Proceeding of NEC 2012

Page 200

ปรับเปลี่ยนความรู้นี้จ ะเป็นกุญแจสาคัญของการสร้าง ความรู้ ยิ่งไปกว่านั้นการมีปฏิสัมพันธ์ของรูปแบบความรู้ ที่ เ ป็ น นั ย และความรู้ ที่ ชั ด แจ้ ง โดยผ่ า นกระบวนการ ปรับเปลี่ยนความรู้ทั้ง 4 ขั้นตอนนี้จะทาให้ความรู้มีการ ขับเคลื่อนไปสู่ระดับที่สูงขึ้น ส่วนการเรียนรู้ร่วมกันใน การปฏิบัติที่เรียกว่า Interactive learning ถือเป็นหัวใจ สาคัญของการจัดการความรู้เช่นกัน เพราะการทาให้เกิด การสร้างเครือข่ายระหว่างคนกับคน คนกับกลุ่มคน กลุ่ม คนกั บ กลุ่ ม คนจะเป็ น เป็ น การกระตุ้ น ให้ เ กิ ด การ แลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกัน การสร้างเวทีหรือกิจกรรมให้ สมาชิ ก ได้ พ บปะพู ด คุ ย เพื่ อ แลกเปลี่ ย นเรี ย นรู้ จ าก ประสบการณ์ที่แต่ละคนได้รับมา สมาชิกจะต้องมีความ ขยัน อดทนและพยายามแลกเปลี่ยนเรียนรู้ซึ่งกันโดยไม่ หวงความรู้ ผ่านกระบวนการจัดกิจกรรมที่หลากหลายซึ่ง จะทาให้เกิดสังคมแห่งภูมิปัญญาและการเรียนรู้มากขึ้น (ประพนธ์ ผาสุกยืด, 2547) การพั ฒ นารู ป แบบเครื อ ข่ า ยสั ง คมเชิ ง เสมื อ นเพื่ อ การ แลกเปลี่ยนเรียนรู้สาหรับการศึกษาพหุวัฒนธรรมขึ้นเพื่อ ช่วยในการจัดการเรียนการสอนในระดับอุดมศึกษาของ แต่สถาบันที่มีผู้เรียนที่มีความแตกต่างทางด้านวัฒนธรรม

โดยการนาทรัพยากรและจุดแข็งของแต่ละสถาบันมาช่วย เสริ มซึ่ งกันและกัน รวมไปถึ งเพื่ อพั ฒนาศั กยภาพด้ านการ เรียนรู้ การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ของผู้เรียนที่มีวัฒนธรรม วิถี ชี วิ ต และวิ ธีก ารเรี ย นที่ แ ตกต่ า งกั น รวมไปถึ ง การเรี ย นรู้ วัฒนธรรมของผู้เรียนซึ่งอยู่ต่างสถาบัน รวมไปถึงการพัฒนา องค์ความรู้ในด้านต่างๆ สร้างความเข้มแข็งให้สังคมอันจะ นาไปสู่การพัฒนาประเทศและเพื่อเตรียมความพร้อมในการ ที่จะก้าวสู่การเป็นประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนต่อไป

2) วัตถุประสงค์ของการวิจัย วัตถุประสงค์ทั่วไป เพื่ อ พั ฒ นารู ป แบบเครื อ ข่ า ยสั ง คมเชิ ง เสมื อ นเพื่ อ การ แลกเปลี่ยนเรียนรู้ สาหรับการศึกษาพหุวัฒนธรรม วัตถุประสงค์เฉพาะ 2.1) เพื่อ พัฒ นารูป แบบเครื อข่ ายสั งคมเชิง เสมือ นเพื่อ การ แลกเปลี่ยนเรียนรู้สาหรับการศึกษาพหุวัฒนธรรม 2.2) เพื่อประเมินรับรองรูปแบบเครือข่ายสังคมเชิงเสมือน เพื่อการแลกเปลี่ยนเรียนรู้สาหรับการศึกษาพหุวัฒนธรรม

เครือข่ายสังคมเชิงเสมือน (Virtual Community)

การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ (Knowledge Sharing)

(Kollock, 1996; Preece, 2000; ใจทิพย์ ณ สงขลา, 2550)

(Marquardt, 1996; Probst, et al,, 2000)

รู ป แบบในการติ ด ต่ อ สื่ อ สารซึ่ ง มี ก าร แบ่ ง ปั น ความคิ ด ทั ศ นคติ ผลงานหรื อ ผลลัพธ์บางประการ โดยที่บุคคลสามารถจะ พั ฒ นาความสั ม พั น ธ์ ร ะหว่ า งกั น ผ่ า นทาง ระบบออนไลน์ โดยมีแรงจูงใจ 4 ประการ คือ 1)ความต้องการในการที่จะได้รับความรู้ อื่นกลับมา 2) ความต้องการมีชื่อเสียง 3) ความรู้สึกภาคภูมิใจ และ 4) ความต้องการ ในการติดต่อสื่อสาร

พฤติกรรมการเผยแพร่ แลกเปลี่ยนแบ่งปัน ความรู้ ทั ก ษะ ประสบการณ์ ร ะหว่ า งกั น ในขณะเข้าร่วมกิจกรรมตามกระบวนการ 6 ขั้นตอน ได้แก่ 1) ขั้นแนะนาแนวทาง สร้าง กลุ่มสัมพันธ์ 2) ขั้นกาหนดความรู้ นาไปสู่ เป้าหมาย 3) ขั้นพบปะแลกเปลี่ยน เพื่อน เรียนเพื่อนรู้ 4) ขั้นสืบเสาะแสวงหา 5) ขั้น สร้างสรรค์เผยแพร่ และ 6) ขั้นประเมินผล งาน

ห้องเรียนเชิงพหุวัฒนธรรม (Joint Classroom in Multicultural Education) (Banks, 2002; Casey, 2008)

รู ป แบบการจั ด สภาพ แวดล้ อ มส าหรั บ ผู้ เ รี ย นที่ มี ค วามแตกต่ า งกั น ในเรื่ อ งของ ศาสนา สัง คมและวั ฒนธรรม เพื่อให้ เ กิ ด การเรียนรู้ในเนื้อหาวิชาที่เรียนและยอมรับ ในเรื่ องความแตกต่างทางด้านวัฒนธรรม สั ม พั น ธ์ ที่ เ กิ ด ขึ้ น ภายในห้ อ งเรี ย นฯ แบ่ ง ออกเป็น 3 ระดับ คือ 1) ปฏิสัมพันธ์กับตัว ผู้เรียนเอง 2) ปฏิสัมพันธ์กับผู้เรียนด้วยกัน และเนื้อ หาสาระ และ 3) ปฏิสั มพั น ธ์ ระหว่างสาระการสอนกับตัวผู้เรียนเอง

รูปแบบเครือข่ายสังคมเชิงเสมือนเพื่อการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ สาหรับการศึกษาพหุวัฒนธรรม

รูปที่ 1: กรอบแนวคิดการพัฒนารูปแบบเครือข่ายสังคมเชิงเสมือนเพื่อการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ สาหรับการศึกษาพหุวัฒนธรรม 198


Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.