แผนกลุ่มงานสร้างเสริมสุขภาพ

Page 1

Health Promotion. KALASIN PUBLIC HEALTH OFFICE.

กลุ่มงานสร้ างเสริมสุ ขภาพ

หน้ า ๑


Health Promotion. KALASIN PUBLIC HEALTH OFFICE.

สารบัญ เรื่อง นโยบายการบริหารงานกระทรวงสาธารณสุข โครงการบูรณาการเครือข่ายทุกภาคส่วนเพื่อขับเคลื่อนเปูาประสงค์สุขภาพเชิงพื้นที่ สายใยรักแห่งครอบครัว........................................................................................................ โครงการพัฒนาคุณภาพระบบบริการสุขภาพจิตและจิตเวช................................................. โครงการปูองกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดจังหวัดกาฬสินธุ์ ปี ๒๕๕๕............................... โครงการส่งเสริมสุขภาพปูองกันโรคและลดปัจจัยเสี่ยงด้านสุขภาพกลุ่มผู้สูงอายุ จ.กาฬสินธุ์ ปี ๒๕๕๕......................................................................................................... โครงการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ ปี ๒๕๕๕......................................................................... โครงการพัฒนาวัดส่งเสริมสุขภาพต้นแบบ ปี ๒๕๕๕.......................................................... โครงการส่งเสริม พัฒนา และสนับสนุน อสม. ในการดาเนินงานสุขภาพภาคประชาชน ปี ๒๕๕๕................................................................................................................................. โครงการพัฒนาระบบโรงเรียนนวตกรรมสุขภาพชุมชนต้นแบบ ในพื้นที่โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ ตาบล จังหวัดกาฬสินธุ์ ปีงบประมาณ ๒๕๕๕.......................................... โครงการพัฒนารูปแบบการสร้างเสริมสุขภาพและสิ่งแวดล้อมในสถานที่ทางาน................. โครงการพัฒนามาตรฐานงานสุขศึกษาในสถานบริการสาธารณสุข...................................... โครงการประชาสัมพันธ์สร้างเสริมสุขภาพ........................................................................... โครงการโครงการพัฒนาองค์กรต้นแบบไร้พุง แบบบูรณาการยั่งยืน ปี ๒๕๕๕................... โครงการพัฒนาระบบการจัดการข้อมูล และฐานความรู้งานสร้างเสริมสุขภาพ จังหวัดกาฬสินธุ์ ............................................................................................................................. ภาคผนวก...........................................................................................................................

กลุ่มงานสร้ างเสริมสุ ขภาพ

หน้า ๑ ๑๐ ๑๓ ๑๖ ๑๘ ๒๘ ๓๑ ๓๗ ๔๒ ๔๕ ๔๗ ๔๘ ๕๑ ๕๖

หน้ า ๒


Health Promotion. KALASIN PUBLIC HEALTH OFFICE.

ชื่อโครงการโครงการบูรณาการเครือข่ายทุกภาคส่วนเพื่อขับเคลื่อนเป้าประสงค์สุขภาพเชิงพื้นที่ สายใยรักแห่งครอบครัว ผู้รับผิดชอบโครงการ ; MCH Board จังหวัดและ นางสาวสุภัทรา สามัง สถานการณ์ของแผนงานโครงการ; แนวคิดการพัฒนา จากการดาเนินงานอนามัยแม่และเด็กตามนโยบายของกระทรวงสาธารณสุข จังหวัดกาฬสินธุ์พบว่าปัญหา อนามัยแม่และเด็ก เป็นปัญหาสาคัญเช่นอัตราการตายของมารดาและทารก รวมถึงตัวชี้วัดสถานะสุขภาพอนามัยแม่ และเด็กที่ไม่สามารถดาเนินการได้ตามเปูาหมายที่กาหนดไว้ คณะกรรมการอนามัยแม่และเด็กระดับจังหวัดจึงได้มี การจัดองค์ประกอบการพัฒนา ดังนี้ องค์ประกอบการพัฒนา

โดยสูติแพทย์ กุมารแพทย์ พยาบาลวิชาชีพที่ปฏิบัติงานในห้องคลอด ฝากครรภ์ หลังคลอด คลินิกเด็กดี และศูนย์สุขภาพชุมชน ( PCU) ร่วมกันกาหนดประเด็น วิเคราะห์ จุดอ่อน จุดแข็ง ปัญหาและโอกาสในการพัฒนา เป็นประเด็นยุทธศาสตร์ เปูาประสงค์ กลยุทธ์ เพื่อพัฒนาระบบและเสริมสร้างความเข้มแข็งของคุณภาพบริการโดย บูรณาการและให้บริการแบบองค์รวมภายใต้มาตรฐานสายใยรักแห่งครอบครัวซึ่งมุ่งเน้นการมีส่วนร่วมของชุมชนและ ภาคีเครือข่าย เพื่อการมีสุขภาวะแบบยั่งยืนของชาวกาฬสินธุ์ ตาม กระบวนการพัฒนา “ SOMYOTE Model ”

กลุ่มงานสร้ างเสริมสุ ขภาพ

หน้ า ๓


Health Promotion. KALASIN PUBLIC HEALTH OFFICE.

กระบวนการพัฒนา

“ SOMYOTE Model ” ผลการดาเนินงาน

ที่

ข้อมูล

๑. อัตราการตายของมารดา ๒. อัตรามารดาอายุต่ากว่า ๒๐ ปี ๓. ภาวะโลหิตจางในหญิงตั้งครรภ์๑ ๔. ภาวะโลหิตจางในหญิงตั้งครรภ์๒ ๕. ร้อยละฝากครรภ์ครบ ๔ ครั้ง

กลุ่มงานสร้ างเสริมสุ ขภาพ

๒๕๕๐ ๓๒.๗๘

ผลการดาเนินงาน ( พ.ศ.) ๒๕๕๑ ๒๕๕๒ ๒๕๕๓ ๒๒.๐๖ ๒๒.๔๔ ๒๘.๓๑

๒๕๕๔ ๑๓.๖๒

๑๕.๑๓

๑๕.๙๘

๑๙.๓๑

๑๘.๕๓

๒๑.๐๒

๒.๕๑

๕.๔๔

๑๔.๓๐

๑๓.๙๐

๑๒.๑๑

๓.๓๔ ๘๑.๔๒

๓.๙๘ ๗๖.๓๓

๙.๕๕ ๗๘.๙๓

๑๘.๑๐ ๘๒.๑๖

๑๓.๖๘ ๘๒.๗๖

ค่าเป้าหมาย ไม่เกิน๑๘ต่อ แสนLB ไม่เกินร้อยละ ๑๐ ไม่เกินร้อยละ ๑๐ มากกว่าร้อย ละ ๘๐

หน้ า ๔


Health Promotion. KALASIN PUBLIC HEALTH OFFICE.

ที่

ข้อมูล

๖. อัตราการฝากครรภ์ก่อน ๑๒ สัปดาห์ ๗. อัตราทารกตายปริกาเนิด ๘. ๙. ๑๐. ๑๑.

๒๕๕๐ ๓๘.๙๑

ผลการดาเนินงาน ( พ.ศ.) ๒๕๕๑ ๒๕๕๒ ๒๕๕๓ ๓๗.๗๔ ๓๗.๕๘ ๓๙.๔๗

๒๕๕๔ ๔๓.๒๔

๔.๙๑

๖.๕๑

๗.๓๗

๓.๘๑

๓.๙๓

๒๔.๑๕

๑๒.๙๑

๑๙.๕๒

๒๐.๖๗

๑๕.๑๒

๘.๔๑

๗.๙๒

๘.๘๙

๘.๓๗

๗.๑๓

๑๙.๐๒

๒๔.๑๑

๓๗.๖๘

๔๓.๑๕

๓๘.๕๗

๙๙.๐๒

๙๘.๒๓

๙๘.๗๘

๙๙.๑๐

๙๙.๔๘

ค่าเป้าหมาย

มากกว่าร้อย ละ ๕๐ ไม่เกิน ๙ ต่อ ๑๐๐๐TB ทารกแรกเกิดมีภาวะขาดออกซิเจน ไม่เกิน๓๐ต่อ พันLB อัตราทารกแรกเกิดน้าหนักน้อย ไม่เกิน กว่า๒,๕๐๐ กรัม ร้อยละ ๗ อัตราการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ มากกว่า ร้อยละ ๒๕ เด็กมีพัฒนาการสมวัย มากกว่า ร้อยละ ๙๕

จุดเด่น ๑. ระดับจังหวัดมีการระดมสมองจากภาคีเครือข่ายที่เกี่ยวข้อง (องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น) ๒. นโยบายชัดเจน มีภาคีเครือข่ายเข้ามามีส่วนร่วม (อปท.,ผู้นาชุมชน, อสม.) ๓. มีส่วนร่วมในการกาหนดนโยบาย, KPI ๔. มีนโยบายชัดเจน ตั้งแต่ระดับจังหวัดจนถึงระดับ รพ.สต. ๕. มีการขับเคลื่อนนโยบายจากผู้บริหารทุกระดับ ๖. การผ่านการรับรองการเป็นโรงพยาบาลสายใยรักแห่งครอบครัวระดับทอง ๗. จังหวัดกาฬสินธุ์เป็นต้นแบบโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตาบลสายใยรักแห่งครอบครัว ๘. อาเภอคัดเลือก รพ.สต. ๑ แห่ง/อาเภอ ๑ ตาบล ๑ อาเภอ ๙. ได้เอกสารจากจังหวัด มีการถอดบทเรียน จัดทาแผนงาน/โครงการ ๑๐. มีคาสั่งระดับจังหวัด อาเภอ ตาบล,วิเคราะห์ข้อมูล, คืนข้อมูล, จัดทาแผนงาน/โครงการ ๑๑. มีทมี งานอนามัยแม่และเด็กจากจังหวัด ผู้รับผิดชอบงานระดับอาเภอมารับทราบนโยบายเอง ๑๒. มี MCH ระดับโซน ประเมินผลงานเกิดจากการเรียนรู้ ๑๓. รับทราบนโยบายจากคู่มือ ถามเจ้าหน้าที่โรงพยาบาล ถ่ายทอดให้เจ้าหน้าที่ในหน่วยงาน, และ อสม., ใน ส่วนท้องถิ่นยังไม่ดาเนินการ ๑๔. ลักษณะของแผนใช้ได้จริงและตอบสนองผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย จุดด้อย ๑. งบประมาณสนับสนุนในพื้นที่น้อย ๒. มีการรวบรวมข้อมูลแต่ขาดการวิเคราะห์ ๓. มีระเบียบการเงินไม่เอื้อสาหรับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น

กลุ่มงานสร้ างเสริมสุ ขภาพ

หน้ า ๕


Health Promotion. KALASIN PUBLIC HEALTH OFFICE.

สรุปเปูาหมายเชิงปริมาณงานอนามัยแม่และเด็ก ระดับจังหวัดกาฬสินธุ์ กลยุทธ์และกรอบการดาเนินการในโครงการ (ระบุความเชื่อมโยงเป็นกระบวนการตามหลัก P- D- C- A -S ) กลยุทธ์ ๑ การพัฒนาระบบบริการและการส่งต่องานอนามัยแม่และเด็ก กระบวนการ / กิจกรรมหลัก

ระดับเขต ๑. แนวทางการดูแลแม่และเด็กเขต๑๒

ระดับจังหวัด ( จังหวัด , อาเภอ ,ตาบล ) ๑. CPG / WI การดูแลแม่และเด็ก ( กรณีมารดาและเด็กปกติ , กรณีมารดาและเด็กมี ภาวะเสี่ยงและกรณีมารดาและเด็กปุวย ) ๒.คู่มือการส่งเสริมการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่และ เด็กปุวย ๓. คู่มือส่งเสริมการดูแลเด็ก ๐ - ๕ ปี ๔.คู่มือการบริการคลินิกฝากครรภ์และเด็กดี คุณภาพ

ตัวชี้วดั / ค่าเป้าหมาย

หน่วยบริการทุกแห่ง โดยเฉพาะรพท.และรพช.มี แนวทางการดูแลและปฏิบัติ ได้อย่างมีประสิทธิภาพ

หน่วยบริการทุกระดับมี แนวทาง คู่มือและ CPG และปฏิบัติได้อย่างมี ประสิทธิภาพ

๕.แนวทางการส่งต่อและติดตามผล ๖.หลักสูตรนมแม่ ( ๒๐ ชั่วโมง ) ๗. คู่มือการบริการที่เป็นมิตรกับวัยรุ่น ๘.มาตรฐานโรงพยาบาลสายใยรักแห่งครอบครัว และ รพ.สต.สายใยรักแห่งครอบครัว

หน่วยบริการทุกระดับมี แนวทาง คู่มือและ CPG และปฏิบัติได้อย่างมี ประสิทธิภาพ

๙.หลักสูตรโรงเรียนพ่อแม่

MCH Board จังหวัด

ระดับหมู่บ้าน ( สุขศาลา ) ๑. คู่มือ " อสม.สายใยรักแห่งครอบครัว"

กลุ่มงานสร้ างเสริมสุ ขภาพ

หญิงตั้งครรภ์และทารกแรก เกิดทุกรายต้องมีและใช้สมุด บันทึกสุขภาพแม่และเด็ก สุขศาลาทุกแห่งมีแนวทาง และสามารถปฏิบัติได้อย่างมี ประสิทธิภาพ

รพ.สต.













  







  







  







  







  







  







  





  





  





  





  





  

อปท.



๑๐.แนวทางการดูแลการตั้งครรภ์ไม่พึงประสงค์

๑๑.สมุดบันทึกสุขภาพแม่และเด็กปี ๒๕๕๕

สสอ.



 หน่วยบริการมีแนวทางและ ให้การดูแลได้อย่างเหมาะสม

สสจ.

หน่วยงาน MCH Board รพ. อาเภอ







หน้ า ๖


Health Promotion. KALASIN PUBLIC HEALTH OFFICE.

สรุปเปูาหมายเชิงปริมาณงานอนามัยแม่และเด็ก ระดับจังหวัดกาฬสินธุ์ กลยุทธ์และกรอบการดาเนินการในโครงการ (ระบุความเชื่อมโยงเป็นกระบวนการตามหลัก P - D - C - A -S ) กลยุทธ์ ๒. พัฒนาบุคลากร กระบวนการ / กิจกรรมหลัก

ตัวชี้วดั / ค่าเป้าหมาย

MCH Board จังหวัด

สสจ.

๑.การกาหนดสมรรถนะบุคลากรในงาน อนามัยแม่และเด็ก

ผู้รับผิดชอบ MCH Board อาเภอ รพ.

สสอ.

รพ. สต.

อปท.















  







  







  







  







  

๑.๒.๖ WCC ๑.๓ นักวิชาการสาธารณสุข







  







  

๑.๔ อสม. / อสน.







