Proceeding of NEC 2012

Page 211

อิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส์ การติ ด ต่ อ ใช้ เ ครื่ อ งคอมพิ ว เตอร์ ที่ อ ยู่ ระยะไกล การใช้กระดานข่าว การสนทนากับบุคคลหลายคน ในเวลาเดี ย วกั น การสนทนาโดยการโทรศั พ ท์ แ ละการ ประชุม ทางไกลบนเครือ ข่ ายคอมพิ วเตอร์ เป็น ต้ น และ สอดคล้องกับงานวิจัยของ พบรัก แย้มฉิม (2551 : บทคัดย่อ) ได้ ศึ ก ษาพฤติ ก รรมการใช้ เ ทคโนโลยี ส ารสนเทศ ของ นักศึกษาสถาบันราชภัฏสวนดุสิต มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา และเปรียบเทียบพฤติกรรมการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ของ นั ก ศึ ก ษาสถาบั น ราชภั ฎ สวนดุ สิ ต ผลการวิ จั ย พบว่ า สถานภาพของผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง กาลังศึกษาอยู่ในระดับปริญญาตรี ชั้นปีที่ 3 พฤติกรรมการใช้ เทคโนโลยีสารสนเทศของนักศึกษาในภาพรวมทั้ง 4 ด้าน อยู่ ในระดับปานกลาง โดยมีพฤติกรรมการใช้ระดับมากอันดับ แรกคือ ด้านประโยชน์ที่ได้รับ และด้านวัตถุประสงค์ในการ ใช้ และมีพฤติกรรมการใช้ระดับปานกลาง คือ ด้านเครื่องมือ ที่ใช้ และด้านระยะเวลาที่ใช้ 2. พฤติ ก รรมการเปิ ด รั บ ข้ อ มู ล ข่ า วสารบน เครือข่ายสังคมออนไลน์ ของนักศึกษา ปริญญาบัณฑิต คณะ ครุ ศ าสตร์ ศึ กษาศาสตร์ ในมหาวิ ท ยาลั ย ของรั ฐ พบว่ า มี พฤติ ก รรมการเปิ ด รั บ ข้ อ มู ล ข่ า วสารบนเครื อ ข่ า ยสั ง คม ออนไลน์ รู้ จั กเว็ บ ไซต์ เ ครื อ ข่ า ยสั ง คมออนไลน์ โ ดยการ ศึ ก ษาด้ ว ยตนเอง มี วั ต ถุ ป ระสงค์ ใ นการใช้ ง านเว็ บ ไซต์ เครือข่ายสังคมออนไลน์ เพื่อความบันเทิง ใช้งานเว็บไซต์ เครื อ ข่ า ยสั ง คมออนไลน์ ใ นด้ า นการสื่ อ สาร และใช้ ง าน เว็บไซต์เครือข่ายสังคมออนไลน์ในประเภทเผยแพร่ตัวตน (Identity Network) มีการใช้ประโยชน์ในแอฟพลิเคชั่นต่างๆ บนเครือข่ายสังคมออนไลน์ อยู่ในระดับมาก และพึงพอใจใน การใช้แอฟพลิเคชั่นต่างๆ บนเครือข่ายสังคมออนไลน์ อยู่ใน ระดับมาก ซึ่งรูปแบบการเปิดรับข้อมูลข่าวสารของนักศึกษา และข่าวสารต่างๆ ในปัจจุบัน สื่อเครือข่ายสังคมออนไลน์ ซึ่ง เป็ น สิ่ ง จ าเป็ น ที่ สามารถตอบสนองความต้ อ งการในด้ า น ข้ อ มู ล ข่ า วสารได้ ม ากที่ สุ ด ดั ง ที่ โ ดโนฮิ ว และ ทิ ป ตั น (Donohew and Tipton, 1976 อ้างถึงใน พรทิพย์ พัฒนา นุสรณ์ 2543 : 14) กล่าวว่า การลดความไม่รู้ที่เกี่ยวข้องกับ สิ่ ง แวดล้ อ มภายนอก (Extrinsic Uncertainty) เรี ย กว่ า ข่าวสารที่ใ ช้ป ระโยชน์ เป็ นเครื่ องมือ ช่วยในการตัด สิน ใจ ช่ ว ย เ พิ่ ม พู น ค ว า ม รู้ ค ว า ม คิ ด แ ล ะ แ ก้ ปั ญ ห า ต่ า ง ๆ (Instrumental Utilities) ในชีวิตประจาวัน ข่าวสารบางอย่าง

