รายงานสภาวะการศึกษาไทย ปี2547/2548

Page 23

ดังนั้นสถิตินักเรียนชั้นประถมศึกษาน่าจะสูงเกินความเป็นจริง และเป็นไปได้ว่า สถิตนิ กั เรียนระดับอืน่ อาจจะสูงเกินความเป็นจริงด้วย เพราะเคยมีรฐั มนตรีชว่ ยศึกษาธิการ แถลง ในเดือนสิงหาคม พ.ศ. 2546 ว่า จำนวนนักเรียนจากรายชื่อที่หน่วยงานต่าง ๆ ส่งให้กระทรวงศึกษาธิการจำนวน 9.3 ล้านคนนั้นมีการนับซ้ำกันถึง 3.5 แสนคน 5 เนือ่ งจาก ยังไม่มกี ารตรวจสอบความถูกต้องอย่างเป็นระบบ ผูเ้ ขียนรายงานจึงต้องใช้สถิติ เท่าที่มีไปก่อน ระดับมัธยมศึกษาต้น ตามสถิตมิ คี นได้เรียนเพิม่ ขึน้ ราวร้อยละ 82 ของประชากร วั ย เดี ย วกั น ในปี ก ารศึ ก ษา 2544 เป็ น ร้ อ ยละ 96.7 ของประชากรวั ย เดี ย วกั น ใน ปี ก ารศึ ก ษา 2548 เพราะมี ก ารขยายโอกาสโรงเรี ย นประถมศึ ก ษาให้ ส อนถึ ง ชั้นมัธยมศึกษาตอนต้นเพิ่มขึ้น โดยที่คุณภาพอาจยังไม่ค่อยไม่ดีนักเนื่องจากไม่มีการเพิ่ม และพัฒนาครู อาจารย์เท่าที่ควร ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย นักเรียนที่มีโอกาสได้รับการศึกษาชั้นมัธยมศึกษาตอนปลายในช่วงปีการศึกษา 2544 - 2548 มีประมาณร้อยละ 58 - 60 ของประชากรวัยเดียวกัน มีอัตราสูงกว่า ก่อนปฏิรปู การศึกษาประมาณร้อยละ 3 - 5 โดยในปีการศึกษา 2546 - 2547 อยูใ่ นราว ร้อยละ 58 ของประชากรวัยเดียวกันส่วนปีการศึกษา 2548 อยู่ที่ร้อยละ 60.7 ของ ประชากรวัยเดียวกัน (ดูตารางที่ 1) ปี ก ารศึ ก ษา 2548 นั ก เรี ย นส่ ว นใหญ่ ค ื อ ร้ อ ยละ 62 เรี ย นสายสามั ญ ศึ ก ษา ส่วนร้อยละ 38 เรียนสายอาชีวศึกษา ถ้าเทียบกับปีการศึกษา 2544 สัดส่วนของนักเรียน อาชีวศึกษาเพิ่มขึ้นเล็กน้อย ในปีการศึกษา 2548 มีประชากรวัย 15 - 17 ปี ทีไ่ ม่ได้เรียนในชัน้ มัธยมศึกษา ตอนปลาย (รวมอาชีวศึกษา) ซึง่ เป็นส่วนหนึง่ การศึกษาขัน้ พืน้ ฐาน 1,113,469 คน หรือราว ร้อยละ 39.3 ของประชากรวัยเดียวกัน 6

5 สิรกิ ร มณีรนิ ทร์, รัฐมนตรีชว่ ยกระทรวงศึกษาธิการ. กรุงเทพธุรกิจ 27 สิงหาคม 2546, หน้า 12. 6 ศูนย์วิเคราะห์สภาวะและแนวโน้มการศึกษา สำนักวิจัยและพัฒนาการศึกษา สำนักงานเลขาธิการการศึกษา ข้อมูลจำนวน นักเรียนระดับการศึกษาขัน้ พืน้ ฐานปีการศึกษา 2543 - 2548 รายงานสภาวะการศึกษาไทย ปี 2547/2548 ...รากเหง้าของปัญหาและแนวทางแก้ไข...

3


Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.