  

๒. พัฒนาบุคลากร ๒.๑ แพทย์จบใหม่



  

๑.๑ แพทย์ ๑.๒ พยาบาลวิชาชีพ ๑.๒.๑ ANC ๑.๒.๒ LR ๑.๒.๓ PP ๑.๒.๔ นมแม่ ๑.๒.๕ NICU

๒.๒ กลุ่มพยาบาล ๒.๒.๑ ANC คุณภาพ

๒.๒.๒ Hight risk in Pregnancy

๒.๒.๓ ห้องคลอดคุณภาพ

กลุ่มงานสร้ างเสริมสุ ขภาพ

บุคลากรสาธารณสุขทุกระดับ และทุกสาขาวิชาชีพที่เกีย่ วข้อง ในงานอนามัยแม่และเด็กมีการ กาหนดสมรรถนะและได้รับ การประเมินอย่างน้อยปีละ ๒ ครั้ง

บุคลากรที่ปฏิบัติงานแผนกฝาก ครรภ์จาก รพท.,รพช.,รพ.สต. ทุกแห่งได้รับการอบรม หลักสูตร ๒ วัน มากกว่าร้อย ละ๙๕ บุคลากรที่ปฏิบัติงานแผนกฝาก ครรภ์จาก รพท.,รพช.,รพ.สต. ทุกแห่งได้รับการอบรม หลักสูตร ๑ วัน มากกว่าร้อย ละ๙๕ บุคลากรที่ปฏิบัติงานห้อง คลอดจาก รพท.,รพช.ทุกแห่ง ได้รับการอบรมหลักสูตร ๑ วัน / เก็บcaseที่พื้นที่















 



  

หน้ า ๗


Health Promotion. KALASIN PUBLIC HEALTH OFFICE.

กระบวนการ / กิจกรรมหลัก

๒.๒.๕ WCCคุณภาพ - Denver ¶ Modifie

ตัวชี้วดั / ค่าเป้าหมาย

MCH Board จังหวัด

สสจ.

ผู้รับผิดชอบ MCH Board รพ. อาเภอ

สสอ.

รพ. สต.

อปท.

บุคลากรที่ปฏิบัติงานในคลินิก เด็กดีระดับ รพท., รพช.ทุก แห่งได้รับการอบรมหลักสูตร ๒ วันมากกว่าร้อยละ๙๕





  

หลักสูตร ๑ วัน





  

๒.๒.๖ NCPRและการส่งต่อ

หลักสูตร ๑ วัน







๒.๒.๗ ทักษะและเทคนิคการไกล่เกลี่ย แบบเผชิญหน้า

ทีมไกล่เกลี่ย ( สูติ )อาเภอละ ๓คนที่ได้รับการแต่งตั้งได้รับ การอบรม หลักสูตร ๑ วัน มากกว่าร้อยละ ๙๕ ทีมวิทยากรอาเภอละ ๓คน ได้รับการอบรมและถ่ายทอด หลักสูตร ๑ วัน มากกว่าร้อย ละ ๙๕







- Growth & development

๒.๒.๘ อสม.สายใยรักแห่งครอบครัว (ครู ก)

๒.๒.๙ อบรมครูศูนย์เด็กเล็ก

อาเภอละ ๓คน/ทีม หลักสูตร ๑วัน

๒.๒.๑๐ ศูนย์เด็กเล็กน่าอยู่

ผู้รับผิดชอบศูนย์เด็กเล็กใน รพท , รพช, / สสอ. ๒คน และ นักวิชาการศึกษาที่รับผิดชอบ ศูนย์เด็กเล็กอปท.ละ ๑ คน ได้รับการถ่ายทอดนโยบาย การประเมินศูนย์เด็กเล็ก ระยะเวลา ๑ วัน มากกว่าร้อย ละ ๙๕ คณะกรรมการอนามัยแม่และ เด็กระดับจังหวัดและระดับ อาเภอมีการประชุมวิชาการ นาเสนอกรณีศึกษาและประชุม

๒.๒.๑๑ Case Conference

๒.๒.๑๑ Case Conference( ต่อ ) ติดตามผลการดาเนินงาน ทุก ๓เดือน มากกว่าร้อย ละ ๙๕

กลุ่มงานสร้ างเสริมสุ ขภาพ



 

  







   







   



 



   

 

หน้ า ๘


Health Promotion. KALASIN PUBLIC HEALTH OFFICE.

สรุปเปูาหมายเชิงปริมาณงานอนามัยแม่และเด็ก ระดับจังหวัดกาฬสินธุ์ กลยุทธ์และกรอบการดาเนินการในโครงการ ( ระบุความเชื่อมโยงเป็นกระบวนการตามหลัก P - D - C - A -S ) กลยุทธ์ ๓ การพัฒนาระบบข้อมูลข่าวสาร กระบวนการ / กิจกรรมหลัก

๑. การจัดทาคู่มือ KPI MCH DATA

๒. พัฒนาระบบบริหารจัดการ ข้อมูล การรายงาน การวิเคราะห์ และสังเคราะห์ข้อมูลงานอนามัย แม่และเด็ก ๓.พัฒนาสื่อความรู้

ตัวชี้วัด / ค่าเปูาหมาย

- มีคู่มือ ๑ ชุด - บุคลากรที่เกี่ยวข้อง ได้รับการอบรมและ สามารถบริหารข้อมูลได้ ถูกต้องร้อยละ ๙๐ - หน่วยงานมีสื่อความรู้ อย่างเพียงพอและ เหมาะสมร้อยละ ๘๐

MCH Board จังหวัด

สสจ .



ผู้รับผิดชอบ MCH Board รพ สสอ . อาเภอ .

รพ. สต.

อปท .

   











    

สรุปเปูาหมายเชิงปริมาณรงานอนามัยแม่และเด็ก ระดับจังหวัดกาฬสินธุ์ กลยุทธ์และกรอบการดาเนินการในโครงการ ( ระบุความเชื่อมโยงเป็นกระบวนการตามหลัก P - D - C - A -S ) กลยุทธ์ ๔ การจัดการเครื่องมือและสิ่งแวดล้อม กระบวนการ / กิจกรรมหลัก ๑. การกาหนด / สารวจรายการ ครุภณ ั ฑ์ / เวชภัณฑ์ตาม มาตรฐาน

ตัวชี้วัด / ค่าเป้าหมาย

สสจ.

รพ. สต.

อปท.





  







 

- มีรายการกลาง ๑ ชุด

๒. การจัดทามาตรฐานและคู่มือ - มีและใช้มาตรฐาน / การใช้เครื่องมือ คู่มือในหน่วยบริการทุก แห่ง ๓.จัดทาแนวทางการบริหาร - มีและสามารถบริหารได้ ครุภณ ั ฑ์ / เวชภัณฑ์ อย่างเหมาะสม พอเพียง

กลุ่มงานสร้ างเสริมสุ ขภาพ

MCH Board จังหวัด

ผู้รับผิดชอบ MCH Board รพ. สสอ. อาเภอ

  

หน้ า ๙


Health Promotion. KALASIN PUBLIC HEALTH OFFICE.

สรุปเปูาหมายเชิงปริมาณงานอนามัยแม่และเด็ก ระดับจังหวัดกาฬสินธุ์ กลยุทธ์และกรอบการดาเนินการในโครงการ ( ระบุความเชื่อมโยงเป็นกระบวนการตามหลัก P - D - C - A -S ) กลยุทธ์ ๕ การมีส่วนร่วมของภาคีเครือข่ายและชุมชน กระบวนการ / กิจกรรมหลัก

ตัวชี้วัด / ค่าเป้าหมาย

๑.พัฒนาศักยภาพเครือข่ายงาน อนามัยแม่และเด็กระดับจังหวัด โซน อาเภอ ตาบล

- ตาบลสายใยรักแห่ง ครอบครัว ๑ อาเภอ ๑ ตาบล

๒. ประสานงานและบูรณาการ การทางานเพื่อแก้ไขปัญหาใน พื้นที่

- มีการประชุม คณะกรรมการ

๓.ถ่ายทอดนโยบายทุกระดับ - มีแผนชุมชน ๔. สนับสนุนกิจกรรมการแก้ไข - ชุมชนมีการดาเนินงาน ปัญหาอนามัยแม่และเด็กใน และกิจกรรมอย่างเข้มแข็ง พื้นที่ ๕. จัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรูภ้ าคี เครือข่ายและชุมชน

MCH Board จังหวัด

สสจ.

ผู้รับผิดชอบ MCH Board รพ. สสอ. อาเภอ

รพ. สต.

อปท.



     



     



     



     



     

๕.๑ ครอบครัวสายใยรัก ตัวอย่าง ๕.๒ แม่สายใยรักแห่งครอบครัว

กลุ่มงานสร้ างเสริมสุ ขภาพ

หน้ า ๑๐


Health Promotion. KALASIN PUBLIC HEALTH OFFICE.

สรุปเปูาหมายเชิงปริมาณงานอนามัยแม่และเด็ก ระดับจังหวัดกาฬสินธุ์ กลยุทธ์และกรอบการดาเนินการในโครงการ (ระบุความเชื่อมโยงเป็นกระบวนการตามหลัก P - D - C - A -S ) กลยุทธ์ ๖.การบริหารจัดการ การควบคุมกากับและนิเทศงาน กระบวนการ / กิจกรรมหลัก ๑.พัฒนาศักยภาพทีมMCH Board ระดับจังหวัด โซน อาเภอ

ตัวชี้วัด / ค่าเป้าหมาย

สสจ.

รพ. สต.

อปท.

ทุกคปสอ., โซน

๒. นิเทศ / ติดตามและ - รพ.สายใยรักฯ ๗ แห่ง ประเมินผลรับรองโรงพยาบาล รพ.กมลาไสย สายใยรักแห่งครอบครัว และ รพ.เขาวง รพ.สต. สายใยรักแห่งครอบครัว รพ.หนองกุงศรี รพ.ร่องคา รพ.คาม่วง รพ.สหัสขันธ์ รพ.ห้วยเม็ก - รพ.สต.สายใยรักฯ๕๐ แห่ง - ตาบลสายใยรักฯ ๑๘ แห่ง ๓. มีการจัดการความรู้ คลัง ความรู้ และแลกเปลี่ยนเรียนรู้ เพื่อนาความรูส้ ู่การแก้ไขปัญหา ในพื้นที่

กลุ่มงานสร้ างเสริมสุ ขภาพ

MCH Board จังหวัด

ผู้รับผิดชอบ MCH Board รพ. สสอ. อาเภอ

        

             

       

               

       

       

     

     



     

หน้ า ๑๑


Health Promotion. KALASIN PUBLIC HEALTH OFFICE.

ชื่อโครงการ: โครงการพัฒนาคุณภาพระบบบริการสุขภาพจิตและจิตเวช ผู้รับผิดชอบโครงการ นางสาวสุภัทรา สามัง สถานการณ์ของแผนงานโครงการ; ความสาคัญ หลักการและเหตุผล ในปัจจุบันพบว่าปัญหาสุขภาพจิตและจิตเวชนับวันจะเพิ่มมากขึ้น และส่งผลกระทบต่อการ พัฒนาทางเศรษฐกิจและสังคมของประเทศ ทาให้ต้องหากลไก ในการทาให้ผู้มีปัญหาสุขภาพจิตและกลุ่มเสี่ยง ดังกล่าวได้รับการดูแลปูองกันได้อย่างเหมาะสม ซึ่งสอดคล้องกับแผนพัฒนาสุขภาพจิตแห่งชาติที่กล่าวว่า คนในสังคมไทยทุกคนมีหลักประกันที่จะดารงชีวิตอยู่อย่างมีสุขภาวะ และเข้าถึงบริการที่มีคุณภาพอย่างเสมอภาค รวมทั้งอยู่ในครอบครัว ชุมชนและสังคมที่มีความพอเพียงทางด้านสุขภาพจิต จากสถานการณ์ปัญหาและแนวคิดดังกล่าวจังหวัดกาฬสินธุ์ จึงเห็นความสาคัญของการบูรณา การงานสุขภาพจิตและจิตเวชสู่ชุมชน โดยผ่านเครือข่ายภาครัฐ ซึ่งได้แก่เครือข่ายระบบสาธารณสุข ประกอบด้วย สาธารณสุขจังหวัด โรงพยาบาลศูนย์ โรงพยาบาลทั่วไป สาธารณสุขอาเภอ โรงพยาบาลชุมชน และเครือข่ายภาค ประชาชน ซึ่งได้แก่ องค์การบริหารส่วนตาบล หมู่บ้านที่ประกอบด้วยกลุ่มผู้นาชุมชน ผู้นาศาสนา ครู อาสาสมัคร สาธารณสุข อาสาสมัครพัฒนาชุมชน สมาชิก อบต. คณะกรรมการชุมชนฯ โดยให้เครือข่ายทั้ง สองส่วนสามารถ สนับสนุนและประสานงานเพื่อการดาเนินงานส่งเสริม ปูองกัน บาบัดรักษา ดูแลและฟื้นฟู สมรรถภาพผู้มีปัญหา สุขภาพจิต ผู้ปุวยจิตเวช กลุ่มเสี่ยงและประชาชนทั่วไปในการดาเนินงานสุขภาพจิตและจิตเวช โดยการมีเปูาหมายลด อัตราการฆ่าตัวตายสาเร็จลดลง และเพิ่มการเข้าถึงบริการผู้ปุวยโรคซึมเศร้าเพิ่มขึ้น วัตถุประสงค์หลักคือการ ปรับปรุงคุณภาพของการให้บริการงานสุขภาพจิตในสถานบริการสาธารณสุขทุกระดับและชุมชน ให้เชื่อมโยงกับ หลายปัจจัยระหว่างปัจจัยด้านเศรษฐกิจสังคม สิ่งแวดล้อมและวัฒนธรรมที่ส่งผลต่อการเปลี่ยนแปลงทางจิต จากผล การเฝูาระวังปัญหาการฆ่าตัวตายของประชาชนจังหวัดกาฬสินธุ์ เดือนมกราคม ๒๕๕๓ – กันยายน ๒๕๕๓ พบว่า มีผู้ฆ่าตัวตายสาเร็จ จานวน ๑๙ ราย คิดเป็นอัตราการฆ่าตัวตายสาเร็จ ๑.๙๔ ต่อประชากรแสนคน ต่ากว่าเกณฑ์ที่ กาหนดไว้คือไม่เกิน ๖.๓ ต่อประชากรแสนคน (ปี ๒๕๕๑ อัตราการฆ่าตัวตายสาเร็จ ๐.๘๑ ต่อประชากรแสนคนปี ๒๕๕๒ อัตราการฆ่าตัวตายสาเร็จ ๐.๖๑ ต่อประชากรแสนคน) แต่มีแนวโน้มเพิ่มขึ้น วัตถุประสงค์ของโครงการ ๑.เพื่อเสริมสร้างกลไกการบูรณาการความร่วมมือส่งเสริมสุขภาพจิตและจิตเวชในระบบ สาธารณสุขและเครือข่ายที่เกี่ยวข้อง ๒.เพื่อให้ภาคีทุกภาคส่วน มีส่วนร่วมและบูรณาการในการดาเนินงานสุขภาพจิตและจิตเวช ไป พร้อมกัน ๓.เพื่อให้สถานบริการสาธารณสุขทุกระดับให้มีการพัฒนาคุณภาพระบบบริการสุขภาพจิตแลt จิตเวช ที่มีมาตรฐานและมีระบบการส่งต่อที่มีประสิทธิภาพ ๔. อัตราการฆ่าตัวตายลดลง / ภาวะซึมเศร้าลดลงและเข้าสู่ระบบบริการ ตัวชี้วัด ๑.. อัตราการฆ่าตัวตายสาเร็จไม่เกิน ๖.๕ ต่อประชากรแสนคน ๒. ร้อยละ ๘๐ ของผู้พยายามฆ่าตัวตายไม่สาเร็จได้รับการดูแลและเฝูาระวังอย่างต่อเนื่อง ๓. มีการจัดตั้งกลุ่มช่วยเหลือผู้ปุวยทางจิตเวช กลุ่มงานสร้ างเสริมสุ ขภาพ

หน้ า ๑๒


Health Promotion. KALASIN PUBLIC HEALTH OFFICE.

