ผลงานและนวัตกรรม

Page 178

การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ สูก่ ารพัฒนาองค์กร สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 1

165

“เทคนิคการสอนภาษาไทยให้หลากหลายรสชาติ” กระทรวงศึก ษาธิ ก ารได้ ก าหนดการปฏิ รูปการศึ ก ษาในทศวรรษที่ ส อง (2552–2561) มุง่ เน้นให้นักเรียนเป็นคนดี และมีความสุข สพฐ.ก็ได้กาหนดนโยบาย รองรั บการพั ฒ นาคุณ ภาพผู้เรี ยนมีจุ ด เน้นในด้า นให้ มีค วามรู้ ความสามารถ และทักษะในทุกช่วงวัย การพัฒนาคุณภาพการเรียนการสอนภาษไทยเป็นนโยบาย ของส านัก งานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึก ษาธิ การ ตาม พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2552 และแก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545 มาตรา 47 โดยให้มีการประเมินคุณภาพผู้เรียนทุกระดับชั้น นอกจากนี้ หลั ก สู ต รแกนกลางการศึ ก ษาขั้ น พื้ น ฐานมุ่ ง พั ฒ นาผู้ เ รี ย นให้ มี คุ ณ ภาพตาม มาตรฐานการเรียนรู้ซึ่งจะช่วยให้ผู้เรียนเกิดสมรรถนะสาคัญดังในสมรรถนะที่ 1 ความสามารถในการสื่อสาร และตามกลยุทธ์ที่ 1 พัฒนาคุณภาพและมาตรฐาน การศึกษาทุกระดับชั้นตามหลักสูตรและส่งเสริมความสามารถด้านเทคโนโลยีเพื่อ เป็นเครื่องมือในการเรียนรู้ และตามจุดเน้นข้อที่ 1 ผล สัมฤทธิ์ทางการเรียน 5 กลุ่ ม สาระวิชาหลัก เพิ่ม ขึ้นอย่า งน้อยร้ อ ยละ 5 ดั งนั้น จากเป้ า หมายดั ง กล่ า ว ข้างต้น จึงเป็นที่มาของการพัฒนาเทคนิคการสอนภาษาไทยให้หลากหลายรสชาติ ครัง้ นี้ ซึ่งมีวัตถุประสงค์ ได้แก่  เพื่ อ การจั ด กิ จ กรรมการเรี ย นรู้ ใ นกลุ่ ม สาระการเรี ย นรู้ ภ าษาไทยให้ หลากหลาย น่ า สนใจและเพื่ อ กระตุ้ น เร้ า ใจผู้ เ รี ย นให้ เ กิ ด การเรี ย นรู้ ที่ สนุกสนาน ควบคู่ไปกับการเรียนรู้ที่คงทน  เพื่อยกระดั บคุ ณภาพของนัก เรียนและผลสัมฤทธิ์ใ นกลุ่ม สาระการเรียนรู้ ภาษาไทย

แนวคิด หลักการ ทฤษฎีที่นามาใช้ในการพัฒนาเทคนิค การสอนภาษาไทยให้หลากหลายรสชาติ แนวคิ ด หลั ก การ ทฤษฎี ที่ น ามาใช้ ใ นการพั ฒ นาเทคนิ ค การสอน ภาษาไทยให้หลากหลายรสชาติจากการเข้ารับการอบรมเรื่อง“เทคนิคการสอน ภาษาไทยอย่างไรให้หลากหลายรสชาติ ” จากมหาวิทยาลัยราชภัฏกาญจนบุรี ทฤษฏีการสอนของ กาเย่ (Gangne) สถานการณ์ 9 ขั้นตอน ขั้นที่ 1. การกระตุ้นและดึงดูดความสนใจของผู้เรียน ขั้นที่ 2. แจ้งจุดมุ่งหมาย/วัตถุประสงค์แก่ผู้เรียน ขั้นที่ 3. สร้างสถานการณ์เพื่อดึงความรู้เดิม ขั้นที่ 4. เสนอบทเรียนเนื้อหาใหม่ ขั้นที่ 5. ชี้แนวทางการเรียนรู้ ขั้นที่ 6. การกระตุน้ ให้ผู้เรียนแสดงความสามารถและลงมือปฏิบัติ ขั้นที่ 7. การให้ขอ้ มูลย้อนกลับ เป็นการเสริมแรง ขั้นที่ 8. การประเมินผลการแสดงออกของผู้เรียน ขั้นที่ 9. สรุปและนาไปใช้ การพัฒนาคน พัฒนางาน และพัฒนาองค์กรที่ยั่งยืน

นางอารมย์ บุญเรืองรอด ครู โรงเรียนบ้านหนองสองตอน โทรศัพท์ 089-8307180 E-mail : aaromrom@hotmail.com


Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.