อาจจะให้ ป ระโยชน์ ทั้ ง การท าไปใช้ แ ละให้ ค วามบั น เทิ ง ขณะเดี ย วกัน และตรงกับ การศึ กษา ของ เชนและเฮมอน (Chen & Hemon, 1982 : 52-53 อ้างถึงใน ศรีหญิง ศรีคชา, 2544:21) กล่าวว่า ส่วนสาคัญยิ่งสาหรับการแสวงหาข่าวสาร ของบุคคล แหล่งของข่าวสาร ประเภทของแหล่งข่าวสารซึ่ง แบ่งไว้เป็น 3 กลุ่ม คือ 1) กลุ่มบุคคล ได้แก่ เพื่อน ญาติ หรือ บุคคลใกล้ชิด เป็นต้น ซึ่งจะเป็นข้อมูลที่เกิดขึ้นจากความคิด และประสบการณ์ของแต่ละปัจเจกบุคคล 2) กลุ่มสถาบั น ได้แก่ โรงเรียน ห้องสมุด ศาสนา บริษัท ห้างร้านในวงธุรกิจ หรือรัฐบาล และ 3) สื่อ ได้แก่ วิทยุ โทรทัศน์ หนั งสือพิมพ์ หรือรูปแบบสื่ออื่นๆ เป็นต้น สอดคล้องกับงานวิจัยของ เนติ มา กมลเลิศ (2549 : 81-82) ศึกษาปัจจัยที่ส่งผลต่อพฤติกรรม ที่ พึ ง ประสงค์ ใ นการใช้ อิ น เทอร์ เ น็ ต /ความภาคภู มิ ใ จใน ตนเอง/การรั บ รู้ เ กี่ ย วกั บ อิ น เทอร์ เ น็ ต /การสนั บ สนุ น ทาง สั ง คมจากครอบครั ว /การสนั บ สนุ น ทางสั ง คมจากเพื่ อ น ผลการวิ จั ย พบว่ า 1) พฤติ ก รรมที่ พึ ง ประสงค์ ใ นการใช้ อินเทอร์เน็ตอยู่ในระดับมาก ความภาคภูมิใจในตนเองอยู่ใน ระดับมาก การรับรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ตอยู่ในระดับมาก การ สนับสนุนทางสังคมจากครอบครัวอยู่ในระดับปานกลาง การ สนับสนุนทางสังคมจากเพื่อนอยู่ในระดับปานกลาง 3. ผลการวิเคราะห์เปรียบเทียบพฤติกรรมการใช้ เครือข่ายสังคมออนไลน์ จาแนกตามปัจจัยส่วนบุคคล และ พฤติกรรมการเปิดรับข้อมูลข่าวสาร ของนักศึกษาปริญญา บัณฑิต คณะครุศาสตร์ ศึกษาศาสตร์ ในมหาวิทยาลัยของรัฐ พบว่า นักศึกษาที่มีปัจจัยส่วนบุคคลแตกต่างกันมีพฤติกรรม การใช้เครือข่ายสังคมออนไลน์ และพฤติกรรมการเปิดรับ ข้อมูลข่าวสาร ไม่แตกต่างกัน โดยพิจารณาในรายละเอียด พบว่าสอดคล้อง เนติมา กมลเลิศ (2549 : 81-82) ศึกษาปัจจัย ที่ส่งผลต่อพฤติกรรมที่พึงประสงค์ในการใช้อินเทอร์เน็ต / ความภาคภูมิใจในตนเอง/การรับรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ ต/การ สนับสนุนทางสังคมจากครอบครัว/การสนับสนุนทางสังคม จากเพื่อน ผลการวิจัยพบว่า การเปรียบเทียบพฤติกรรมที่พึง ประสงค์ ใ นการใช้อิ นเทอร์ เน็ ตของนั กเรี ยนในเครื อคณะ เซนต์คาเบรียล เขตกรุงเทพมหานคร จาแนกตามชั้น ปี คะแนนเฉลี่ยสะสม อาชีพของผู้ปกครอง ระดับการศึกษาของ ผู้ปกครอง พบว่าไม่แตกต่างกัน

209


Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.