ขอบเขตโครงการ ประเด็น กลุ่มเปูาหมายผู้รับประโยชน์จากโครงการ พื้นที่ เปูาหมาย

ขอบเขตโครงการ บุคลากรสาธารณสุขทุกระดับและประชาชนทั่วไป ทุกหมู่บ้าน ตาบลและอาเภอในจังหวัดกาฬสินธุ์

กระบวนงาน / กิจกรรมหลัก

ผลผลิต

ระยะเวลา (ว ด ป)

หน่วย โครงการพัฒนาคุณภาพระบบบริการ สุขภาพจิตและจิตเวช รพท./รพช./สสอ./ ๑.ประเมินคุณภาพระบบบริการ รพ.สต สุขภาพจิตและจิตเวช ด้วยตนเอง ๒.แต่งตั้งและประชุมคณะกรรมการ พัฒนาคุณภาพระบบบริการสุขภาพจิต และจิตเวชระดับจังหวัด/อาเภอ ๓.นิเทศติดตามประเมินผล ๔.พัฒนาระบบข้อมูลสุขภาพจิตและจิต เวช ๘ โรค โครงการพัฒนาระบบข้อมูลสารสนเทศ เครือข่าย ศูนย์พึ่งได้ ระดับอาเภอและจังหวัด โครงการอบรมการให้คาปรึกษา เบื้องต้น ( Basic counselling ) ๕.การพัฒนาระบบการดูแลโรคซึมเศร้า เสี่ยงต่อการฆ่าตัวตาย ๖. การพัฒนาชุมชนสุขภาพจิตบูรณา การต้นแบบ

กลุ่มงานสร้ างเสริมสุ ขภาพ

รพท./รพช./สสอ./ รพ.สต รพท./รพช./สสอ./ รพ.สต อาเภอ/ตาบล

จานวน ๒๐๐

เริ่มต้น

สิ้นสุด

กันยายน ๒๕๕๔

ตุลาคม ๒๕๕๕

กันยายน ๒๕๕๔ มกราคม ๒๕๕๕

ตุลาคม ๒๕๕๕ มกราคม ๒๕๕๕

กันยายน ๒๕๕๔ กันยายน ๒๕๕๔

ตุลาคม ๒๕๕๕ ตุลาคม ๒๕๕๕

๘๐ ๒๐๐ ๒๐๐

หน้ า ๑๓


Health Promotion. KALASIN PUBLIC HEALTH OFFICE.

กลุ่มงานสร้ างเสริมสุ ขภาพ

หน้ า ๑๔


Health Promotion. KALASIN PUBLIC HEALTH OFFICE.

กลุ่มงานสร้ างเสริมสุ ขภาพ

หน้ า ๑๕


Health Promotion. KALASIN PUBLIC HEALTH OFFICE.

โครงการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดจังหวัดกาฬสินธุ์ ปี ๒๕๕๕ ผู้รับผิดชอบโครงการ นายสมพงษ์ สาราญพงษ์ สถานการณ์ของแผนงานโครงการ จากสถานการณ์ในปัจจุบัน ยังพบว่า มีปัญหาการแพร่ระบาดของยาเสพติดเป็นปัญหาหลัก สาหรับปัญหา การค้าส่วนใหญ่จะเป็นผู้ค้ารายย่อย แหล่งที่มาของยาเสพติดจะมาจากจังหวัดตามแนวชายแดน ได้แก่มุกดาหาร นครพนม และหนองคายตามลาดับ พื้นที่ระดับอาเภอทุกอาเภอยังคงมีปัญหาและจาเป็นต้องเฝูาระวังยาเสพติดอย่าง ใกล้ชิดและจากการดาเนินงานในปี ๒๕๕๔ พบว่า ผู้เสพ / ผู้ติดยาเสพติด จานวน ๑,๒๘๗ ราย และได้รับการ บาบัดรักษา ฟื้นฟูสมรรถภาพแบบ Matrix Programs จานวน ๕๓ ราย และแบบค่ายปรับเปลี่ยนพฤติกรรม จานวน ๑,๑๓๔ ราย คิดเป็นร้อยละ ๑๐๐ สาหรับเปูาหมายในการดาเนินงาน ปี ๒๕๕๕ ด้านการบาบัดรักษาผู้เสพ / ผู้ติดยาเสพติด แบบ Matrix programs จานน ๓๘ ราย แบบค่ายปรับเปลี่ยนพฤติกรรม จานวน ๒,๙๘๐ ราย และการจัดตั้งเครือข่ายเฝูาระวัง ปัญหายาเสพติด ระดับ อาเภอ จานวน ๑๘ อาเภอ ดังนั้น กลุ่มผู้หลงผิดเกี่ยวข้องกับยาเสพติด จึงจาเป็นต้องได้รับการดูแล ฟื้นฟู และได้รับการจัดการอย่าง เป็นระบบ ทันการณ์ และเกิดภูมิคุ้มกันอย่างยั่งยืน ผลการดาเนินงานปี ๒๕๕๔ ๑. แบบผู้ปุวยนอก จานวน ๑๑๔ ราย - ระบบสมัครใจ จานวน ๕๓ ราย - ระบบบังคับบาบัด จานวน ๕๘ ราย - ระบบต้องโทษ จานวน ๓ ราย ๒. แบบค่ายปรับเปลี่ยนพฤติกรรม จานวน ๑,๒๒๗ ราย - ศูนย์ฟื้นฟูสมรรถภาพฯพุทธคามนิคม จานวน ๓๖๕ ราย ศูนย์ฟื้นฟูสมรรถภาพฯอร่ามมงคล จานวน ๑๒๑ ราย ศูนย์ฟื้นฟูสมรรถภาพฯหนองบัว จานวน ๘๑ ราย ศูนย์ฟื้นฟูสมรรถภาพฯนาคา จานวน ๗๑ ราย ศูนย์ฟื้นฟูสมรรถภาพฯหนองช้าง จานวน ๑๕๐ ราย - ศูนย์ฟื้นฟูสมรรถภาพฯอโศการาม จานวน ๓๒ ราย วัดหอไตร จานวน ๔๐๗ ราย ๓. งบประมาณ ได้ดาเนินการเบิกจ่าย จานวน ๓,๓๗๔,๒๕๐ บาท ยืมจาก สสจ.กาฬสินธุ์ จานวน ๗๙๙,๕๐๐ บาท จาก อปท. จานวน ๒,๔๓๗,๒๕๐ บาท จาก ศตส.จ.กส จานวน ๑๓๗,๕๐๐ บาท ๔. การติดตามผู้เสพ / ผู้ติดที่ผ่านการบาบัดรักษาและฟื้นฟูสมรรถภาพ สานักงานสาธารณสุขจังหวัดกาฬสินธุ์ ได้มอบหมายให้เจ้าหน้าที่สาธารณสุขและอาสาสมัครสาธารณสุขใน พื้นที่ ดาเนินการติดตาม ดูแล ผู้ที่ผ่านการบาบัด ขณะนี้อยู่ระหว่างการติดตาม ๕. การปูองกันการกลับมาเสพซ้า

กลุ่มงานสร้ างเสริมสุ ขภาพ

หน้ า ๑๖


Health Promotion. KALASIN PUBLIC HEALTH OFFICE.

จากการติดตาม ดูแล และฟื้นฟูสมรรถภาพ ไม่พบว่ามีการกลับมาเสพซ้า จุดเด่น ๑. เป็นนโยบายที่สาคัญของท่านผู้ว่าราชการจังหวัดกาฬสินธุ์ ๒. มีศูนย์ฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติดที่ได้มาตรฐาน ๓. มีคณะวิทยากรการบาบัดรักษาแบบสหวิชาชีพครบทุกศูนย์ฟื้นฟูฯ ๔. มีคณะทางานแบบบูรณาการ จุดด้อย ๑. การสนับสนุนงบประมาณจากส่วนกลางไม่เพียงพอ ๒. กระบวนการนาผู้เสพเข้าสู่กระบวนการบาบัดยังไม่ชัดเจน แผนงานระดับจังหวัด ปี ๒๕๕๕ มอบหมายพื้นที่ดาเนินการ วัตถุประสงค์ของโครงการ ๑. เพื่อปูองกันกลุ่มเสี่ยงไม่ให้เกี่ยวข้องกับยาเสพติด ๒. เพื่อบาบัดรักษาผู้เสพ / ผู้ติดยาเสพติด ๓. เพื่อไม่ให้ผู้เสพ/ผู้ติดยาเสพติดที่ผ่านการบาบัดครบตามเกณฑ์ที่กาหนดกลับไปเสพซ้า ๔. เพื่อให้ผู้ที่ผ่านการบาบัดรักษาครบตามเกณฑ์ที่กาหนด คืนสู่สังคมอย่างปกติสุข แนวทางการดาเนินการ / การดาเนินกิจกรรม ๑. ขั้นเตรียมการ ๑. ประชุมคณะกรรมการดาเนินการด้านการบาบัดรักษาผู้เสพยาเสพติด เพื่อสรุปเปูาหมายและแนวทางการ บาบัดรักษาผู้เสพยาเสพติด ๒. กาหนดพื้นที่เปูาหมาย โดยอาสาสมัครพลังแผ่นดินในพื้นที่ ๓. ค้นหาผู้เกี่ยวข้อง(RE – X – RAY) ด้วยกระบวนการประชาคม โดยศตส.อ. ๔. คัดกรองกลุ่มเปูาหมาย และประเมิน โดยสาธารณสุขในพื้นที่ ๕. ชี้แจงหลักสูตร / รับสมัครเข้าโครงการ / คายินยอมของผู้ปกครอง โดยสาธารณสุขในพื้นที่ร่วมกับฝุาย ปกครอง ๖. นัดหมายกลุ่มเปูาหมายเกี่ยวกับการเตรียมเข้าค่าย โดยผู้นาชุมชน ๒. ระหว่างเข้าค่าย เป็นเวลา ๙ วัน๘ คืน ใช้หลักสูตรของศูนย์บาบัดผู้ติดยาเสพติดจังหวัดขอนแก่น โดยใช้ทีมวิทยากรบูรณาการจากทุก ภาคส่วนที่เกี่ยวข้อง เช่น ฝุายปกครอง ,ตารวจ ,ครู ,สาธารณสุข ,คุมประพฤติ ,ภาคประชาชน กาหนดแบ่งเป็น ๒๐ รุ่นๆละ ๗๐ คน สาหรับสถานที่จัดค่ายปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ได้กาหนดพื้นที่ ๕ แห่ง ได้แก่ ๑. ศูนย์ฟื้นฟูสมรรถภาพพุทธคามนิคม อาเภอเมืองกาฬสินธุ์ ๒. ศูนย์ฟื้นฟูสมรรถภาพอร่ามมงคล อาเภอยางตลาด ๓. ศูนย์ฟื้นฟูสมรรถภาพอโศการาม อาเภอนามน ๔. ศูนย์ฟื้นฟูสมรรถภาพหนองบัว อาเภอหนองกุงศรี ๕. ศูนย์ฟื้นฟูสมรรถภาพนาคา อาเภอกุฉินารายณ์ ๖. ศูนย์ฟื้นฟูสมรรถภาพวัดโพธิ์ศรีสว่างบ้านหนองช้าง ตาบลหนองช้าง อาเภอสามชัย ๒. ช่วงกลับคืนสู่ชุมชน ๑. จัดทาผังเครือญาติ โดยผู้เข้าค่ายร่วมกับผู้ปกครอง

กลุ่มงานสร้ างเสริมสุ ขภาพ

หน้ า ๑๗


Health Promotion. KALASIN PUBLIC HEALTH OFFICE.

๒. ตรวจงาน โดยวิทยากร ๓. รับขวัญโดยชุมชน / บายศรีสู่ขวัญ โดยแกนนาชุมชน ๔. มอบเกียรติบัตร โดย นายอาเภอและวิทยากร ๓. ช่วงติดตามผล ๑. รายงานตัวกับเจ้าหน้าที่สาธารณสุขประจาสถานีอนามัย โดยสาธารณสุข ๒. เยี่ยมบ้าน โดยทีมจิตอาสา / วิทยากร / ครูฝึก /พีเ่ ลี่ยง ๓. ส่งเสริมกิจกรรมทางเลือก / อาชีพ โดย กศน./พช. /แรงงาน / พม. /เกษตรและสหกรณ์ ๔. หากมีการเสพซ้าจัดทีมดูแลอย่างใกล้ชิดและรายงานให้นายอาเภอทราบ โดยศตส.หมู่บ้าน ๕. สร้างเครือข่ายดูแลซึ่งกันและกัน โดยกลุ่มเปูาหมายและจิตอาสา ๔. สรุปผลการดาเนินพร้อมปัญหา อุปสรรคและแนวทางการแก้ไข พื้นที่ดาเนินการ ทุกพื้นที่ในจังหวัดกาฬสินธุ์ บทบาท สสจ. ๑. กากับ ควบคุม ดูแล หลักสูตรการบาบัดรักษาผู้เสพยาเสพติด ๒. กากับ ดูแล วิทยากรกระบวนการบาบัดรักษา ๓. กากับ ควบคุม ดูแล การบันทึกฐานข้อมูลยาเสพติด (บสต. ๑ – ๕ ) บทบาท สสอ ๑. กากับ ดูแล วิทยากรกระบวนการบาบัดรักษา ระดับอาเภอ ๒. กากับ ควบคุม ดูแล การบันทึกฐานข้อมูลยาเสพติด (บสต.๑ – ๕) ๓. จัดกระบวนการบาบัดรักษาแบบค่ายปรับเปลี่ยนพฤติกรรม บทบาท รพ. ๑. ๒. ๓. ๔.

กากับ ดูแล วิทยากรกระบวนการบาบัดรักษา ระดับอาเภอ ให้การบาบัดรักษาผู้เสพ/ผู้ติดยาเสพติด ทุกระบบ กากับ ควบคุม ดูแล การบันทึกฐานข้อมูลยาเสพติด (บสต.๑ – ๕) จัดสถานบริการด้านการบาบัดรักษาผู้ติดยาเสพติด ให้ได้มาตรฐานตามที่สถาบันธัญญารักษ์ กาหนด

บทบาท รพ.สต. ๑. จัดกระบวนการบาบัดรักษาแบบค่ายปรับเปลี่ยนพฤติกรรมและแบบMatrix Programe ๒. บันทึกฐานข้อมูลยาเสพติด (บสต.๑ – ๕) ๓. ติดตาม ดูแล ฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ผ่านการบาบัดรักษาแบบครบกาหนด ตัวชี้วัด ๑. ผู้เสพ/ผู้ติดยาเสพติด ได้รับการบาบัดรักษาและฟื้นฟูสมรรถภาพครบตามเกณฑ์ที่กาหนด ร้อยละ ๑๐๐ ๒. โรงพยาบาลผ่านเกณฑ์มาตรฐานของสถาบันธัญญารักษ์ ระดับประเมินตนเอง ร้อยละ ๗๐

กลุ่มงานสร้ างเสริมสุ ขภาพ

หน้ า ๑๘


Health Promotion. KALASIN PUBLIC HEALTH OFFICE.

