บทคัดย่อฉบับสมบูรณ์

Page 104

โครงกำรส่งเสริมและพัฒนำอัจฉริยภำพด้ำนคณิตศำสตร์และวิทยำศำสตร์ สำหรับนักเรียนมัธยมศึกษำตอนต้น ในเขตภำคกลำงและภำคตะวันออก รุ่นที่ ๓ ประจำปี ๒๕๕๖

ปัจจัยที่มีผลต่อกำรเจริญเติบโตของต้นโกงกำงใบใหญ่ในบริเวณศูนย์ศึกษำธรรมชำติและอนุรักษ์ ป่ำชำยเลนเพื่อกำรท่องเที่ยวเชิงนิเวศบริเวณตำบลเสม็ด และ บริเวณตำบลบำงทรำย ณิชำรีย์ รุจิโรจน์กุล , ศุภิสรำ เศรษฐีพร , ศริยำ เรืองแสง , สมิตำ บุญพิทักษ์ และ รัสมิฐ์ ิตำ ศิริโภค โรงเรียนชลกันยานุกูล อาเภอเมืองชลบุรี จังหวัดชลบุรี ๒๐๐๐๐ สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต ๑๘ อาเภอเมืองชลบุรี จังหวัดชลบุรี ๒๐๐๐๐

