกับอําเภอกันตัง และจังหวัด ตรังที่ไดพัฒนาทาเรือมาโดยตลอด ซึง่ เปนเสน ทางสงออกสินคาทางนํา้ ทีม่ คี วามสําคัญระหวาง ประเทศอินโดนีเซียกับจังหวัดตรัง มาอยางชานาน และเปนการพัฒนาเพือ่ ตอนรับประชาคมอาเซียน AEC ดวย โดยจะนําขอมูลทีไ่ ดในครัง้่ นีไ้ ปศึกษา และเชือ่ วาจะมีสว นทําใหเกิดการเชือ่ มโยงระหวาง สองประเทศไดดยี งิ่ ขึน้

นายวินัย ทองรัตน ผูอํานวยการเขตพื้นที่การ ศึกษาประถมศึกษาตรัง เขต 1 กลาววาตามที่ รัฐมนตรีวา การกระทรวงศึกษาธิการ มีแนวคิดที่ จะยุบรวมโรงเรียนทีม่ เี ด็กนักเรียนไมถงึ เกณฑที่ กําหนด ทัง้ นีใ้ นเขตพืน้ ทีก่ ารศึกษาประถมศึกษา ตรัง เขต 1 มีโรงเรียนทั้งหมด 135 โรงเรียน ใน 5 อําเภอ คือ อําเภอเมืองตรัง อําเภอยานตาขาว อําเภอปะเหลียน อําเภอหาดสําราญ และอําเภอ นาโยง มีโรงเรียนที่มีนักเรียนตํ่ากวา 120 คน จํานวน 64 โรงเรียน และโรงเรียนที่มีนักเรียน ตํ่ากวา 60 คน จํานวน 19 โรงเรียน มีโรงเรียนที่ ขอรับความชวยเหลือที่อาจจะตองยุบรวม ใน4 อําเภอ 12 ตําบล เปนโรงเรียนศูนยการเรียนรู 16 โรงเรียน และอาจตองดําเนินยุบรวมโรงเรียนเปน ทีแ่ รกทีโ่ รงเรียนบานโคกมะมวง ต.นาทามเหนือ อ.เมือง จ.ตรัง ซึ่งมีนักเรียนในภาคเรียนที่จะถึง เพียง 9 คนและไมมนี กั เรียนชัน้ ประถมศึกษาปที่ 1 เลยซึง่ หากยุบแลวตองไปเรียนรวมกับโรงเรียน บานคลองเต็ง ผูอํานวยการเขตพื้นที่การศึกษาประถม ศึกษาตรัง เขต 1 กลาวอีกวา กอนหนานีไ้ ดมกี าร พูดคุยกับผูปกครองและครูผูสอนแลว โดยครูผู ของการเดินทาง และคาใชจาย อยางไรก็ตาม สอนสวนใหญยินดี เปดโอกาสใหนักเรียนไดไป เขาใจกันอีกครั้ง เพราะกอนหนานี้ทราบวามีบางสวนที่ เขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาตรัง เขต 1 ได เรียนกับโรงเรียนใกลเคียงที่มีความพรอม สวน ผูป กครองและนักเรียนตองมีการพูดคุยทําความ ไมประสงคไปเรียนที่อื่นเนื่องจากมีขอจํากัด มีการวางแนวทางไว 2 แนวทางเพื่อพูดคุยกับ

นักเรียนในชวงเปดเทอมที่จะถึงโดยแนวทาง แรกคือ การยุบรวมโรงเรียนโดยกําหนดไปเรียน ที่โรงเรียนที่เปนศูนยกลาง โดยระยะทางไมไกล จากโรงเรียนเดิม และดําเนินการจัดเตรียมรถ ตูเอาไวรองรับนักเรียนที่ตองเดินทางมาเรียนที่ โรงเรียนใหม และยืนยันในความปลอดภัยของ บุตรหลานที่เดินทางมาเรียน และอี ก แนวทางคื อ หากไม ยุ บ รวม โรงเรี ย นนั ก เรี ย นต อ งไปเรี ย นบางรายวิ ช าที่ โรงเรียนศูนยการเรียนรูในชวงเชา และชวงบาย กลับมาเรียนโรงเรียนเดิม เพือ่ ศึกษาเลาเรียนใน วิชาที่ตองลงมือปฏิบัติ ในสวนของบุคลากรครู นั้นหากมีการยุบรวมโรงเรียนครูจะโอนยายไป ที่โรงเรียนใหมทั้งหมด ทั้งนี้ทางกระทรวงศึกษาคาดหวังวาการ ดําเนินการดังกลาวจะสามารถทําใหเด็กนักเรียน ได มี ก ารแลกเปลี่ ย นประสบการณ ร ะหว า ง กั น มี คุ ณ ภาพ ท า ง ก า ร ศึ ก ษ า มากขึ้น ทั้งนี้ทาง สํ า นั ก ง า น เ ข ต พื้ น ที่ ก ารศึ ก ษา ประถมศึกษาตรัง เขต 1 ไดเตรียมของบประมาณจากกระทรวง ศึกษา ประมาณ 3,450,000.บาท เพื่อเปนการ ดําเนินงานแลว

ผอ.สพป.ตรังเขต1เตรียมยุบ1โรงมีเด็ก9คน ยืนยันตองมีการพูดคุยกับครูและผูปกครอง


Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.