ชื่อโครงการ ส่งเสริมสุขภาพป้องกันโรคและลดปัจจัยเสี่ยงด้านสุขภาพกลุ่มผู้สูงอายุ จ.กาฬสินธุ์ ปี ๒๕๕๕ ผู้รับผิดชอบโครงการ นส.แอนนา แสบงบาล สถานการณ์ของแผนงานโครงการ ปี ๒๕๕๔ * มีการพัฒนาตาบลต้นแบบผู้สูงอายุระยะยาว(LTC)อาเภอละ ๑ ตาบล รวม ๑๘ อาเภอ ซึ่งศูนย์อนามัยที่ ๖ ขอนแก่นได้ประชุมชี้แจงการพัฒนากระบวนการดาเนินงานตามเกณฑ์มาตรฐานตาบลต้นแบบ ด้านการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุระยะยาว ๖ องค์ประกอบคือ ๑ มาตรฐานชมรมผู้สูงอายุคุณภาพ ๒. มาตรฐาน อาสาสมัครดูแลสุขภาพผู้สูงอายุในชุมชน ๓. มาตรฐานวัดส่งเสริมสุขภาพ ๔. มาตรฐานระบบการดูแลสุขภาพ ผู้สูงอายุ กลุ่มที่๒(ติดบ้าน) และกลุ่มที่ ๓(ติดเตียง)ของชุมชน ๕. มาตรฐานการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุที่บ้าน (Home Health Care : HHC)ที่มีคุณภาพโดยบุคลากรสาธารณสุขและทีมสุขภาพชุมชน ๖.มาตรฐานการดูแลสุขภาพ ผู้สูงอายุระยะยาวโดยท้องถิ่นมีส่วนร่วม *พัฒนาคลีนิคผู้สูงอายุในรพ.ให้ได้ตามมาตรฐาน จานวน ๑๔ แห่ง สรุปผลงาน ปี ๒๕๕๔ สนับสนุนให้มีการพัฒนาตาบลต้นแบบผู้สูงอายุระยะยาว(LTC)อาเภอละ ๑ ตาบล รวม ๑๘ อาเภอและรพ.สต.หนองสอ สสอ.เมือง ผ่านการประเมินรับรองจากศูนย์อนามัยที่๖ขอนแก่นอยู่ในระดับดีมาก ผลการพัฒนาคลินิคผู้สูงอายุในรพ. ระดับ ๕ จานวน แห่ง คิดเป็นร้อยละ ๑๔.๒๘ ระดับ ๔ จานวน แห่ง คิดเป็นร้อยละ ๓๕.๗๑ ระดับ ๓ จานวน แห่ง คิดเป็นร้อยละ ๓๕.๗๑ ระดับ ๒ จานวน แห่ง คิดเป็นร้อยละ ๑๔.๒๘

จุดเด่น ๑. พื้นที่มีต้นทุนในชุมชนสูง เช่นมีชมรมผู้สูงอายุเข้มแข็ง มีวัดส่งเสริมสุขภาพดีเด่น ท้องถิ่นมีบทบาทและให้ การสนับสนุนการดูแลผู้สูงอายุเข้มแข็ง ๒.ศักยภาพของรพ.สต.ในการขอสนับสนุนจากแหล่งทุนอื่นๆ เช่น สสส.กองทุนสุขภาพ สป.สช.และ ท้องถิ่น และมีการทางานประสานกับสาขาสภาผู้สูงอายุจังหวัดกาฬสินธุ์ ในการดาเนินการ แผนงานระดับจังหวัด ปี ๒๕๕๕ มอบหมายพื้นที่ดาเนินการ ๓.ได้มีความพยายามในการบูรณาการการทางานของพื้นที่ ทั้งด้านความรู้ งบประมาณ กระบวนการทางาน

จุดด้อย * ปีที่ผ่านมายังไม่มีการทางานพัฒนาในรูปแบบของคณะกรรมการระดับจังหวัดและไม่ได้ดาเนินการประเมิน รับรองคุณภาพตาบลต้นแบบLTC ตามขั้นตอนของศูนย์อนามัยที่ ๖ ๑.ผู้รับผิดชอบระดับอาเภอไม่สามารถกระตุ้น ติดตามการดาเนินงานพัฒนาตาบลต้นแบบLTC ในพื้นที่ได้ (จากการส่งรายงานผลดาเนินการ) ๒.ไม่มีแผนดาเนินการของพื้นที่เนื่องจากได้รูปแบบการพัฒนาตาบลต้นแบบ LTC หลังจากทาแผนประจาปี แล้ว

กลุ่มงานสร้ างเสริมสุ ขภาพ

หน้ า ๑๙


Health Promotion. KALASIN PUBLIC HEALTH OFFICE.

แผนงานระดับจังหวัด ปี ๒๕๕๕ มอบหมายพื้นที่ดาเนินการ ๑.จัดทาแผนรองรับโดยจัดประชุมทาความเข้าใจรูปแบบการพัฒนาตาบลต้นแบบ LTCและคลีนิคผู้สูงอายุ ๒.ผู้รับผิดชอบทุกระดับวางแผนและมีกระบวนการพัฒนาร่วมกัน ติดตามประเมิน รายงาน วัตถุประสงค์ ๑.เพื่อพัฒนาระบบการดูแลรักษาผู้สูงอายุทั้งในสถานบริการสุขภาพและในชุมชนให้มคี ุณภาพเข้า สู่มาตรฐานโดยการบูรณาการทุกระดับและทุกภาคส่วน ๒. เพื่อพัฒนาศักยภาพเจ้าหน้าที่และผู้แทนจากภาคีเครือข่ายการสร้างเสริมสุขภาพผู้สูงอายุในพื้นที่ รับผิดชอบ ๓. เพื่อพัฒนาตาบลต้นแบบด้านการดูแลผู้สูงอายุระยะยาวและต้นแบบคลีนิคผู้สูงอายุ แนวทางการดาเนินงาน/กิจกรรม ๑.จังหวัดจัดประชุมเชิงปฏิบัติการฯให้แก่ ผู้รับผิดชอบในสสอ.และจนท.ตาบลต้นแบบพื้นที่เปูาหมายปี ๒๕๕๔และพื้นที่ใหม่ปี ๒๕๕๕ (ให้เลือกตาบลที่มีชมรมผู้สูงอายุเข้มแข็งและท้องถิ่นมีส่วนร่วมในการดูแลผู้สูงอายุ ระยะยาว) และผู้รับผิดชอบคลินิกผู้สูงอายุ รพ.(๑๔ คน) วันที่ ๙ ธันวาคม ๒๕๕๔ ณ ห้องประชุมปัญญานุสติ ๒.พื้นที่ดาเนินการพัฒนาโดยเชื่อมการทางานตามเปูาประสงค์ที่ ๑๐ ของยุทธศาสตร์การพัฒนาสุขภาพ จังหวัดกาฬสินธุ์ *พื้นที่ค้นหาผู้สูงอายุสุขภาพดี ชาย/หญิง อายุ ๘๐ ปีขึ้นไปและอายุ ๑๐๐ ปีขึ้นไป (ตามเกณฑ์การประเมิน) ๓.จังหวัดประเมินรับรองและคัดเลือกตาบลต้นแบบLTC เพื่อส่งประกวดระดับเขต(ชมรมผู้สูงอายุและวัด ส่งเสริมสุขภาพ) ๔.ศูนย์อนามัยออกดาเนินการประเมินรับรองตาบลต้นแบบLTC พื้นที่ดาเนินการ/เปูาหมาย (ปี ๒๕๕๔ตามเอกสารแนบ ปี ๒๕๕๕ ให้เลือกพื้นที่ตามเงื่อนไขที่มีต้นทุนด้านต่างๆอยู่แล้ว) บทบาทสสจ. จัดทาแผนพัฒนาความเข้มแข็งของเครือข่ายการดาเนินงานดูแลผู้สูงอายุระดับจังหวัด สนับสนุนเครื่องมือ วิชาการ ควบคุมกากับ ติดตามประเมินและการให้รางวัล บทบาทสสอ./รพ. จัดทาแผนพัฒนาความเข้มแข็งของเครือข่ายการดาเนินงานดูแลผู้สูงอายุระดับCUP และตาบล บทบาทรพ.สต. พัฒนาตาบลต้นแบบLTC สิ่งสนับสนุน ด้านวิชาการ เครื่องมือการทางาน ตัวชี้วัด ๑ อาเภอ ๒ ตาบลต้นแบบ LTC ผ่านมาตรฐานระดับดี ร้อยละ ๖๐ รพ. ๑๔ แห่ง พัฒนาคลินิกผู้สูงอายุตามเกณฑ์ อยู่ในระดับ ๕ ร้อยละ ๔๐

กลุ่มงานสร้ างเสริมสุ ขภาพ

หน้ า ๒๐


Health Promotion. KALASIN PUBLIC HEALTH OFFICE.

ชื่อโครงการ โรงเรียนส่งเสริมสุขภาพปี ๒๕๕๕ ผู้รับผิดชอบโครงการ นางสมหวัง กลางประพันธ์ สถานการณ์ของแผนงานโครงการ จังหวัดกาฬสินธุ์ ดาเนินโครงการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพมาอย่างต่อเนื่อง โดยเป็นโครงการร่วมระหว่าง กระทรวงศึกษาธิการและกระทรวงสาธารณสุข และมีองค์กรท้องถิ่นสนับสนุนนโยบายในการดาเนินงานโครงการ จังหวัดกาฬสินธุ์ได้จัดทาคาสั่งแต่งตั้งคณะทางาน โดยผู้ว่าราชการจังหวัดฯ เป็นผู้ลงนาม มีคณะทางานระดับจังหวัดฯ / ระดับอาเภอ ทาหน้าที่ตามภาระงานที่ได้รับมอบหมาย ซึ่งคณะทางานประกอบด้วยบุคลากรจากหน่วยงานที่ เกี่ยวข้องได้แก่กระทรวงศึกษาธิการ กระทรวงสาธารณสุข องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (อบจ./เทศบาล)โรงเรียน แกนนา และตัวแทนชุมชน จากผลการดาเนินงานที่ผ่านมา โรงเรียนส่งเสริมสุขภาพมีการพัฒนาเชิงคุณภาพมากขึ้น จากการประเมินผล ทุกปี ทาให้โรงเรียนมีความกระตือรือร้นในการพัฒนา และให้ความร่วมมือเป็นอย่างดี จากการติดตามความก้าวหน้า ของการพัฒนาโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพมีโรงเรียนที่มีความพร้อมที่จะก้าวสู่ระดับเพชร ๒ โรงเรียน ซึ่งจะขอรับการ ประเมินรับรองในปี ๒๕๕๔ สรุปผลการดาเนินงาน ( โครงการฯ ปี ๕๔ ) จากผลประเมินโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพในจังหวัดกาฬสินธุ์ ปี ๒๕๕๔ โรงเรียนเข้าร่วมโครงการประกอบด้วย โรงเรียนในสังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษา/องค์การบริหารส่วนจังหวัดฯ/เทศบาล และเอกชน รวมทั้งสิ้น ๖๕๖ โรง มีผลประเมินรับรองดังนี้ ระดับทอง ร้อยละ ๗๒.๒๓ ระดับเงิน ร้อยละ ๑๕.๔๘ ระดับทองแดง ร้อยละ ๑๑.๐๘ ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน ร้อยละ ๙๘.๗๙ ระดับเพชร อยู่ระหว่างรอรับการประเมินรับรอง ๒ โรงเรียน (ร.ร.ยางตลาดวิทยาคาร / เทศบาล ๑) จุดเด่น ๑.โรงเรียนเกิดนวัตกรรมด้านสุขภาพ มีโครงงานด้านสุขภาพ และสามารถนามาใช้ในวิถีชีวิตได้ ๒.มีสิ่งแวดล้อมด้านกายภาพร่มรื่น สวยงาม เอื้อต่อการเรียน อยู่อาศรัย เข้าไปใช้จัดทากิจกรรมต่างๆ ๓.มีสุขาน่าใช้ ห้องน้าพูดได้ เกิดขึ้นในโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ จุดด้อย สภาพสังคมและสิ่งแวดล้อมในปัจจุบัน ส่งผลต่อพฤติกรรมเด็กวัยเรียนที่ไม่เหมาะสม การสื่อสารและ เทคโนโลยีมีการพัฒนามากขึ้น เด็กวัยเรียนได้รับอิทธิพล ค่านิยม และวัฒนธรรมตามกระแสสังคมตะวันตก ทาให้วิถี ชีวิตเปลี่ยนแปลงไป ทาให้มีพฤติกรรมบริโภคที่ไม่ถูกต้อง นิยมบริโภคอาหารจานด่วน อาหารขยะ ดื่มเครื่องดื่มที่ไม่มี

กลุ่มงานสร้ างเสริมสุ ขภาพ

หน้ า ๒๑


Health Promotion. KALASIN PUBLIC HEALTH OFFICE.

ประโยชน์ เนื่องจากมีส่วนผสมสารเสพติด ดื่มน้าอัดลม และมีเพศสัมพันธ์ในวัยเรียน จึงทาให้เกิดปัญหาด้าน พฤติกรรมสุขภาพ และไม่สามารถแก้ไขให้เป็นรูปธรรมได้ แผนงานระดับจังหวัด ปี ๒๕๕๕ มอบหมายพื้นที่ดาเนินการ วัตถุประสงค์ ๑.เพื่อส่งเสริมให้เด็กวัยเรียนและเยาวชนมีสุขภาวะที่ดี ตามเกณฑ์ ๒.เพื่อให้องค์กร หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ชุมชน มีส่วนร่วมในการพัฒนาโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพให้ได้มาตรฐาน และมีคุณภาพ ๓.เพื่อ ยกระดับ การพัฒนาโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพให้ประเมินผ่านเกณฑ์รับรองที่สูงขึ้น แนวทางดาเนินการ/การดาเนินกิจกรรม ๑.พัฒนาศักยภาพบุคลากร ฝุายศึกษา/สาธารณสุข/ ชุมชน ในการดูแลสุขภาวะของเด็กวัยเรียนให้มีสุขภาพ ตามเกณฑ์มาตรฐานโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ -

ตรวจสุขภาพเบื้องต้น โดยเจ้าหน้าที่สาธารณสุข / ครู ในเด็กนักเรียนชั้น ป.๑ – ๔

-

จัดหาและให้มีการใช้แบบบันทึกการตรวจสุขภาพด้วยตนเองนักเรียนชั้นป.๕–ม.๖ ครอบคลุมร้อยละ≥๘๐

๒.พัฒนาโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพให้ผ่านเกณฑ์รับรองที่สูงขึ้น -ประเมินรับรองโรงเรียนส่งเสริมฯ ในพื้นที่ทุกอาเภอ โดยคณะกรรมการระดับอาเภอ (ระดับ ทองพลัส / ทอง /เงิน / ทองแดง) สนับสนุน ช่วยเหลือวิชาการ ประสานหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ในการดาเนินโครงการฯ -คัดเลือกโรงเรียนแกนนาระดับทองพลัส (ผ่านเกณฑ์ประเมินรับรองระดับดีมากทุกองค์ประกอบ) เพื่อเป็นตัวแทนของแต่ละอาเภอๆ ละ ๑ โรงเรียน พื้นที่ดาเนินการ โรงเรียนทุกแห่ง ทุกสังกัด ทุกระดับ ในเขตพื้นที่รับผิดชอบทุกอาเภอ ๖๗๑ โรงเรียน เป้าหมาย -ระดับทองพลัส (ผ่านเกณฑ์ระดับดีมาก ๑๐ องค์ประกอบ) ร้อยละ ๕๐ -ระดับทอง (ผ่านเกณฑ์ระดับดีมาก ๘ องค์ประกอบขึ้นไป+ทองพลัส) ร้อยละ ๗๕ -โรงเรียนแกนนา ๑๘ โรงเรียน (อาเภอละ ๑ โรงเรียน) บทบาทสานักงานสาธารณสุขจังหวัดฯ -ส่งเสริม สนับสนุน โรงเรียนที่มีศักยภาพสูง เพื่อพัฒนาขึ้นสู่ระดับเพชร สนับสนุนวิชาการ ประสานหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ให้ความช่วยเหลืองบประมาณ และอานวยความสะดวก ในการดาเนินโครงการฯ พัฒนาศักยภาพทีมประเมินรับรองโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพจังหวัดกาฬสินธุ์

กลุ่มงานสร้ างเสริมสุ ขภาพ

หน้ า ๒๒


Health Promotion. KALASIN PUBLIC HEALTH OFFICE.