บทคัดย่อ ปัจจัยที่มีผลต่อการเจริญเติบโตของต้นโกงกางใบใหญ่ในบริเวณศูนย์ศึกษาธรรมชาติและอนุรักษ์ ป่าชายเลนเพื่อการท่องเที่ยวเชิงนิเวศบริเวณ ตาบลเสม็ด และ บริเวณตาบลบางทราย จัดทาขึ้นโดยมีวัตถุประสงค์เพื่อ อนุรักษ์ป่าชายเลนและส่งเสริมการท่องเที่ยวป่าชายเลน โดยมีการจัดทา 4 ขั้นตอนดังนี้ ตอนที่ 1 ผลการศึกษาลักษณะของดินและตรวจวัดค่า pH ของดินในบริเวณศูนย์ศึกษาธรรมชาติและอนุรักษ์ป่าชายเลนเพื่อการท่องเที่ยวเชิง นิเวศบริเวณ ตาบลเสม็ดจะมีลักษณะดินเป็นดินเลนอ่อน ส่วนลักษณะของดินบริเวณตาบลบางทรายมีลักษณะเป็นดินเลนปนทราย ค่า pH เฉลี่ยที่วัดได้ จากทั้งสองบริเวณ คือ 7.5 และ 7.8 ตามลาดับ ซึ่งเมื่อวิเคราะห์ร่วมกับข้อมูลที่ได้ลืบค้นมาสามารถสรุปได้ว่า ค่า pH ของดินในบริเวณ ตาบลบางทราย เหมาะสมต่อการเจริญเติบโตของต้นโกงกาง มากกว่าบริเวณตาบลเสม็ด เป็นผลให้ต้นโกงกาง บริเวณตาบลบางทรายจะเจริญเติบโตได้ดีกว่าบริเวณศูนย์ ศึกษาธรรมชาติและอนุรักษ์ป่าชายเลนเพื่อการท่องเที่ยวเชิงนิเวศบริเวณตาบลเสม็ด ตอนที่ 2 ผลการตรวจวัดค่าความเค็มของน้าในบริเวณศูนย์ศึกษา ธรรมชาติและอนุรักษ์ป่าชายเลนเพื่อการท่องเที่ยวเชิงนิเวศบริเวณตาบลเสม็ด และ บริเวณตาบลบางทรายได้ค่าเฉลี่ย 25.5 ppt และ 29.6 ppt ตามลาดับ ซึ่งเมื่อนามาวิเคราะห์ร่วมกับข้อมูลที่ได้สืบค้นมาว่าต้นโกงกางในบริเวณที่มีลักษณะเป็นดินเลนอ่อนจะสามารถเจริญเติบโตได้ดีในน้าที่มีค่า ความเค็ม 15 – 30 ppt และต้นโกงกางในบริเวณที่มีลักษณะเป็นดินเลนปนทรายจะสามารถเจริญเติบโตได้ดีในน้าที่มีค่าความเค็ม 0.5 – 20 ppt เมื่อ เปรียบเทียบค่าความเค็มของน้าของทั้งสองที่ สามารถสรุปได้ว่าต้นโกงกางบริเวณตาบลบางทรายจะเจริญเติบโตได้ดีกว่าบริเวณ ศูนย์ศึกษาธรรมชาติ และอนุรักษ์ป่าชายเลนเพื่อการท่องเที่ยวเชิงนิเวศบริเวณตาบลเสม็ด ตอนที่ 3 ผลการตรวจวัดค่า pH ของน้าทะเลในบริเวณศูนย์ศึกษาธรรมชาติและ อนุรักษ์ป่าชายเลนเพื่อการท่องเที่ยวเชิงนิเวศบริเวณตาบลเสม็ด และ บริเวณตาบลบางทราย วัดค่า pH เฉลี่ยได้ 7.5 และ 7.8 ตามลาดับ ซึ่งเมื่อนามา วิเคราะห์ร่วมกับข้อมูลที่ได้สืบค้นมาว่าต้นโกงกางจะสามารถเจริญเติบโตได้ดีในน้าทะเลที่มีค่า pH ระหว่าง 6.7 – 7.2 เมื่อเปรียบเทียบค่า pH ของน้า ทะเลของทั้งสองพื้นที่สามารถสรุปได้ว่าต้นโกงกางบริเวณศูนย์ศึกษาธรรมชาติและอนุรักษ์ป่าชายเลนเพื่อการท่องเที่ยวเชิงนิเวศบริเวณตาบลเสม็ดจะ เจริญเติบโตได้ดีกว่าบริเวณตาบลบางทราย ตอนที่ 4 ผลการตรวจวัดค่าอุณหภูมิของน้าในบริเวณศูนย์ศึกษาธรรมชาติและอนุรักษ์ป่าชายเลนเพื่อการ ท่องเที่ยวเชิงนิเวศบริเวณตาบลเสม็ด และ บริเวณตาบลบางทราย ตั้งแต่สัปดาห์ที่ 1 – 6 วัดค่าอุณหภูมิเฉลี่ยได้ 28 °c ส่วนค่าอุณหภูมิของดินในบริเวณ ศูนย์ศึกษาธรรมชาติและอนุรักษ์ป่าชายเลนเพื่อการท่องเที่ยวเชิงนิเวศบริเวณตาบลเสม็ดและบริเวณตาบลบางทรายตั้งแต่สัปดาห์ที่ 1 – 6 วัดค่าอุณหภูมิ เฉลี่ยได้ 27.1°c และ 28°c ตามลาดับ ซึ่งเมื่อนามาวิเคราะห์ร่วมกับข้อมูลที่ได้สืบค้ นมาว่าต้นโกงกางจะเจริญเติบโตได้ดีในบริเวณที่มีอุณหภูมิของน้า ทะเล 25°c – 30°c จากผลการศึกษาจะเห็นได้ว่าอุณหภูมิของน้าทะเลของทั้งสองบริเวณมีอุณหภูมิของน้าทะเลที่เท่ากัน และอยู่ในช่วงที่เหมาะสมต่อ การเจริญเติบโตของต้นโกงกาง และต้นโกงกางจะสามารถเจริญเติบโตได้ดีในบริเวณที่มีอุณหภูมิดินประมาณ 30°c ซึ่งจากการศึกษาจะเห็นได้ว่าอุณหภูมิ ของดินบริเวณตาบลเสม็ดนั้นมีค่าใกล้เคียงกับอุณหภูมิที่เหมาะสมต่อการเจริญเติบโตของต้นโกงกางมากกว่าอุณหภูมิของดินในบริเวณตาบลบาง ทราย แต่ค่าอุณหภูมิเฉลี่ยที่วัดได้ของทั้งสองพื้นที่นั้นมีค่า ใกล้เคียงกันมาก จากข้อมูลดังกล่าวสามารถสรุปได้ว่า ต้นโกงกางบริเวณศูนย์ศึกษาธรรมชาติและ อนุรักษ์ป่าชายเลนเพื่อการท่องเที่ยวเชิงนิเวศบริเวณตาบลเสม็ดมีการเจริญเติบโตได้เท่ากับบริเวณตาบลบางทราย

๑๐๐


Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.