บทคัดย่อฉบับสมบูรณ์

Page 68

โครงกำรส่งเสริมและพัฒนำอัจฉริยภำพด้ำนคณิตศำสตร์และวิทยำศำสตร์ สำหรับนักเรียนมัธยมศึกษำตอนต้น ในเขตภำคกลำงและภำคตะวันออก รุ่นที่ ๓ ประจำปี ๒๕๕๖

คณิต KIDS BMI ชนัฏฐำ เรือนเงิน, พิณรัตน์ จันทเลิง และรวิพร เพ็งพิณ ครูที่ปรึกษำโครงงำน ศรินยำ อินทรประเสริฐ โรงเรียนถาวรานุกูล อาเภอเมือง จังหวัดสมุทรสงคราม สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 10

บทคัดย่อ ภาวะโภชนาการยังเป็นปัญหาสาคัญในเด็กวัยเรียนทั้งน้าหนักตัวเกินมาตรฐาน (Risk of overweight and overweight) และน้าหนักตัวต่ากว่ามาตรฐาน (Underweight) ในปัจจุบันเราจะพบโรคภาวะโภชนาการเกินหรือโรคอ้วนที่กาลังเริ่มเป็นปัญหา ต่อสังคมไทยในปัจจุบัน โรคอ้วนมีผลกระทบหลายๆอย่างในการดาเนินชีวิตประจาวัน เช่น การนอนหลับ นอนกรน หยุดหายใจ เป็นระยะในขณะนอนหลับ ( ทาให้สมองขาดออกซิเจน จึงทาให้มีผลกะทบต่อการเรียนรู้และจดจาทาให้การเรียนรู้ช้ากว่าปกติ ) เป็นต้น การประเมินภาวะโภชนาการเราสามารถทาได้หลายวิธีแต่ส่วนใหญ่ไม่เหมาะกับการใช้วัดในกลุ่มเด็กเนื่องจากมีค่าใช้จ่ายสูง จึงทาให้พวกเราสนใจที่จะใช้การวัดค่าดัชนีมวลกาย ( body mass index – BMI ) เป็นวิธีง่ายและสะดวกวิธีหนึ่งในการประเมิน ภาวะทางโภชการของเด็ก โดยในการศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อสารวจค่าดัชนีมวลกาย (BMI) ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ของโรงเรียนถาวรานุกูลโดยเก็บข้อมูลน้าหนักส่วนสูงนามาคิดหาค่าดัชนีมวลกายของนักเรียนเพศหญิง 60 คน และเพศชาย 60 คน ในช่วงอายุ 14 - 15 ปี เพื่อนามาเปรียบเทียบระหว่างเพศชายและเพศหญิงเมื่อแยกตามกลุ่มโภชนาการแล้วจะสามารถแยกได้เป็น 5 กลุ่มดังนี้ ผอม ปกติ น้าหนักเกิน อ้วนจากการศึกษาพบว่า ผู้ชายอยู่ในเกณฑ์ผอม 31 คน อยู่ในเกณฑ์ปกติ 22 คน อยู่ในเกณฑ์ น้าหนักเกินเกณฑ์ 5 คน อยู่ในเกณฑ์อ้วน 2 คนผู้หญิงอยู่ในเกณฑ์ผอม 30 คนอยู่ในเกณฑ์ปกติ 6 คน น้าหนักเกินเกณฑ์ 23 คน อยู่ในเกณฑ์อ้วน 1 คนจากทั้งหมด 60 คนและนามาอภิปรายผลเพื่อหาสาเหตุของน้าหนักเกินและน้าหนักต่ากว่ามาตรฐาน คำสำคัญ : ดัชนี BMI , น้าหนักตัวเกินมาตรฐาน , น้าหนักตัวต่ากว่ามาตรฐาน

๖๔


Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.