ประเมินรับรอง ยกระดับโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ ร่วมกับศูนย์อนามัยที่ ๖ และ กรมอนามัย บทบาท สสอ. / ร.พ. -จัดทาแผนงาน/โครงการฯ รองรับ เพื่อขยายผลการดาเนินงาน ให้บรรลุตัวชี้วัดโครงการฯ -แต่งตั้งคณะกรรมการ คณะทางาน ดูแลสุขภาวะเด็กนักเรียน ระดับอาเภอ -พัฒนาศักยภาพบุคลากรที่เกี่ยวข้องในการดาเนินงานโครงการฯ -สนับสนุนวิชาการ ให้คาชี้แนะ จัดหาสิ่งสนับสนุนให้โรงเรียนในพื้นที่ เพื่อให้การดาเนินงานบรรลุเปูาหมาย -ประสานหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในการอานวยความสะดวก ช่วยเหลือโรงเรียนในการดาเนินงาน -จัดทาคาสั่งแต่งตั้งบุคลากรหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เป็นคณะทางาน กรรมการ ประเมินรับรองโรงเรียน -คัดเลือกโรงเรียนแกนนาระดับทองพลัส(ผ่านเกณฑ์ประเมินรับรองระดับดีมากทุกองค์ประกอบ) เพื่อเป็น ตัวแทนของอาเภอๆ ละ ๑ โรงเรียน ในการพัฒนาก้าวสู่ระดับเพชร -รายงานผลการดาเนินงานตามโครงการฯ (ด้านภาวะสุขภาพ โภชนาการ ผลประเมินโรงเรียน)เทอมละ ๑ ครั้ง สิ่งสนับสนุน -งบประมาณ (ภาคผนวก) คู่มือการตรวจสุขภาพด้วยตนเอง/คู่มือการอบรมผู้นานักเรียน แผ่นวัดสายตา/ อร.๑๔ ตัวชี้วัด -โรงเรียนผ่านเกณฑ์ประเมินรับรองระดับทองพลัส ร้อยละ ๕๐ โรงเรียนผ่านเกณฑ์ประเมินรับรองระดับทอง ร้อยละ ๗๕ นักเรียนมีภาวะโภชนาการ -น้าหนักต่ากว่าเกณฑ์ ไม่เกินร้อยละ ๕ -น้าหนักเกินเกณฑ์ ไม่เกินร้อยละ ๗ นักเรียนมีภาวะสุขภาพ –ขาดสารไอโอดีน / ขาดธาตุเหล็ก ไม่เกินร้อยละ ๕ การติดตามประเมินผล -ระดับอาเภอ เทอมละ ๑ ครั้ง (เทอมต้น มิ.ย.-ก.ค. / เทอมปลาย ม.ค.-ก.พ.) ระดับจังหวัดฯ เทอมต้น ส.ค.-ก.ย. / เทอมปลาย ก.พ.- มี.ค.) ***************

กลุ่มงานสร้ างเสริมสุ ขภาพ

หน้ า ๒๓


Health Promotion. KALASIN PUBLIC HEALTH OFFICE.

แบบรายงานผลการดาเนินงานโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ ปีงบประมาณ ๒๕๕๔ จังหวัดกาฬสินธุ์ ประเภท ลาดับ

๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๖ ๗ ๘ ๙ ๑๐ ๑๑ ๑๒ ๑๓ ๑๔ ๑๕ ๑๖ ๑๗ ๑๘

โรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ

อาเภอ

กุฉินารายณ์ นาคู เขาวง ห้วยผึ้ง นามน คาม่วง สมเด็จ ยางตลาด ห้วยเม็ก หนองกุงศรี ท่าคันโท ฆ้องชัย เมือง กมลาไสย สหัสขันธ์ ร่องคา สามชัย ดอนจาน รวม

ประถม มัธยม ๕๗ ๕ ๒๔ ๒ ๑๖ ๓ ๒๐ ๒ ๒๒ ๒ ๒๘ ๒ ๔๕ ๔ ๖๔ ๗ ๓๔ ๕ ๔๕ ๕ ๒๒ ๒ ๑๘ ๓ ๗๘ ๘ ๔๐ ๔ ๓๘ ๓ ๑๐ ๑ ๒๑ ๑ ๑๖ ๒ ๕๙๘ ๖๑

รวม เพชร ทอง เงิน ๖๒ ๐ ๕๑ ๖ ๒๖ ๐ ๒๐ ๓ ๑๙ ๐ ๑๘ ๑ ๒๒ ๐ ๑๓ ๓ ๒๔ ๐ ๑๘ ๖ ๓๐ ๐ ๒๐ ๗ ๔๙ ๐ ๒๗ ๑๓ ๗๑ ๐ ๕๘ ๘ ๓๙ ๐ ๓๙ ๐ ๕๐ ๐ ๓๓ ๙ ๒๔ ๐ ๒๓ ๑ ๒๑ ๐ ๒๐ ๐ ๘๖ ๐ ๖๐ ๑๔ ๔๔ ๐ ๒๖ ๑๐ ๔๑ ๐ ๑๙ ๑๒ ๑๑ ๐ ๖ ๑ ๒๒ ๐ ๑๔ ๕ ๑๘ ๐ ๑๑ ๓ ๖๕๙ ๐ ๔๗๖ ๑๐๒

ผ่านเกณฑ์ประเมินมาตรฐานโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ ระดับทอง ระดับเงิน ระดับทองแดง ไม่ผ่านเกณฑ์ประเมิน

กลุ่มงานสร้ างเสริมสุ ขภาพ

ทอง แดง ๕ ๓ ๐ ๖ ๐ ๓ ๘ ๔ ๐ ๘ ๐ ๐ ๑๐ ๗ ๑๐ ๓ ๓ ๓ ๗๓

ไม่ ผ่าน ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐

ไม่เข้า ร่วม ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๑ ๑ ๐ ๐ ๐ ๑ ๒ ๑ ๐ ๑ ๑ ๑ ๙

หมาย เหตุ

ร้อยละ ๙๘.๗๙ ร้อยละ ๗๒.๒๓ ร้อยละ ๑๕.๔๘ ร้อยละ ๑๑.๐๘ ร้อยละ ๑.๒๑ หน้ า ๒๔


Health Promotion. KALASIN PUBLIC HEALTH OFFICE.

รายงานผลการดาเนินงานโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ ปีงบประมาณ ๒๕๕๕ จังหวัดกาฬสินธุ์ ประเภท ลาดับ ๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๖ ๗ ๘ ๙ ๑๐ ๑๑ ๑๒ ๑๓ ๑๔ ๑๕ ๑๖ ๑๗ ๑๘

โรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ

อาเภอ ประถม มัธยม ๕๗ ๕ ๒๔ ๒ ๑๖ ๓ ๒๐ ๒ ๒๒ ๒ ๒๘ ๒ ๔๕ ๔ ๖๔ ๗ ๓๔ ๕ ๔๕ ๕ ๒๒ ๒ ๑๘ ๓ ๗๘ ๘ ๔๐ ๔ ๓๘ ๓ ๑๐ ๑ ๒๑ ๑ ๑๖ ๒ ๕๙๘ ๖๑

กุฉินารายณ์ นาคู เขาวง ห้วยผึ้ง นามน คาม่วง สมเด็จ ยางตลาด ห้วยเม็ก หนองกุงศรี ท่าคันโท ฆ้องชัย เมือง กมลาไสย สหัสขันธ์ ร่องคา สามชัย ดอนจาน รวม

รวม ๖๒ ๒๖ ๑๙ ๒๒ ๒๔ ๓๐ ๔๙ ๗๑ ๓๙ ๕๐ ๒๔ ๒๑ ๘๖ ๔๔ ๔๑ ๑๑ ๒๒ ๑๘ ๖๕๙

ทองพลัส ทอง เงิน

ทอง แดง

หมาย ไม่ผ่าน เหตุ

ผ่านเกณฑ์ประเมินมาตรฐานโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพร้อยละ ระดับทองพลัส

ร้อยละ

ระดับเงิน

ระดับทอง

ร้อยละ

ระดับทองแดง ร้อยละ

กลุ่มงานสร้ างเสริมสุ ขภาพ

ร้อยละ

ไม่ผ่านเกณฑ์ประเมิน ร้อยละ

หน้ า ๒๕


Health Promotion. KALASIN PUBLIC HEALTH OFFICE.

ตัวชี้วัดที่ ๑ : ร้อยละของโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพผ่านเกณฑ์ประเมินรับรองระดับทอง หน่วยวัด : ร้อยละ น้าหนัก : ๒๐ คะแนน ค่าเป้าหมาย ร้อยละ ๗๕ คาอธิบาย โรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ หมายถึง โรงเรียนที่มีความร่วมมือ ร่วมใจกันพัฒนาพฤติกรรมและ สิ่งแวดล้อม ให้เอื้อต่อสุขภาพอย่างสม่าเสมอ เพื่อการมีสุขภาพดีของทุกคนในโรงเรียน ภายใต้ ๑๐ องค์ประกอบ ดังนี้ ๑. นโยบายของโรงเรียน ๒. การบริหารจัดการในโรงเรียน ๓. โครงการร่วมระหว่างโรงเรียนและชุมชน ๔. การจัดสิ่งแวดล้อมในโรงเรียนที่เอื้อต่อสุขภาพ ๕. บริการอนามัยโรงเรียน ๖. สุขศึกษาในโรงเรียน ๗. โภชนาการและอาหารที่ปลอดภัย ๘. การออกกาลังกาย กีฬาและนันทนาการ ๙. การให้คาปรึกษาและสนับสนุนทางสังคม ๑๐. การส่งเสริมสุขภาพบุคลากรในโรงเรียน การประเมินรับรองโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ โรงเรียนส่งเสริมสุขภาพมีการประเมินรับรอง ตามเกณฑ์มาตรฐานดังนี้ ระดับทอง หมายถึง โรงเรียนที่มีการดาเนินงานด้านสุขภาพตามองค์ประกอบผ่านเกณฑ์ประเมินขั้นดีมากไม่ น้อยกว่า ๘ องค์ประกอบ และอีก ๒ องค์ประกอบที่เหลือมีผลประเมินไม่ต่ากว่าระดับดี เกณฑ์การให้คะแนน : กาหนดเป็นระดับขั้นของความสาเร็จ (Milestone) แบ่งเกณฑ์การให้คะแนนเป็น ๕ ระดับ พิจารณา จากความก้าวหน้าของขั้นตอนการดาเนินงานตามเปูาหมายแต่ละระดับ ดังนี้ ระดับคะแนน ๑ ๒ ๓ ๔ ๕

ขั้นตอนที่ ๑     

กลุ่มงานสร้ างเสริมสุ ขภาพ

ระดับขั้นของความสาเร็จ (Milestone) ขั้นตอนที่ ๒ ขั้นตอนที่ ๓ ขั้นตอนที่ ๔    

  

 

ขั้นตอนที่ ๕

หน้ า ๒๖


Health Promotion. KALASIN PUBLIC HEALTH OFFICE.

โดยที่ : เกณฑ์การให้คะแนนระดับขั้นของความสาเร็จ ดังนี้ ระดับ เกณฑ์การให้คะแนน คะแนน ๑ ขั้นตอนที่ ๑ มีคณะกรรมการพัฒนาโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพและคณะกรรมการประเมิน ระดับอาเภอ ตามแนวทางที่กาหนด ๒ ๓ ๔ ๕

ขั้นตอนที่ ๒ มีแผนงานโครงการสนับสนุนให้เกิดการพัฒนาโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพเพื่อให้ ผ่านเกณฑ์ประเมินฯ ขั้นตอนที่ ๓ มีการดาเนินการตามแผนงานโครงการที่กาหนดไว้ และมีการประเมินโรงเรียน เพื่อรับรองเกียรติคุณระดับ ทอง เงินและทองแดง ขั้นตอนที่ ๔ มีผลสาเร็จของการพัฒนาโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพที่ผ่านเกณฑ์ประเมิน มาตรฐานระดับทอง ร้อยละ ๕๐ ขั้นตอนที่ ๕ มีผลการประเมินผลสาเร็จของการดาเนินงานพัฒนาโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพที่ ผ่านเกณฑ์ประเมินมาตรฐานระดับทอง มากกว่าร้อยละ ๕๐

รายละเอียดข้อมูลพื้นฐาน :

ข้อมูลพื้นฐานประกอบตัวชี้วัด โรงเรียนส่งเสริมสุขภาพผ่านเกณฑ์มาตรฐาน โรงเรียนส่งเสริมสุขภาพผ่านเกณฑ์ระดับทอง ผู้กากับดูแลตัวชี้วัด : นางสาววิมลรัตน์ ภูผาสุข ผู้จัดเก็บข้อมูล : นางสมหวัง กลางประพันธ์

กลุ่มงานสร้ างเสริมสุ ขภาพ

หน่วย วัด ร้อยละ ร้อยละ

ผลการดาเนินงานในอดีต ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๓ ๒๕๕๔ ๒๕๕๕ ๗๕ ๘๕ ๙๕ ๕๖ ๗๑ ๗๕ เบอร์ติดต่อ : ๐๔๓-๘๑๑๑๖๘ เบอร์ติดต่อ : ๐๔๓–๘๑๒๒๔๐

หน้ า ๒๗


Health Promotion. KALASIN PUBLIC HEALTH OFFICE.

ตัวชี้วัดที่ ๒ : ร้อยละของโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพผ่านเกณฑ์ประเมินรับรองระดับทองพลัส หน่วยวัด : ร้อยละ น้าหนัก : ๑๐ คะแนน ค่าเป้าหมาย ร้อยละ ๕๐ คาอธิบาย โรงเรียนส่งเสริมสุขภาพระดับทองพลัส หมายถึง โรงเรียนที่มีการดาเนินงานด้านสุขภาพตาม องค์ประกอบผ่านเกณฑ์ประเมินขั้นดีมากครบทั้ง ๑๐ องค์ประกอบ ระดับความสาเร็จในการพัฒนาโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพผ่านเกณฑ์ระดับทองพลัส มีกระบวนการ หรือกิจกรรมที่สามารถผลักดันให้เกิดโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพผ่านการประเมินรับรองตามองค์ประกอบ ระดับดี มากทั้ง ๑๐ องค์ประกอบ ซึ่งพิจารณาจากระดับความสาเร็จของการดาเนินงานจนบรรลุเปูาหมาย โดย กาหนดเป็นระดับขั้นของความสาเร็จ(Milestone)แบ่งเกณฑ์การให้คะแนนเป็น ๕ ระดับ เกณฑ์การให้คะแนน : กาหนดเป็นระดับขั้นของความสาเร็จ (Milestone) แบ่งเกณฑ์การให้คะแนนเป็น ๕ ระดับ พิจารณา จากความก้าวหน้าของขั้นตอนการดาเนินงานตามเปูาหมายแต่ละระดับ ดังนี้ ระดับขั้นของความสาเร็จ (Milestone)

ระดับคะแนน ขั้นตอนที่ ๑

ขั้นตอนที่ ๒

ขั้นตอนที่ ๓

ขั้นตอนที่ ๔

กลุ่มงานสร้ างเสริมสุ ขภาพ

ขั้นตอนที่ ๕

หน้ า ๒๘


Health Promotion. KALASIN PUBLIC HEALTH OFFICE.

