ไฟฟ้าสาร ปีที่ 19 ฉบับที่ 6 พ.ย.-ธ.ค.55

Page 20

ข้อ 5.1.2.2 ห้ามติดตั้งสายไฟที่ใช้กับระบบ แรงต�่ำรวมกับสายไฟที่ใช้กับระบบแรงสูงในท่อร้อยสาย บ่อพักสาย หรือเครือ่ งห่อหุม้ เดียวกัน ยกเว้น ในแผงสวิตช์ หรือเครื่องห่อหุ้มอื่นที่ไม่ได้ใช้เพื่อการเดินสาย มาตรฐานการติดตั้งทางไฟฟ้าฯ ห้ามเดินสาย แรงสูงและแรงต�่ำรวมในบ่อพักสายไฟฟ้าเดียวกันเพราะ ไฟฟ้ า แรงสู ง มี อั น ตรายมาก ในการปฏิบัติง านต้องใช้ ผูเ้ ชีย่ วชาญพิเศษ กรณีทชี่ า่ งไฟฟ้าทัว่ ไปลงไปในบ่อพักสาย เพือ่ ปฏิบตั งิ านกับสายแรงต�ำ่ อาจเกิดผิดพลาด เช่น ไปตัด สายแรงสูงซึ่งจะเกิดอันตรายได้ ส�ำหรับในแผงสวิตช์นั้นสายแรงสูงกับแรงต�่ำ จ�ำเป็นต้องอยูร่ วมกัน แต่อย่างไรก็ตาม โดยปกติแผงสวิตช์ จะแยกส่วนของแรงสูงกับแรงต�ำ่ ไว้แล้ว และในการท�ำงาน กับแผงแรงสูงจะต้องท�ำงานโดยผู้ที่มีความรู้ความช�ำนาญ เท่านั้น รวมทั้งจะเป็นการท�ำงานขณะที่ดับไฟ จึงมั่นใจ ได้ว่ามีความปลอดภัยเพียงพอ

โลหะ ผ่านโครงสร้างโลหะที่เจาะเป็นช่องหรือรู ต้องมี บุชชิงยาง (Bushing Grommet) ยึดติดกับช่องหรือรูเพื่อ ป้องกันฉนวนของสายช�ำรุด ยกเว้น ช่องหรือรูที่มีขอบมน และผิวเรียบ 5.1.3.3 การเดินสายผ่านโครงสร้างอื่น ต้องมี ปลอกที่เป็นฉนวนไฟฟ้าสวม หรือจัดท�ำรูให้เรียบร้อยเพื่อ ป้องกันฉนวนที่หุ้มสายเสียหาย จุดประสงค์ของข้อนีก้ เ็ พือ่ ป้องกันสายไฟฟ้าช�ำรุด ระหว่างการติดตั้งและใช้งาน ซึ่งโดยปกติการเดินสาย ไฟฟ้าไปทีส่ ว่ นต่าง ๆ ของอาคารจะต้องเดินหลบโครงสร้าง ของอาคารให้มากที่สุดเท่าที่จะท�ำ ได้ กรณีโครงสร้าง คอนกรีตก็ควรท�ำการเจาะรูเตรียมไว้ตงั้ แต่ทำ� การก่อสร้าง รวมทั้ ง มี วั ส ดุ ป ้ อ งกั น ฉนวนสายช� ำ รุ ด จากการเสี ย ดสี กั บ คอนกรี ต ด้ ว ย การเดิ น ผ่ า นโครงสร้ า งไม้ ที่ ต ้ อ งมี การเจาะรูผ่านจะต้องเจาะรูให้ห่างจากขอบไม่น้อยกว่า 30 มิลลิเมตร เพื่อป้องกันปลายสกรูหรือตะปูทิ่มถูก สายไฟฟ้าช�ำรุด ท�ำให้เกิดไฟฟ้ารั่วหรือลัดวงจรได้

ร า ส า ้ ฟ ไฟ

ข้อ 5.1.3 การป้องกันความเสียหายทางกายภาพ ของสายไฟ 5.1.3.1 การเดินสายผ่านโครงสร้างไม้ที่ต้อง เจาะรูผ่านกลางโครงสร้าง รูที่เจาะต้องห่างจากขอบไม่ น้อยกว่า 30 มิลลิเมตร หากรูทเี่ จาะห่างจากขอบน้อยกว่า 30 มิลลิเมตร หรือเดินสายในช่องบากต้องป้องกันไม่ให้ ตะปูหรือหมุดเกลียวถูกสายได้ 5.1.3.2 การเดินสายที่มีเปลือกนอกไม่เป็น

ข้อ 5.1.4 การติดตั้งใต้ดิน การติ ด ตั้ ง ใต้ ดิ น ต้ อ งเป็ น ไปตามข้ อ ก� ำ หนด ดังต่อไปนี้ ข้ อ 5.1.4.1 ความลึ ก ในการติ ด ตั้ ง ใต้ ดิ น สายเคเบิลฝังดินโดยตรง ท่อร้อยสายหรือเครื่องห่อหุ้ม สายไฟฟ้าประเภทอื่นที่ได้รับการรับรองแล้ว ความลึก ในการติดตั้งต้องเป็นไปตามตารางที่ 5-1

ตารางที่ 5-1 ความลึกในการติดตั้งใต้ดิน ส�ำหรับระบบแรงต�่ำ

วิธีที่ 1 2 3 4

5 6

วิธีการเดินสาย ความลึกน้อยสุด (เมตร) สายเคเบิลฝังดินโดยตรง 0.60 สายเคเบิลฝังดินโดยตรงและมีแผ่นคอนกรีต 0.45 หนาไม่น้อยกว่า 50 มิลลิเมตร วางอยู่เหนือสาย ท่อโลหะหนาและหนาปานกลาง 0.15 ท่ออโลหะซึ่งได้รับการรับรองให้ฝังดินโดยตรงได้โดย 0.45 ไม่ต้องมีคอนกรีตหุ้ม (เช่น ท่อเอชดีพีอี และ ท่อพีวีซี) ท่อใยหิน หุ้มคอนกรีตเสริมเหล็ก 0.45 ท่อร้อยสายอืน่ ๆ ซึง่ ได้รบั ความเห็นชอบจากการไฟฟ้าฯ 0.45

หมายเหตุ 1) ท่อร้อยสายที่ได้รับการรับรองให้ฝังดินได้โดยมีคอนกรีตหุ้ม ต้องหุ้มด้วยคอนกรีตหนาไม่น้อยกว่า 50 มิลลิเมตร 2) ส�ำหรับวิธีที่ 4, 5 และ 6 หากมีแผ่นคอนกรีตหนาไม่น้อยกว่า 50 มิลลิเมตร วางอยู่เหนือสาย ยอมให้ความลึกลดลงเหลือ 0.30 เมตร ได้ 3) ข้อก�ำหนดส�ำหรับความลึกนี้ไม่ใช้บังคับส�ำหรับการติดตั้งใต้อาคารหรือใต้พื้นคอนกรีตซึ่งหนาไม่น้อยกว่า 100 มิลลิเมตร และยื่นเลยออกไปจาก แนวติดตั้งไม่น้อยกว่า 150 มิลลิเมตร 4) บริเวณที่มีรถยนต์วิ่งผ่าน ความลึกต้องไม่น้อยกว่า 0.60 เมตร

18


Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.