Proceeding of NEC 2012

Page 132

management system. วารสารเทคโนโลยีและสื่อสาร การศึกษา ปีที่ 3, ฉบับที่ 1, หน้า 23 – 36. 2549. ทิศนา แขมมณี. (2547). ศาสตร์การสอนองค์ความรู้เพื่อการจัด กระบวนการเรียนรูท้ ี่มีประสิทธิภาพ. พิมพ์ครั้งที่ 3. กรุงเทพฯ: ด่านสุทธาการพิมพ์. สานักงานคณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ . (2545). แผนการ ศึกษาแห่งชาติ (พ.ศ. 2545 - 2549). กรุงเทพมหานคร : พริกหวานกราฟฟิก. ส านั ก งานคณะกรรมการการศึ ก ษาแห่ ง ชาติ . (2542). พระราชบั ญ ญั ติ ก ารศึ ก ษาแห่ ง ชาติ พ .ศ. 2542. กรุงเทพฯ : คุรุสภา ลาดพร้าว. ส านั ก งานคณะกรรมการการอุ ด มศึ ก ษา. (2552). กรอบ มาตรฐานคุ ณ วุ ฒิ ร ะดั บ อุ ด มศึ ก ษาแห่ ง ชาติ ระดั บ ปริญญาตรีสาขาคอมพิวเตอร์. สานักงานคณะกรรมการ การอุดมศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ. Banathy, B. (1968). Instructional Systems. Palo Alto, California : Fearon Publishers. Johnson, R.T. & Johnson, D.W. (1994). An overview of cooperative learning, In J.S. Thousand, R.A. Villa & A.I. Nevin (Ed.). Creativity and collaborative learning. 31-34. Baltimore, Maryland: Paul H. Brookes Publishing. Joyce, B.; & Wiel, M. (1986). Models of Teaching. Englewood Cliffs. NJ: Prentice–Hall. Kemp, J. E. (1985). The instructional design process. New York: Harper & Row. Simpson, D. (1972). Teaching Physical Educations: A System Approach. Boston: Houghton Mufflin Co. Thousand, S.J., and others. (2002). Creative Collaborative Learning, 2nd Ed, Paul Brookes, Baltimore, pp.3-16. Xinhua He, Wenfa HuAn. (2008). Innovative Web-Based Collaborative Learning Model and Application Structure Computer Science and Software Engineering, International Conference, Vol. 5, 12-14 Dec. 2008, 56 – 59.

6) อภิปรายผล จากการศึ กษาวิ จั ย การสร้ างรู ป แบบการเรี ย นการสอนแบบ ร่ ว มมื อ ด้ ว ยระบบการจั ด กิ จ กรรมการเรี ย นรู้ ผู้ วิ จั ย ได้ ดาเนินการตามขั้นตอนและกระบวนการพัฒนาด้วยการศึกษา ข้อมูลพื้นฐานจากเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง นาข้อมูลที่ ได้ ม าวิ เ คราะห์ แ ละสั ง เคราะห์ พ ร้ อ มทั้ ง ประเมิ น ผลจาก ผู้เชี่ยวชาญทางด้านคอมพิวเตอร์ ทาให้ได้รูปแบบการเรียนการ สอนที่ มี ก ารน าเสนอความรู้ ค วบคู่ ไ ปกั บ การพั ฒ นาทั ก ษะ ปฏิบัติ โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อแก้ข้อบกพร่องในกระบวนการ เรี ย นการสอน ที่ มี การฝึ ก ทั ก ษะปฏิ บั ติ การเขี ย นโปรแกรม คอมพิวเตอร์ เพื่อทาให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ได้อย่างเป็นระบบ และเหมาะสมกับความรู้ความสามารถของผู้เรียน และเป็นไป ตามจุดมุ่งหมายที่กาหนดไว้ นอกจากนี้ทาให้ผู้สอนมีทักษะ และวิธีการสอนที่หลากหลายเหมาะสมกับการเรียนการสอน ในปัจจุบัน ผู้วิจัยใช้แนวคิดของวิธีการเชิงระบบ (Systems Approach) ซึ่ง ประกอบด้วย 5 องค์ประกอบหลักได้แก่ 1) ปัจจัยนาเข้า (Input) 2) กระบวนการเรียนการสอนฝึกปฏิบัติทางเทคนิคบนเครือข่าย อินเทอร์เน็ต (Process) 3) การควบคุม (Control) 4) ผลผลิต (Output) 5) ข้อมูลป้อนกลับ (Feedback) มาเป็นพื้นฐานในการ ออกแบบการเรียนการสอน การวิ จัย ในครั้ งต่ อไปคื อการน ารู ปแบบนี้ไ ปใช้ใ นเรีย นการ สอนวิ ช า หลั ก การเขี ย นโปรแกรมคอมพิ ว เตอร์ ส าหรั บ นักศึกษาระดับอุดมศึกษา เพื่อทาการส่งเสริมผู้เรียนให้มีการ พัฒนาตนเองในด้านอื่น ๆ รวมไปถึงการวัดผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียน ความพึงพอใจทางการเรียน พฤติกรรมทางการเรียน และ การทากิจกรรมด้วยรูปแบบการเรียนแบบร่วมมือกันของผู้เรียน เป็นต้น

7) เอกสารอ้างอิง ถนอมพร เลาหจรัสแสง. (2549). ระบบบริหารจัดการการ เรียนรู้แห่งอนาคต = Next generation learning 130


Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.