โดยที่ : เกณฑ์การให้คะแนนระดับขั้นของความสาเร็จ ดังนี้ ระดับ เกณฑ์การให้คะแนน คะแนน ๑ ขั้นตอนที่ ๑ มีคณะกรรมการพัฒนาโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพและคณะกรรมการประเมิน ระดับอาเภอ ตามแนวทางที่กาหนด ๒ ๓ ๔

ขั้นตอนที่ ๒ มีแผนงานโครงการสนับสนุนให้เกิดการพัฒนาโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพเพื่อให้ ผ่านเกณฑ์ประเมินฯ ขั้นตอนที่ ๓ มีการดาเนินการตามแผนงานโครงการที่กาหนดไว้ และมีการประเมินโรงเรียน เพื่อรับรองเกียรติคุณระดับ ทอง เงินและทองแดง ขั้นตอนที่ ๔ มีผลสาเร็จของการพัฒนาโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพที่ผ่านเกณฑ์ประเมิน มาตรฐานระดับทอง (ผ่านระดับดีมาก ๘ องค์ประกอบ และ ๒ องค์ประกอบที่เหลือผ่าน ระดับดี) ขั้นตอนที่ ๕ มีผลการประเมินผลสาเร็จของการดาเนินงานพัฒนาโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพที่ ผ่านเกณฑ์ประเมินระดับทอง และมีผลประเมินฯ ในระดับดีมาก ทั้ง ๑๐ องค์ประกอบ

รายละเอียดข้อมูลพื้นฐาน :

ข้อมูลพื้นฐานประกอบตัวชี้วัด โรงเรียนส่งเสริมสุขภาพระดับทอง โรงเรียนส่งเสริมสุขภาพระดับทองพลัส โรงเรียนส่งเสริมสุขภาพระดับเพชร

หน่วยวัด ร้อยละ ร้อยละ ร้อยละ

ผู้กากับดูแลตัวชี้วัด : นางสาววิมลรัตน์ ภูผาสุข ผู้จัดเก็บข้อมูล : นางสมหวัง กลางประพันธ์

กลุ่มงานสร้ างเสริมสุ ขภาพ

ผลการดาเนินงานในอดีต ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๓ ๒๕๕๔ ๒๕๕๕ ๕๖ ๗๑ ๗๕ ๔๐ ๔๕ ๕๐ เบอร์ติดต่อ : ๐๔๓-๘๑๑๑๖๘ เบอร์ติดต่อ : ๐๔๓–๘๑๒๒๔๐

หน้ า ๒๙


Health Promotion. KALASIN PUBLIC HEALTH OFFICE.

จัดสรรงบประมาณให้อาเภอดาเนินการ ตามโครงการ ดังนี้ อาเภอ งบประมาณที่ได้รับจัดสรร เมืองกาฬสินธุ์ ๑๕,๐๐๐. ยางตลาด ๑๒,๕๐๐. ห้วยเม็ก ๗,๐๐๐. หนองกุงศรี ๘,๕๐๐. ท่าคันโท ๔,๐๐๐. สหัสขันธ์ ๗,๕๐๐. สมเด็จ ๘,๕๐๐. คาม่วง ๕,๐๐๐. สามชัย ๔,๐๐๐. นามน ๔,๕๐๐. ห้วยผึ้ง ๔,๐๐๐. นาคู ๔,๕๐๐. เขาวง ๔,๐๐๐. กุฉินารายณ์ ๑๐,๐๐๐. ร่องคา ๓,๐๐๐. กมลาไสย ๘,๐๐๐. ฆ้องชัย ๓,๕๐๐. ดอนจาน ๓,๐๐๐. จังหวัดฯ ๖,๑๖๐. รวมทั้งสิ้น ๑๒๒,๑๖๐.

กลุ่มงานสร้ างเสริมสุ ขภาพ

กิจกรรม -อบรม จนท.สอ. ครูอนามัย ร.ร. - ติดตามประเมิน รับรองผลการ พัฒนา ร.ร. (ระดับทอง เงิน และทองแดง) -คัดเลือก ร.ร. แกนนาที่มีผล การพัฒนาก้าว หน้าเป็นตัวแทน อาเภอละ ๑ ร.ร (ระดับทองพลัส)

หมายเหตุ เลือกดาเนินการ กิจกรรมที่เหมาะสม แต่ละพื้นที่ ตาม งบประมาณที่จัด สรร หรือบูรณาการ กับงานทันตสุขภาพ

หน้ า ๓๐


Health Promotion. KALASIN PUBLIC HEALTH OFFICE.

ชื่อโครงการ : การพัฒนาวัดส่งเสริมสุขภาพต้นแบบ ปี ๒๕๕๕ ผู้รับผิดชอบ : ดร.ศิริชัย รินทะราช นางสาวนภัสวรรณ สนธินอก สถานการณ์ของแผนงาน/โครงการ สถานการณ์วัดส่งเสริมสุขภาพ จากผลการประเมินในปี ๒๕๕๔ โดยคณะกรรมการประเมินระดับ จั ง หวั ด จ านวน ๑๘ วั ด ๑๘ อ าเภอ พบว่ า ผ่ า นเกณฑ์วั ด ส่ ง เสริ ม สุ ข ภาพตามเกณฑ์ มาตรฐาน ๕ ร. ทั้ง ๑๘ วัด ประกอบด้วย ลาดับ ๑. ๒. ๓. ๔. ๕. ๖. ๗. ๘. ๙. ๑๐. ๑๑. ๑๒. ๑๓. ๑๔. ๑๕. ๑๖. ๑๗. ๑๘.

สถานที่ วัดประสิทธิไชยราม ตาบลลาปาว วัดบ้านโจด ตาบลเจ้าท่า วัดบูรพาโคกเครือ ตาบลอุ่มเม่า วัดธรรมพิทักษ์ ตาบลห้วยเม็ก วัดทรงธรรมภูผาสวรรค์ ตาบลนาตาล วัดหนองหอไตร ตาบลลาหนองแสน วัดโพธิ์ศรีสว่างหนองช้าง ตาบลหนองช้าง วัดเทพรังสีศิลาราม ตาบลนาบอน วัดพุทธนิมิตภูค่าว ตาบลสหัสขันธ์ วัดปุาวารีวัน ตาบลหมูม่น วัดปทุมรังสี ตาบลภูแล่นช้าง วัดโพนสวาง ตาบลคุ้มใหม่ วัดบ้านหนองอีบุตร ตาบลหนองอีบุตร วัดสิมนาโก ตาบลนาโก วัดศรีสะอาดนามน ตาบลนามน วัดศรีจันทร์โพธาราม ตาบลม่วงนา วัดบ้านโนนศิลาเลิง ตาบลโนนศิลาเลิง วัดปุาสันติธรรม ตาบลเหล่าอ้อย

อาเภอ อาเภอเมือง อาเภอกมลาไสย อาเภอยางตลาด อาเภอห้วยเม็ก อาเภอท่าคันโท อาเภอหนองกุงศรี อาเภอสามชัย อาเภอคาม่วง อาเภอสหัสขันธ์ อาเภอสมเด็จ อาเภอนาคู อาเภอเขาวง อาเภอห้วยผึ้ง อาเภอกุฉินารายณ์ อาเภอนามน อาเภอดอนจาน อาเภอฆ้องชัย อาเภอร่องคา

สรุปผลงาน วัดที่มีผลการดาเนินงานวัดส่งเสริมสุขภาพ ในระดับดี และดีเด่น จานวน ๗ วัด ประกอบด้วย ๑. วัด โนนศิลาเลิง ๒. วัดบูรพาโคกเครือ ๓. วัดประสิทธิ์ไชยาราม ๔. วัดบ้านหนองอีบุตร ๕. วัดโพธิ์ศรีสว่าง หนองช้าง ๖. วัดโพนสวาง และ ๗. วัดปุาวารีวัน

กลุ่มงานสร้ างเสริมสุ ขภาพ

หน้ า ๓๑


Health Promotion. KALASIN PUBLIC HEALTH OFFICE.

จุดเด่น ๑. มีการดาเนินกิจกรรมมาต่อเนื่อง ทาให้วัดมีแนวทางการพัฒนาวัดส่งเสริมสุขภาพได้ชัดเจนขึ้น เช่น การจัดทาหลักสูตรพระสงฆ์ การประเมินวัดส่งเสริมสุขภาพ เป็นต้น ๒. การเข้ามามีส่วนร่วมของทุกภาคส่วนทั้งในระดับอาเภอ ระดับตาบล และในชุมชน จุดด้อย ๑. ระดับจังหวัด ๑.๑ ขาดการบูรณาการโครงการเข้าด้วยกันกับงานที่เกี่ยวข้อง เช่น โครงการดูแลผู้สูงอายุระยะ ยาว LTC ๑.๒ ขาดการบูรณาการการทางานระหว่างหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในการกาหนดกิจกรรมพัฒนา ร่วมกัน ประกอบด้วย สานักงานวัฒนธรรมจังหวัดกาฬสินธุ์ สานักงานพระพุทธศาสนา เป็นต้น ๒ ระดับอาเภอ ๒.๑ ภาพรวมยังขาดการกระบวนการคัดเลือกวัดส่งเสริมสุขภาพในรูปแบบคณะกรรมการประเมิน ระดับตาบล และคณะกรรมการระดับอาเภอจากภาคส่วนที่เกี่ยวข้องเพื่อให้ทุกวัดได้เข้ามามีส่วนร่วม ยังเน้น เลือกแบบเจาะจงเพื่อเป็นตัวแทน แผนงานระดับจังหวัด ปี ๒๕๕๕ มอบหมายพื้นที่ดาเนินการ วัตถุประสงค์ ๑. เพื่อพัฒนาต่อยอดวัดส่งเสริมสุขภาพดีเด่นที่ผ่านการคัดเลือกกลั่นกรอง ในปี ๒๕๕๔ ๒. เพื่อพัฒนาวัดส่งเสริมสุขภาพแบบบูรณาการกับงานดูแลผู้สูงอายุระยะยาว LTC แนวทางดาเนินการ/การดาเนินกิจกรรม ๑ ระดับจังหวัด ๑.๑ ชี้แจงแนวทางการพัฒนาวัดส่งเสริมสุขภาพ การดาเนินโครงการต่อที่ประชุมสงฆ์ของจังหวัด กาฬสินธุ์ ประสานผ่านเลขาเจ้าคณะจังหวัดกาฬสินธุ์ ๑.๒ แต่งตั้งคณะกรรมการประเมินผลวัดส่งเสริมสุขภาพ ระดับอาเภอ และระดับจังหวัด ๑.๓ วัดที่ผ่านการคัดเลือก ปี ๒๕๕๔ เสนอโครงการเพื่อขอรับงบประมาณสนับสนุนกิจกรรม ๑.๔ นาเสนอกิจกรรม โครงการ ๒. ระดับอาเภอ ๒.๑ ส่งรายชื่อ แต่งตั้งคณะกรรมการประเมิน และพัฒนาวัดส่งเสริมสุขภาพ ระดับอาเภอให้ จังหวัดแต่งตั้งเป็นคาสั่งในภาพรวมทั้งจังหวัด ๒.๒ ในพื้นที่ ๑๑ อาเภอ ประสานเจ้าคณะอาเภอ ผู้เกี่ยวข้องดาเนินการพัฒนาวัดส่งเสริมสุขภาพ ตามเกณฑ์ ๕ ร. และพิจารณาคัดเลือกในระดับตาบล โดยการบูรณาการในโครงการดูแลผู้สูงอายุระยะยาว LTC

กลุ่มงานสร้ างเสริมสุ ขภาพ

หน้ า ๓๒


Health Promotion. KALASIN PUBLIC HEALTH OFFICE.

๒.๓ ในพื้นที่ ๗ อาเภอ ที่ผ่านการคัดเลือกจาก ปี ๒๕๕๔ เขียนโครงการรับการสนับสนุน งบประมาณเพื่อพัฒนาต่อยอดให้เป็นวัดส่งเสริมสุขภาพที่สามารถเป็นแหล่งศึกษาดูงาน และแหล่งเรียนรู้ของ จังหวัดกาฬสินธุ์ได้ พื้นที่ดาเนินการ / เป้าหมาย พื้นที่ดาเนินการ ทั้ง ๑๘ อาเภอ บทบาท สสจ ๑. แต่งตั้งคณะทางาน คณะกรรมการพัฒนาวัดส่งเสริมสุขภาพระดับ จังหวัด ๒. ดาเนินการประชุมชี้แจงเจ้าคณะอาเภอ และวัดในพื้นที่ทราบถึงแนวทางการพัฒนาวัดส่งเสริม สุขภาพ ๓. ดาเนินการประเมินผล พิจารณาคัดเลือกวัดส่งเสริมสุขภาพโดยบูรณาการกับงานดูแลผู้สูงอายุ ระยะยาว LTC ระดับอาเภอ ส่งผลการประเมินให้คณะกรรมการระดับจังหวัด บทบาท สสอ./ร.พ. ๑. ส่งรายชื่อคณะกรรมการให้ระดับจังหวัดเพื่อแต่งตั้งคณะกรรมการพัฒนาวัดส่งเสริมสุขภาพระดับ อาเภอ ในภาพรวมทั้ง ๑๘ อาเภอ ๒. ดาเนินการประชุมชี้แจงเจ้าคณะอาเภอ และวัดในพื้นที่ทราบถึงแนวทางการพัฒนาวัดส่งเสริม สุขภาพ ๓. ดาเนินการประเมินผล พิจารณาคัดเลือกวัดส่งเสริมสุขภาพโดยบูรณาการกับงานดูแลผู้สูงอายุ ระยะยาว LTC ระดับอาเภอ ส่งผลการประเมินให้คณะกรรมการระดับจังหวัด บทบาท รพ.สต. ๑. แต่งตั้งคณะทางาน คณะกรรมการพัฒนาวัดส่งเสริมสุขภาพระดับตาบล ๒. ดาเนินการประชุมชี้แจงเจ้าคณะตาบล และวัดในพื้นที่ทราบถึงแนวทางการพัฒนาวัดส่งเสริม สุขภาพ ๓. พื้นที่พัฒนาต่อยอดวัดส่งเสริมสุขภาพใน ๗ อาเภอให้เขียนโครงการกิจกรรมเพื่อนาเสนอระดับ จังหวัดและรับสนับสนุนงบประมาณ วัดละ ๕,๐๐๐ บาท ๔. ดาเนินการประเมินผล พิจารณาคัดเลือกวัดส่งเสริมสุขภาพโดยบูรณาการกับงานดูแลผู้สูงอายุ ระยะยาว LTC ส่งผลการประเมินให้คณะกรรมการระดับอาเภอ สิ่งสนับสนุน คู่มือแนวทางการพัฒนาวัดส่งเสริมสุขภาพ Download บน webpage ตัวชี้วัด จานวนวัดส่งเสริมสุขภาพระดับอาเภอผ่านเกณฑ์วัดส่งเสริมสุขภาพระดับดีเด่น จานวน ๑ แห่ง ติดตามประเมินผล ติดตามประเมินผลโดยคณะกรรมการระดับจังหวัด ระหว่างเดือนมิถุนายน ๒๕๕๕

กลุ่มงานสร้ างเสริมสุ ขภาพ

หน้ า ๓๓


Health Promotion. KALASIN PUBLIC HEALTH OFFICE.

