ผลงานและนวัตกรรม

Page 163

150

การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ สู่การพัฒนาองค์กร สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 1

8 กระบวนพัฒนา DUANGRAT MODEL

นางดวงรัตน์ สบายยิ่ง ครู โรงเรียนอนุบาลกาญจนบุรี โทรศัพท์ 081-3856367 E-mail : tukky23@gmailcom

8 กระบวนพัฒนา DUANGRAT MODEL ครั้งนี้ สอดคล้องกับเกณฑ์ ประเมินมาตรฐานการศึกษาขั้นพืน้ ฐาน มาตราฐานที่5 ผู้เรียนมีความรู้ และทักษะ ที่จาเป็นตามหลักสูตร ตัวบ่งชี้ที่ 5.3 สามารถสื่อความคิดผ่านการพูด เขียน หรือนาเสนอด้วยวิธีต่าง ๆ มาตรฐานที่ 6 ผู้เรียนมีทักษะในการแสวงหาความรู้ ด้วยตัวเอง รักการเรียนรู้ และพัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่อง ตัวบ่งชี้ที่6.3 มีวิธีการ เรียนรู้ของตนเอง เรียนร่วมกับผู้อื่น ได้สนุกกับการเรียนรู้และชอบมาโรงเรียน สอดคล้องกับจุดเน้นของ สพป.ที่ 1 พัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาทุก ระดับ สอดคล้องกับกลยุทธ์โรงเรียน ที่ 1 พัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาในบทบาท ของโรงเรียนต้นแบบการใช้หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 หลักสูตรอาเซียนศึกษา หลักสูตรโรงเรียนมาตรฐานสากล ซึ่งมีวัตถุประสงค์ ได้แก่  เพื่อพัฒนาการจัดการสิ่งต่าง ๆ ที่มีผลต่อการส่งเสริมความสนใจ ความ เข้าใจ ความกระตือรือร้นในการเรียนของนักเรียน แนวคิด หลักการ ทฤษฎีที่นามาใช้ใน 8 กระบวนพัฒนา DUANGRAT MODEL พ.ร.บ. การศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 ที่แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545 หมวด 4 แนวการจัดการศึกษา ถือว่าผู้เรียนสาคัญที่สุด มาตรา 24 และมาตรา 30 กล่าวว่า การจัด กระบวนการเรี ยนรู้กาหนดให้ส ถานศึกษาต้องสนับสนุน ให้ผู้ สอน สามารถจัดบรรยากาศ ใช้ส่ือ ใช้การวิจัย เป็นส่วนหนึ่งของการส่งเสริมพัฒนาการ เพื่อ ให้ ผู้ เรี ย นเกิ ด การเรี ยนรู้ แ ละมีค วามรอบรู้ ผู้ ทางานเกี่ ย วข้ อ งกั บสถานศึก ษา สามารถน าผลการวิ จั ย มาใช้เ พื่อ น าไปสู่ ก ารปฏิ รู ปสถานศึ ก ษา การเรี ย นรู้ ูที่ มี ประสิทธิภาพและมีประสิทธิผลนั้นเกิดจากการเรียนรู้ทีใ่ ห้ผู้เรียนได้มี ส่วนร่วมใน กิจกรรมการเรียนรูู้ ได้คิดลงมือทากิจกรรมอย่างกระตือรือร้น หรือมีใจจดจ่ อผูกพัน กั บ สิ่ ง ที่ ท าด้ ว ยตนเอง เพราะฉะนั้ น ผ้ ูเ รี ย นจะต้ อ งได้ รั บ สิ่ ง กระต้ ุน ที่ ก่ อ ใหเกิ ด พฤติกรรมที่คาดหวัง ซึ่งส่ วนหนึ่งมาจากการดูแลสนับสนุนและการอานวยความ สะดวกของครูในการจัดกิจกรรม ให้ ผู้เรียนได้ สร้างความรู้ผ่านการปฏิสัมพันธกับ เพื่อน กับครูและสิ่งแวดล้ อม ดังนั้ น การจัดบรรยากาศที่เหมาะสม จะส่งผลต่อ ประสิทธิภาพการเรียนรู้ของผู้เรียน เพราะการเรียนท่ามกลางบรรยากาศที่มีความสุข ผู้ เ รี ย นจะเกิ ด ความรู้ สึ ก ผ่ อ นคลาย ไม กดดั น ท าให้ เ กิ ด การเรี ย นรู้ ไ ด้ ง่ า ยและมี ประสิทธิภาพ ปัญ หาที่ พ บได้ บ่อ ย ๆ ในชั้นเรี ย น คื อ การควบคุ ม ดู แ ลผู้ เรี ย นให้ อ ยู่ใ น ระเบียบวินัย พฤติกรรมที่ไม่พึงประสงค์ ความสนใจและตั้งใจเรียนของผู้เรียน ครูที่มี ประสบการณ์ดา้ นการสอนมานานที่มีความเชื่อมั่นในวิธีการควบคุมชั้นเรียน ใน

การพัฒนาคน พัฒนางาน และพัฒนาองค์กรที่ยั่งยืน


Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.