Proceeding of NEC 2012

Page 81

นอกจากจะนาหลักการเผยแพร่นวัตกรรมดังกล่าว มาใช้ในการเผยแพร่กระบวนการจัดการเรียนการสอนแนว ใหม่ให้ผู้สอนซึ่งเป็นผู้ออกแบบและจัดการการเรียนการสอน แล้ว สามารถนามาใช้กับผู้เรียนซึ่งเปรียบเสมือนลูกค้าที่เลือก เรียนด้วยกระบวนการดังกล่าว ซึ่งไม่เพียงแต่รูปแบบ การเรียนจะสะท้อนให้ผเู้ รียนเห็นประโยชน์ทอี่ าจเกิดขึ้นใน อนาคตเท่านั้น หากแต่ผู้เรียนยังมีเหตุผลอื่นๆ ในการเลือก เรียนด้วยรูปแบบการเรียนอีเลิรน์ นิง เช่น งานการเรียนใน การเรียนแบบออนไลน์ สื่อต่างๆ ในบทเรียน กลวิธีใน การจัดการเรียนการสอน การนาเสนอเนื้อหาในบทเรียน ลักษณะของตัวผูเ้ รียนเอง การบริหารการจัดการเรียนแบบ อีเลิร์นนิง และค่าใช้จ่ายในการเรียน เป็นต้น (Huddlestone และ Pike, 2007) อย่างไรก็ดีมุมมองดังกล่าวเป็นเพียง การเริ่มต้นในการตอบรับรูปแบบการเรียนแบบอีเลิร์นนิง ซึ่งปัจจุบันแพร่หลายทั้งในประเทศและต่างประเทศ หากแต่ สิ่งสาคัญคือกระบวนการในการดาเนินการให้รปู แบบ การเรียนที่เอื้อประโยชน์ในหลายด้านและตอบสนองผู้เรียน ได้อย่างหลากหลาย สามารถดารงอยู่ต่อไป โดยมีผเู้ รียนเลือก เรียนด้วยรูปแบบดังกล่าวอย่างต่อเนื่องเป็นสิ่งที่น่าสนใจและ ควรศึกษาเพื่อนาไปปรับใช้ในการจัดการเรียนแบบอีเลิร์นนิง ได้อย่างมีประสิทธิภาพต่อไป

แบบอีเลิรน์ นิง ทัง้ ด้านสถานที่ เวลา และการบริหารจัด การ ทั้งนี้ผบู้ ริหารสามารถเสริมนโยบายสนับสนุนผู้สอนที่ เลือกจัดการเรียนการสอนแบบอีเลิร์นนิง ด้วยการให้รางวัล หรือการอนุญาตให้การสอนด้วยรูปแบบดังกล่าวเป็นส่วน หนึ่งของผลงานที่สามารถรายงานของผู้สอนได้ เป็นต้น 3. การให้ผู้สอนจัดการเรียนการสอน แบบอีเลิรน์ นิง (Trailability) อย่างน้อย 1 รายวิชาในภาค การศึกษานั้นๆ เพื่อให้ผู้สอนได้สัมผัสการจัดการเรียน การสอนด้วยรูปแบบดังกล่าวด้วยตนเอง ซึ่งผู้สอนจะเห็น ประโยชน์จากการจัดการเรียนการสอนแบบอีเลิร์นนิงด้วย ตนเองอย่างแท้จริง ซึ่งจะสอดรับกับการชี้แจงรายละเอียด ของผูบ้ ริหารในขัน้ ต้น และอาจเกิดความคิดเห็นคล้อยตาม และเลือกจัดการเรียนการสอนแบบอีเลิร์นนิงดังกล่าว 4. การสนับสนุนด้านเทคโนโลยีเพื่อช่วย ในการบริหารจัดการการเรียนรู้ (Learning Management System: LMS) ในด้านผูผ้ ลิตบทเรียนจากเนื้อหาที่ผู้สอน กาหนดและเจ้าหน้าที่เทคนิคในการควบคุมดูแลเครือข่าย เพื่อช่วยอานวยความสะดวกในการสร้างบทเรียนและดูแล จัดการระบบการเรียนรู้ 5. การเผยแพร่ (Publication) เพื่อนาเสนอ แนวทางการจัดการเรียนการสอนที่เอื้อต่อการเรียนรู้ทุกที่ทุก เวลาให้เป็นที่รจู้ ัก เพื่อยกระดับสถาบันให้เป็นสากล สามารถ ตอบสนองความต้องการของผูเ้ รียนและอานวยความสะดวก ให้ผเู้ รียนและผู้สอน ด้านข้อจากัดในการเข้ามาในสถาบัน การจัดสรรเวลาในการเรียนการสอนให้เหมาะสม เป็นต้น

5.2) ข้อเสนอแนะในการนาผลการวิจัยไปใช้ แนวทางในการส่งเสริมการยอมรับการจัดการเรียน การสอนแบบอีเลิร์นนิงในสถาบันอุดมศึกษา ดังนี้ 1. การให้ความรู้เกี่ยวกับการเรียนแบบ อีเลิร์นนิง (Knowledge) ตามหลักการตัดสินใจยอมรับ นวัตกรรม (Rogers, 1986) โดยผู้บริหารมีหน้าที่ชี้แจง รายละเอียดในการจัดการเรียนการสอนแบบอีเลิร์นนิง รวมทั้งกาหนดนโยบายด้านการจัดการเรียนแบบอีเลิรน์ นิง ในด้านการฝึกอบรมผู้สอนในการดาเนินการด้านเทคโนโลยี สารสนเทศที่มคี วามสาคัญในการจัดการเรียนแบบอีเลิร์นนิง และการกาหนดนโยบายที่เอื้อประโยชน์ต่อผู้สอนที่จัด การเรียนแบบอีเลิร์นนิง อาทิ สถานที่สอน (Anywhere Anytime) เป็นต้น 2. การจูงใจผู้สอน (Persuasion) โดย การสะท้อนให้ผู้สอนเห็นประโยชน์ที่เกิดขึ้นจากการสอน

5.3 ข้อเสนอแนะสาหรับการวิจัยครั้งต่อไป 1. การศึกษาการตัดสินใจเลือกศึกษาด้วยรูปแบบ การเรียนแบบอีเลิร์นนิงอย่างต่อเนื่องในรายวิชาต่างๆ ใน สถาบัน 2. การศึกษาผลกระทบที่เกิดขึ้นจากการยอมรับ และนาการจัดการเรียนแบบอีเลิรน์ นิงไปใช้อย่างต่อเนื่อง

6) เอกสารอ้างอิง ปราวีณยา สุวรรณณัฐโชติ, เสมอกาญจน์ โสภณหิรัญรักษ์ และ ปิยพจน์ ตัณฑะผลิน. (2553). การเรียน การสอนแบบผสมผสาน: ข้อเสนอแนะ การส่งเสริมการยอมรับของผู้สอน และ 79


Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.