ชือ่ โครงการ โครงการส่งเสริม พัฒนา และสนับสนุน อสม. ในการดาเนินงานสุขภาพภาคประชาชน ปี ๒๕๕๕ ผู้รับผิดชอบโครงการ นายพิทักษ์ กาญจนศร สถานการณ์ของแผนงานโครงการ ในปี พ.ศ.๒๕๕๒ - ๒๕๕๔ ที่ผ่านมาสานักงานสาธารณสุขจังหวัดกาฬสินธุ์ได้ดาเนินการสนับสนุนและ พัฒนาศักยภาพ อสม.มาอย่างต่อเนื่อง ตามโครงการพัฒนาสุขศาลา กาฬสินธุ์ จานวน ๑,๔๔๓ แห่ง โดยได้จัด ให้มีการอบรมพัฒนาศักยภาพ อสม.ในหลักสูตรมาตรฐาน อสม.จังหวัดกาฬสินธุ์ จานวน ๑๕,๑๘๘ คน อบรม อสม.ขั้นสูง จานวน ๒ รุ่น ๑๗๘ คน ในหมู่บ้านสุขศาลาต้นแบบ นอกจากนี้ยังมีการอบรม อสม.เชี่ยวชาญ จานวน ๒,๘๐๘ คน มีการคัดเลือก อสม.ดีเด่น สนับสนุนชมรม อสม.ทุกระดับ จัดประชุมชมรม อสม.ระดับ จังหวัดทุกเดือน สนับสนุนวัน อสม.แห่งชาติ ผลงานของ อสม.ได้สร้างให้ชุมชนมีมากมายหลายประการ ไม่ว่า จะเป็นการส่งเสริมสุขภาพ การปูองกันโรค การรักษาพยาบาล การดูแลเบื้องต้น การฟื้นฟูสภาพ และการ คุ้มครองผู้บริโภค และในปี พ.ศ. ๒๕๕๒ รัฐบาลได้ส่งเสริมขวัญกาลังใจในการมอบค่าตอบแทนแก่ อสม. ทุกคน นับเป็นการกระตุ้นส่งเสริมการดาเนินงานของ อสม.ให้มีศักยภาพมากยิ่งขึ้น ซึ่งผลงานของ อสม.ที่ดาเนินงาน ในชุมชนได้ส่งเสริมให้ประชาชนมีคุณภาพชีวิตที่มีสุขภาพดีขึ้น การส่งเสริม พัฒนา สนับสนุนอาสาสมัครสาธารณสุข (อสม.) และการให้ความสาคัญกับ อสม.นับว่า เป็นแนวทางที่สาคัญในการส่งเสริมการดาเนินงานสาธารณสุขทุกด้านให้ประสบผลสาเร็จ ส่งผลต่อการมี สุขภาพดีแบบพอเพียงของพี่น้องประชาชน วัตถุประสงค์ของโครงการ ๑. เพื่อส่งเสริมสนับสนุนการดาเนินงานสุขภาพภาคประชาชน ๒. เพื่อพัฒนาและเสริมสร้างแรงจูงใจแก่ อสม.ในการดาเนินงานสุขภาพภาคประชาชน ๓. เพื่อเสริมสร้างขวัญกาลังใจและสร้างความเข้มแข็งให้แก่ อสม. แนวทางการดาเนินงาน งานฐานข้อมูล อสม. การบันทึกและปรับปรุงฐานข้อมูล อสม. กระทรวงได้กาหนดให้บันทึกบนเว็ปไซต์ของกระทรวงที่สร้าง ขึ้นใช้ร่วมกันทั้งประเทศ โดยมีรหัสผ่านของสถานบริการทุกแห่งเข้าไปจัดการ เพื่อเป็นการจัดทาฐานข้อมูล อสม.จังหวัดกาฬสินธุ์ให้ถูกต้อง ครบถ้วน เป็นปัจจุบันและรองรับสิทธิประโยชน์ของ อสม.ในพื้นที่ รวมถึงค่าตอบแทน อสม. เดือนละ ๖๐๐ บาท กระทรวงจะใช้ข้อมูลจากเวปไซต์นี้ในการ ตรวจสอบชื่อ อสม.ที่มีสิทธิ์ให้ได้รับค่าตอบแทน จึงขอความร่วมมือจากสถานบริการทุกแห่ง ให้ดาเนินการเร่งรัดในการปรับปรุงแก้ไขฐานข้อมูล กลุ่มงานสร้ างเสริมสุ ขภาพ

หน้ า ๓๔


Health Promotion. KALASIN PUBLIC HEALTH OFFICE.

อสม.ในพื้นที่ที่ตัวเองรับผิดชอบ ผ่านเวปไซต์ http://www.thaiphc.net ทั้งในส่วนข้อมูล อสม. คู่สมรส อสม. บุตรอสม. และข้อมูลที่เกี่ยวข้องอื่นๆให้แล้วเสร็จ เป็นปัจจุบัน ในส่วนการแก้ไขข้อมูล อสม.ใหม่ อสม.แทนคนที่ลาออก เสียชีวิต พ้นสภาพ ให้ส่งข้อมูลเข้าให้จังหวัด เพื่อบันทึกให้ เนื่องจากกระทรวงได้กาหนดให้จังหวัดแป็นผู้แก้ไขข้อมูล การเป็น อสม.ใหม่ เท่านั้น โดยการส่ง เอกสารใบสมัคร ทั้งคนใหม่และคนที่ออก ประกอบด้วยใบสมัคร อสม.ใหม่ ใบลาออก สาเนาบัตร สาเนา ทะเบียนบ้าน และกรอกเอกสารข้อมูล อสม.คนใหม่ ตามแบบรายงานที่ขึ้นเวปให้ ทั้งนี้ข้อมูล อสม.แต่ละสถานบริการจะต้องมีจานวนเท่ากับข้อมูลที่ได้รับเงินค่าปุวยการในปัจจุบันนี้ เท่านั้น จานวน อสม.จะต้องไม่เกินที่ได้รับเงินปัจจุบัน งานคัดเลือก อสม.ดีเด่น ตามที่ กระทรวงสาธารณสุข ได้มีนโยบายคัดเลือก อสม.ดีเด่น เพื่อเป็นการเชิดชูเกียรติและ สร้างขวัญกาลังใจแก่ อสม. ที่ได้ร่วมกันพัฒนางานสาธารณสุขด้วยความเสียสละตลอดจนเพื่อเป็นการเผยแพร่ ผลงานดีเด่นของ อสม. สาขาต่างๆ ซึ่งในปีนี้กระทรวงได้มีการปรับปรุงเกณฑ์และสาขาในการคัดเลือก อสม. ดีเด่น ประจาปี ๒๕๕๕ ใหม่ โดยมีทั้งสิ้นจานวน ๑๐ สาขา โดยการคัดเลือก อสม.ดีเด่น ของจังหวัดกาฬสินธุ์ ได้กาหนดแนวทางการคัดเลือกเป็น ๓ ระดับ คือ ระดับตาบล ระดับอาเภอ และระดับจังหวัด สานักงานสาธารณสุขจังหวัดกาฬสินธุ์ ได้พิจารณาเบื้องต้นเห็นว่าการคัดเลือก อสม.ดีเด่น ระดับจังหวัดในปี ๒๕๕๕ นี้จะทาการคัดเลือกโดยใช้เกณฑ์ส่วนกลาง ร่วมกับการพิจารณาผลงานด้าน สาธารณสุขจากการดาเนินงานในพื้นที่ ที่มีผลงานเด่นและเกี่ยวข้องกับ อสม. ในรอบปีที่ผ่านมา เช่นพื้นที่ที่ ได้รับรางวัลดีเด่นด้านต่างๆ โดยให้ระดับอาเภอและระดับจังหวัดพิจารณาร่วมกัน เพื่อค้นหา อสม.ดีเด่นใน พื้นที่ผลงานเด่นด้านนั้นๆเป็นตัวแทนในระดับจังหวัด สาขาที่ทาการคัดเลือก อสม.ดีเด่น ๑๐ สาขา ดังนี้ ๑. สาขาการเฝูาระวัง ปูองกันและควบคุมโรคติดต่อ ๒. สาขาการส่งเสริมสุขภาพ ๓. สาขาสุขภาพจิตในชุมชน ๔. สาขาการปูองกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดในชุมชน ๕. สาขาการบริการในศูนย์สาธารณสุขมูลฐานชุมชน(ศสมช.)และการสร้างหลักประกันสุขภาพ ๖. สาขาการคุ้มครองผู้บริโภคด้านสุขภาพ ๗. สาขาภูมิปัญญาท้องถิ่นด้านสุขภาพ ๘. สาขาการปูองกันและแก้ไขปัญหาเอดส์ในชุมชน ๙. สาขาการจัดการสุขภาพชุมชน ๑๐. สาขานมแม่สายใยรักแห่งครอบครัว

กลุ่มงานสร้ างเสริมสุ ขภาพ

หน้ า ๓๕


Health Promotion. KALASIN PUBLIC HEALTH OFFICE.

ผู้ได้รับการคัดเลือกระดับจังหวัด มีเงินรางวัลทุกสาขาๆละ ๕,๐๐๐ บาท และเป็นตัวแทน เดินทางไปคัดเลือกระดับเขตและภาคในวันที่ ๒๗-๒๘ มกราคม ๒๕๕๕ ณ.ศูนย์ สช.ขอนแก่น การนาเสนอ อสม.ที่เข้ารับการคัดเลือกนาเสนอ ๑๕ นาที กรรมการซักถาม ๕ นาที รวม ๒๐ นาทีต่อคน ควรมีหลักฐาน เอกสารประกอบการนาเสนอ งานพัฒนา สุขศาลากาฬสินธุ์ สุขศาลา กาฬสินธุ์ เป็นนโยบายการพัฒนางานระบบสุขภาพชุมชน ของจังหวัดกาฬสินธุ์ โดยการ ฟื้นฟูศูนย์สาธารณสุขมูลฐานชุมชน (ศสมช.)สู่การเป็นศูนย์เรียนรู้ด้านสุขภาพ ต้นแบบ (สุขศาลาหมู่บ้าน) วัตถุประสงค์ ให้เป็นสถานที่บริการด้านสุขภาพในชุมชน ที่บริการสุขภาพแบบองค์รวมทั้งเชิงรุก และเชิงรับโดยชุมชนเพื่อชุมชน ด้วยความรักเอื้ออาทร เช่นการรักษาพยาบาลเบื้องต้น การปฐมพยาบาล การ ให้คาแนะนาด้านสุขภาพ การเป็นศูนย์เรียนรู้ด้านสุขภาพ เป็นสถานที่นัดหมาย ประชุม ประสานงาน ของคน ในชุมชน อสม.และเจ้าหน้าที่ ผลงาน ที่ดาเนินงานมา ๓ ปี ปี ๒๕๕๒ มีสุขศาลต้นแบบ จานวน ๒๗๕ แห่ง ปี ๒๕๕๓ มีสุข ศาลา จานวน ๖๙๘ แห่ง รวม ๒ ปี ปี ๒๕๕๔ มีสุขศาลา ๔๗๐ แห่ง จะเหลือ ปี ๒๕๕๕ จานวน ๑๗๗ แห่ง โดยอาเภอที่ยัง จะต้องเปูาหมายสุขศาลาในปี ๕๕ คือ อ.เมือง ๒๐ แห่ง กุฉินารายณ์ ๗๘ แห่ง อาเภอกมลาไสย ๒๑ แห่ง อาเภอเขาวง ๑๙ แห่ง อาเภอห้วยเม็ก ๒๒ แห่ง อาเภอสหัสขันธ์ ๑๒ แห่ง และอาเภอสมเด็จ ๕ แห่ง ในการพัฒนาปรับปรุงและสนับสนุน สุขศาลานั้นให้พัฒนาดาเนินการตามเกณฑ์มาตรฐานของสุข ศาลาในคู่มือกรอบประเมินผลงานสาธารณสุขจังหวัดกาฬสินธุ์ เปูาประสงค์ที่ ๙ การประกวดสุขศาลา กาฬสินธุ์ ปี ๒๕๕๕ ในปี ๒๕๕๔ จังหวัดกาฬสินธุ์จะมีการจัดประกวดสุขศาลา โดยมีวัตถุประสงค์ เพื่อกระตุ้น การพัฒนาสุขศาลา กาฬสินธุ์ ให้มีการดาเนินงานต่อเนื่องและเกิดประโยชน์แก่ประชาชน เป็นการค้นหาสุด ยอดสุขศาลา กาฬสินธุ์ เป็นสุขศาลาต้นแบบประจาปี และเพื่อเพื่อเสริมสร้างขวัญกาลังใจ เชิดชูเกียรติแก่ ชุมชนที่มีผลงานดีเด่นในการพัฒนาและดาเนินงาน สุขศาลา กาฬสินธุ์ เปูาหมาย อาเภอส่งตัวแทนสุขศาลา เข้าร่วมประกวด อาเภอละ ๑ แห่ง จานวน ๑๘ แห่ง โดยได้ดาเนินการประกวดและมอบรางวัลไปแล้วนั้น ในปี ๒๕๕๕ นโยบายการประกวดจะยังคงมีเหมือนเดิม ส่วนรูปแบบ ยังไม่ชัดเจน อาจจะเป็นการประกวดภาพรวมของหมู่บ้านทุกกิจกรรม จึงให้รอความชัดเจนอีก ครั้งหนึ่ง

การพัฒนาศักยภาพอาสาสมัครสาธารณสุข (อสม.) การพัฒนาศักยภาพ อสม. จังหวัดกาฬสินธุ์ ได้วางรูปแบบการจัดการไว้ ๓ รูปแบบใหญ่ๆ คือ รูปแบบที่ ๑ การอบรม อสม.ตามหลักสูตรมาตรฐาน อสม.จังหวัดกาฬสินธุ์ เป็นการพัฒนาศักยภาพ อสม.เพื่อที่จะให้บริการใน สุขศาลา หลักสูตร ๑๐ วัน เรียนในฐานการอบรม ๕ วัน ฝึกปฏิบัติงานที่ สอ./รพ. อีก ๕ วัน เน้นเชี่ยวชาญการดาเนินงานสุขภาพในชุมชน การให้บริการงานสาธารณสุขทั้งเชิงรุกและเชิงรับใน

กลุ่มงานสร้ างเสริมสุ ขภาพ

หน้ า ๓๖


Health Promotion. KALASIN PUBLIC HEALTH OFFICE.

