Proceeding of NEC 2012

Page 43

ฝึกอบรม เนื่องจาก MOODLE ช่วยสร้างประสบการณ์ เชิงบวกให้กับผู้เรียนเพิ่มมากขึ้น และเป็นการเพิ่มความ ตั้งใจในการเรี ยนรู้ สิ่ง ใหม่ ๆ อย่างมีป ระสิ ทธิ ภาพและ ประสิทธิผล (Wattakiecharoen and Nilsook, 2012)โดยมี ขั้ น ตอนการหาประสิ ท ธิ ภ าพประกอบด้ ว ย 1) การ ประเมิ น คุ ณ ภาพเนื้ อ หาส าหรั บ เว็ บ ฝึ ก อบรมจาก ผู้ เ ชี่ ย วชาญด้ า นความมั่ น คงปลอดภั ย ทางเทคโนโลยี สารสนเทศ 2) ทดลองใช้ข้ อ สอบสาหรั บเป็ น ข้อ สอบ ก่อนการฝึกอบรมและหลังการฝึกอบรมโดยนักศึกษาที่ ผ่ า นการฝึ ก อบรมด้ า นความมั่ น คงปลอดภั ย ทาง เทคโนโลยีสารสนเทศ 3) การประเมินเว็บฝึกอบรมด้าน ความมั่ น คงปลอดภั ย ทางเทคโนโลยี ส ารสนเทศโดย ผู้ เ ชี่ ย วชาญด้ า นการฝึ ก อบรมออนไลน์ และ 4) หา ประสิทธิภาพของเว็บฝึกอบรมด้านความมั่นคงปลอดภัย ทางเทคโนโลยีสารสนเทศจากผู้เข้ารับการฝึกอบรมตาม เกณฑ์ที่กาหนด

(กานดา พูนลาภทวี, 2539)

4) วิธีดาเนินการวิจัย การหาประสิทธิภาพของการฝึกอบรมออนไลน์ด้านความ มั่นคงปลอดภัยทางเทคโนโลยีสารสนเทศ ประกอบด้วย 4.1) ประเมินคุณภาพเนื้อหาด้วยแบบประเมินคุณภาพเนื้อหา สาหรับการฝึกอบรมออนไลน์ด้านความมั่นคงปลอดภัยทาง เทคโนโลยีสารสนเทศที่ผ่านการตรวจสอบความถูกต้องของ เนื้อหาจากผู้เชี่ยวชาญ จานวน 2 ท่าน ประกอบด้วยรายการ ประเมินความคิดเห็น จานวน 10 รายการ โดยผู้เชี่ยวชาญด้าน เทคโนโลยีสารสนเทศและความมั่นคงปลอดภัย จานวน 6 ท่าน เพื่อตรวจสอบความถูกต้อ งโดยพิจารณาระดั บความ คิดเห็นของแต่ละรายการ ดังนี้ ให้คะแนน +1 สาหรับรายการ ที่มีความเหมาะสม, ให้คะแนน 0 สาหรับรายการประเมินที่ ไม่แน่ใจ และให้คะแนน -1 สาหรับรายการที่แน่ใจว่าไม่ เหมาะสม 4.2) พัฒ นาแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ก่อนและหลังการ ฝึกอบรมให้ครอบคลุมวัตถุประสงค์และเนื้อหา เป็นข้อสอบ แบบเลือกตอบ 4 ตัวเลือก จานวน 79 ข้อ นาแบบทดสอบที่ สร้างขึ้นให้ผู้เชี่ยวชาญ จานวน 2 ท่าน พิจารณาความถูกต้อง ความครอบคลุ ม และความเหมาะสมแล้ วน ามาปรั บ ปรุ ง แก้ไข นาแบบทดสอบไปทดสอบกับนักศึกษาที่เคยเรียนด้าน ความมั่ น คงปลอดภั ย ทางเทคโนโลยี ส ารสนเทศมาแล้ ว จานวน 76 คน นาผลการทดสอบมาวิเคราะห์เพื่อหาค่าความ ยากง่ า ย ค่ า อ านาจจ าแนก และค่ า ความเชื่ อ มั่ น ของ แบบทดสอบด้วยวิธีแบบคูเดอร์-ริชาดสัน (KR-20) คัดเลือก ข้อสอบที่ผ่านเกณฑ์จานวน 60 ข้อ 4.3) ประเมิน เว็บฝึ กอบรมด้านความมั่นคงปลอดภัยทาง เทคโนโลยี สารสนเทศโดยผู้ เ ชี่ ย วชาญด้ า นการฝึ ก อบรม ออนไลน์ จานวน 5 คน ด้ วยแบบประเมิ น การฝึ กอบรม ออนไลน์ ด้ า นความมั่ น คงปลอดภั ย ทางเทคโนโลยี สารสนเทศ ทั้งหมด 5 ตอน ประกอบด้วย การออกแบบเว็บ ฝึกอบรม จานวน 5 ข้ อ การจัด วางรูป แบบเว็บฝึ กอบรม จานวน 4 ข้อ ความเหมาะสมของเว็บฝึกอบรม จานวน 4 ข้อ การปฏิสัมพันธ์ของเว็บฝึกอบรม จานวน 2 ข้อ และการใช้ งานเว็บฝึกอบรม จานวน 5 ข้อ รวมทั้งหมด 20 ข้อ โดยเป็น แบบมาตรวัด 5 ระดับ กาหนดให้ 5 หมายถึง เหมาะสมมาก ที่สุด 4 หมายถึง เหมาะสมมาก 3 หมายถึง เหมาะสมปาน

2) วัตถุประสงค์ในการวิจัย เพื่ อ หาประสิ ท ธิ ภาพของการฝึ ก อบรมออนไลน์ ด้ า น ความมั่นคงปลอดภัยทางเทคโนโลยีสารสนเทศ

3) ขอบเขตการวิจัย กลุ่มตัวอย่างและประชากร ประชากรที่ ใ ช้ ใ นการหาประสิ ท ธิ ภ าพการฝึ ก อบรม ออนไลน์ ด้ า นความมั่ น คงปลอดภั ย ทางเทคโนโลยี สารสนเทศ ได้ แ ก่ นั ก ศึ ก ษาระดั บ ปริ ญ ญาตรี สาขา คอมพิวเตอร์ธุรกิจ คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัย ราชภั ฏ สวนดุ สิต ชั้ น ปี ที่ 4 ภาคเรี ย นที่ 1 ปี ก ารศึ ก ษา 2555 จานวน 193 คน กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการหาประสิทธิภาพการฝึกอบรม ออนไลน์ ด้ า นความมั่ น คงปลอดภั ย ทางเทคโนโลยี สารสนเทศ ได้ แ ก่ นั ก ศึ ก ษาระดั บ ปริ ญ ญาตรี สาขา คอมพิวเตอร์ธุรกิจ คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัย ราชภั ฏ สวนดุ สิต ชั้ น ปี ที่ 4 ภาคเรี ย นที่ 1 ปี ก ารศึ ก ษา 2555 จานวน 45 คน โดยวิธีการเลือกตัวอย่างแบบเจาะจง 33


Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.