ชุมชน ผลงานการอบรม ปี ๒๕๕๒ จานวน ๔,๗๙๐ คน ปี ๒๕๕๓ จานวน ๖,๐๐๕ คน ปี ๒๕๕๔ จานวน ๔,๓๙๓ คน ปี ๒๕๕๕ ตั้งเปูาหมายจานวน ๓,๐๐๐ คน ซึ่งจังหวัดกาฬสินธุ์ตั้งเปูาหมายให้ อสม.ทุกคนผ่านการอบรม หลักสูตรนี้ทุกคน เพื่อการยืนยันการเป็น อสม.ตามที่กระทรวงกาหนด รูปแบบที่ ๒ การอบรม อสม.เชี่ยวชาญ ตามที่กระทรวงเน้นให้ดาเนินการ และการอบรม อสม.ที่พื้นที่ กาหนดแผนโครงการอบรมตามสภาพปัญหาของพื้นที่ โดยใช้หลักสูตรของกระทรวงและพื้นที่กาหนดขึ้นเช่น - อสม.เชี่ยวชาญด้าน อสม.สายใยรัก กองทัพนมแม่,อสม.พัฒนาการเด็ก - อสม.เชี่ยวชาญมะเร็งเต้านม, วัณโรค, - อสม.เชี่ยวชาญเบาหวานและความดัน - อสม.กับการดูแลผู้สูงอายุ - อสม.เชี่ยวชาญการจัดทาแผนชุมชนใช้แผนที่ทางเดินยุทธศาตร์ - อสม.เยี่ยมบ้าน อสม.ดูแลผู้ปุวยเรื้อรัง เป็นต้น ทั้งนี้ การจัดการอบรมรูปแบบนี้ ให้อาเภอและ สอ./รพ.จัดตามความเหมาะสมให้มีความต่อเนื่อง โดยให้เป็นรูปแบบ โรงเรียน อสม. โดยการให้ความรู้ในวันประชุมประจาเดือน อสม. ให้ต่อเนื่อง รูปแบบที่ ๓ การอบรมฟื้นฟู ความรู้ อสม.จังหวัดกาฬสินธุ์ จานวน ๑๕,๐๐๐ คน โดยใช้หลักสูตรผู้นา การเปลี่ยนแปลงระบบสุขภาพชุมชนคนกาฬสินธุ์ ระยะเวลา ๒-๓วัน เป็นการมอบหมายงาน ภารกิจให้กับ อส ม.ลงปฏิบัติงานในพื้นที่ เพื่อการส่งเสริมปูองกัน ฟื้นฟูและลดโรค ตอนนี้อยู่ระหว่างการทาหลักสูตร งานสนับสนุนขวัญ กาลังใจ อสม. ขวัญกาลังใจ อสม.เป็นเรื่องสาคัญ เนื่องจาก อสม.เป็นอาสาสมัครสาธารณสุข ที่อาสามาดูแลสุขภาพ ของประชาชน กระทรวงได้จัดสวัสดิการแก่ อสม.หลายอย่าง เช่น สิทธิการรักษาพยาบาล อสม.และครอบครัว สิทธิในการรับค่าตอบแทนการอบรม ประชุม สิทธิโควตาการศึกษาต่อของ อสม.และบุตร อสม. การเชิดชู เกียรติ แก่ อสม.ที่ ทางาน ครบ ๑๐ ปี ๒๐ ปี ๓๐ ปี เป็นต้น ค่าตอบแทนการปฏิบัติงาน อสม.(ค่าปุวยการ อสม.) นโยบายรัฐบาลสนับสนุนค่าตอบแทนการปฏิบัติงาน ของ อสม. เริ่มตั้งแต่เดือน เมย. ๒๕๕๒ จนถึงปัจจุบัน คนละ ๖๐๐ บาทต่อเดือน โดยเบิกจ่ายตามแนวทางปฏิบัติของกระทรวง ในปี ๒๕๕๕ อสม.จะ ยังได้ค่าปุวยการเหมือนเดิม ตามโควตาและจานวน อสม. ตามข้อมูล ซึ่งปี ๒๕๕๕ จังหวัดได้โควตา อสม.ใหม่ เพิ่ม จานวน ๙๕ คน ตอนนี้ได้จัดสรรให้กับอาเภอไปแล้ว รวม อสม. ปี๒๕๕๕ จะได้รับเงินทั้งจังหวัด จานวน ๑๘,๑๘๕คน การเบิกจ่าย อบจ.กาฬสินธุ์โอนเงินให้ สสจ.กาฬสินธุ์ แล้ว สสจ. จะโอนเงินเข้าบัญชีของสถาน บริการที่เปิดไว้สาหรับโครงการนี้ เจ้าหน้าที่เบิกจ่ายเงินให้ อสม. ในวันประชุมประจาเดือนของ อสม.ที่ อสม./ รพ. ซึ่งจะต้องประชุมให้ความรู้เรื่องต่างๆในแต่ละเดือน ต้องมีรายงานผลงานส่งเจ้าหน้าที่ทุกเดือนและ จนท. ต้องรายงานตามระบบที่วางไว้ให้ทันตามกาหนด หากมีเงินเหลือจ่ายให้ยอดเงินคงอยู่ในบัญชีสิ้นปีงบประมาณ ต้องรายงานและส่งคืนให้ สสจ. ตามรูปแบบเดิม และ เอกสารหลักฐานประกอบการจ่ายเงินเก็บไว้ที่สถาน บริการ ดังนี้ ใบสาคัญรับเงิน รายหมู่บ้านทุกเดือน ในเดือนแรก(ปีงบประมาณ)ให้แนบสาเนาบัตรประจาตัว

กลุ่มงานสร้ างเสริมสุ ขภาพ

หน้ า ๓๗


Health Promotion. KALASIN PUBLIC HEALTH OFFICE.

ประชาชน อสม./สาเนาทะเบียนบ้านเก็บไว้ที่สถานบริการด้วย และในปี ๒๕๕๕ ให้ อสม.ลงลายมือชื่อในใบ แสดงตนการเป็น อสม.ทุกคนเพื่อรับค่าปุวยการ โดยมีแบบฟอร์มให้ และให้ อาเภอรวบรวมส่งจังหวัดทั้ง รูปแบบไฟล์ และเอกสารตัวจริง การส่งรายงาน ให้เจ้าหน้าที่รวบรวมส่งจังหวัดตามขั้นตอน เป็นรายเดือน ให้สานักงาน สาธารณสุขจังหวัดภายในวันที่ ๒๕ ของทุกเดือน แบบรายงานใช้แบบเดิม การจัดงาน วัน อสม.แห่งชาติ วันที่ ๒๐ มีนาคม ทุกปีเป็นวัน อสม.แห่งชาติ เพื่อเป็นการเสริมสร้างพลังของ อสม. และ เสริมสร้างขวัญกาลังใจแก่ อสม. จึงขอความร่วมมือให้ทุกอาเภอได้ร่วมกับชมรม อสม. จัดกิจกรรมวัน อสม. แห่งชาติ มอบรางวัล อสม.ดีเด่น การแข่งขันกีฬา การรณรงค์ด้านสุขภาพ เป็นต้นโดยให้ใช้งบประมาณเงิน บารุงสถานบริการและเงินอื่นๆที่จะสามารถดาเนินกิจกรรมได้ในช่วงสัปดาห์ วัน อสม.แห่งชาติ การสนับสนุนชมรม อสม. ขอความร่วมมือในการสนับสนุนการดาเนินงานของชมรมตั้งแต่ระดับหมู่บ้านจนถึง ระดับจังหวัด โดยการพี่เลี้ยงให้คาปรึกษา สนับสนุนการดาเนินงาน ในระดับจังหวัด ชมรมมีการประชุม คณะกรรมการระดับจังหวัดทุกเดือนและจัดให้มีการประชุมใหญ่สามัญประจาปี ปี ละ ๑ ครั้ง

งานพัฒนาหมู่บ้านตาบลจัดการสุขภาพ จังหวัดกาฬสินธุ์ได้วางรูปแบบของการพัฒนาระบบสุขภาพชุมชน โดยให้มีการสร้างนักจัดการสุขภาพ ชุมชน ตั้งแต่ ปี ๒๕๕๒ เป็นต้นมาโดยจัดการอบรมเพื่อจัดทาแผนสุขภาพชุมชน ใช้เครื่องมือแผนที่ทางเดิน ยุทธศาสตร์ (SRM) หมู่บ้านละ ๑๐ คน เพื่อการจัดทาแผนและการจัดการพัฒนาแก้ไขปัญหาสุขภาพในชุมชน ในปี ๒๕๕๕ ยังคงมีการดาเนินงานอย่างต่อเนื่อง กาหนดให้ทุกตาบลและทุกกองทุนสุขภาพตาบลจัดอบรม ประชุมนักจัดการสุขภาพทุกตาบล เพื่อให้ได้แผนสุขภาพชุมชนทุกตาบล ของ ปี ๒๕๕๕ การดาเนินงานตามแผนงานโครงการของชุมชน จะเกิดนวัตกรรมสุขภาพขึ้น โดยจะต้องมีการถอด นวัตกรรมดังกล่าวมาเพื่อการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ นาไปปฏิบัติและทาให้เกิดโรงเรียนนวัตกรรมสุขภาพชุมชนใน พื้นที่ทุกแห่ง การรายงานการจัดทาแผนสุขภาพชุมชน และบันทึกหมู่บ้านจัดการสุขภาพ รายงานทางเวปไซต์ http://www.thaiphc.net รหัสผ่านเดียวกันกับการบันทึกข้อมูล อสม. ซึ่งเป็นของแต่ละสถานบริการ

การพัฒนาโรงเรียน อสม. โรงเรียน อสม. คือ สถานที่ที่ อสม.มาแลกเปลี่ยนเรียนรู้ทักษะ วิธีการต่างๆและวางแผนในการ ปฏิบัติงานร่วมกัน นับเป็นกระบวนการที่สาคัญในการสร้างแนวคิดและมุมมองใหม่ โดยไม่ใช่รูปแบบของ ห้องเรียน แต่เน้นเป็นศูนย์เรียนรู้หรือศูนย์กลางการพบปะหารือกันและแลกเปลี่ยนเรียนรู้ของ อสม.และชุมชน เพื่อกระตุ้นให้ อสม.ตื่นตัวต่อการพัฒนา และเพิ่มศักยภาพของตนเอง โดยสามารกาหนดหลักสูตรได้ตามความ สนใจของตนเอง ซึ่งวัดระดับความสาเร็จของโรงเรียน อสม. จากการสร้างเสริมสุขภาพชุมชน โดยเริ่มจากการมี มุมมอง วิธีคิด และวิธีการทางานแบบใหม่ร่วมกับชุมชนและมีเปูาหมายเปลี่ยนแปลงที่สาคัญ ๓ ประการ คือ

กลุ่มงานสร้ างเสริมสุ ขภาพ

หน้ า ๓๘


Health Promotion. KALASIN PUBLIC HEALTH OFFICE.

๑. การเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพและสร้างวิถีชีวิตที่ดีต่อสุขภาพ ๒. สร้างสังคมสิ่งแวดล้อมให้มีคุณภาพดีขึ้น ๓. การปกปูองสิทธิผู้บริโภคของคนในชุมชน รูปแบบ โรงเรียน อสม. จังหวัดกาฬสินธุ์ ๑. มีโรงเรียนในระดับหมู่บ้าน ที่ตั้งหรือศูนย์การเรียนอยู่ที่สุขศาลากาฬสินธุ์มีโรงเรียนระดับตาบล ที่ตั้งหรือศูนย์การเรียนอยู่ที่สถานีอนามัยหรือโรงพยาบาล ๒. มีโรงเรียนในระดับอาเภอ คือการพัฒนาศักยภาพ อสม.ในภาพรวมตามหลักสูตร มาตรฐาน อสม.จังหวัดกาฬสินธุ์ ซึ่งกาหนดให้ ตัว อสม.ทุกคนต้องผ่านการอบรมหลักสูตรนี้ ๓. โรงเรียน อสม.ระดับหมู่บ้าน ตาบล ให้ อสม.จัดการเรียน การสอนโดยใช้หลักสูตรที่ อสม. สนใจหรือสภาพปัญหาของพื้นที่ หรือตามที่กระทรวงเน้นเชี่ยวชาญเฉพาะเรื่อง ๔. คนที่เป็นครูสอน อสม. คือ อสม.ด้วยกันเองหรือ จนท.สส. หรือปราชญ์ที่มีความรู้และ ประสบการณ์ หรือแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างกันเอง ทั้งภาคทฤษฎีและการปฏิบัติจริงในชุมชน ๕. ครู อสม.สอนชุมชน เช่นสอนแกนนาสุขภาพประจาครอบครัว (กสค.) ๖. ต้องมีการเรียนการสอนหรือแลกเปลี่ยนเรียนรู้ต่อเนื่อง ที่สาคัญคือ ในการประชุมประจาเดือน เพื่อรับค่าตอบแทนที่ สอ./รพ.ให้ถือว่าเป็นวันเรียนที่โรงเรียนระดับตาบล ๗. สถานที่จัดการเรียนจะเป็นที่ใดก็ได้ตามความเหมาะสม ๘. จังหวัดกาหนดให้มีโรงเรียน อสม.ในทุกพื้นที่ หากที่ใดได้ดาเนินการและมีรูปแบบที่เป็น ตัวอย่างสามารถเป็นต้นแบบได ช่วยแจ้งจังหวัดเพื่อการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ต่อไป งานสุขภาพภาคประชาชน ขอขอบพระคุณเจ้าหน้าที่ทุกท่านครับ หากมีปัญหาประการใด สอบถาม ที่คุณ พิทักษ์ กาญจนศร ๐๘๑๒๖๒๔๔๓๖ email : Kalasin๒๐๐๘@hotmail.com

กลุ่มงานสร้ างเสริมสุ ขภาพ

หน้ า ๓๙


Health Promotion. KALASIN PUBLIC HEALTH OFFICE.

ชื่อโครงการ โครงการพัฒนาระบบโรงเรียนนวตกรรมสุขภาพชุมชนต้นแบบ ในพื้นที่โรงพยาบาลส่งเสริม สุขภาพตาบล จังหวัดกาฬสินธุ์ ปีงบประมาณ ๒๕๕๕ ผู้รับผิดชอบโครงการ นายเอกรินทร์ สังขศิลา สถานการณ์ของแผนงานโครงการ ปี ๒๕๕๓ เป็นการจัดให้มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ของคนในชุมชน หรือมีโรงเรียนนวตกรรมเกิดขึ้น โดย โรงเรียนนวตกรรมสุขภาพชุมชนต้นแบบของจังหวัดกาฬสินธุ์ มี ๓ แห่งใน ๓ อาเภอๆละ ๑ แห่ง เป็นต้นแบบ ให้กบั พื้นที่อื่นแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ในปี ๒๕๕๓ ปี ๒๕๕๔ ต่อยอดในพื้นที่ดาเนินการที่เหลือ อีก ๑๕ อาเภอ ๑๕ แห่ง สิ่งที่เกิดจากความสาเร็จของ โครงการคือการเกิดนวตกรรมขึ้นในชุมชน เพื่อเป็นการจัดให้มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ของ และนาไปใช้ ประโยชน์คนในชุมชน จุดเด่น ปี ๒๕๕๔ มีการดาเนินงานครบ ทั้ง ๑๘ อาเภอ ๑๘ แห่ง และสานักงานสาธารณสุขจังหวัดกาฬสินธุ์ ได้สนับสนุนงบประมาณ ใน ๑๕ อาเภอ ๑๕ แห่งๆละ ๑๐,๐๐๐ บาท สานักงานสาธารณสุขจังหวัดกาฬสินธุ์ ได้ทาการออกประเมินผลและติดตามความก้าวหน้า ทั้ง ๑๘ แห่ง โดยใช้เกณฑ์การประเมินจากกระทรวงสาธารณสุข ดังนี้ เกณฑ์การประเมินศักยภาพพื้นที่ในการเป็นโรงเรียนวตกรรมสุขภาพชุมชน โรงเรียนวตกรรมสุขภาพชุมชน คือ ชุมชนที่ประสบความสาเร็จในการพัฒนาโดยใช้นวตกรรมกระบวนการ มี การดาเนินการแลกเปลี่ยนเรียนรู้นวตกรรม การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ทาโดยตรงระหว่างชุมชน บุคคล หรือองค์กร ที่เป็นต้นแบบกับชุมชน บุคคล หรือองค์กรผู้ที่สนใจศึกษาเรียนรู้ที่มาจากพื้นที่อื่น ทั้งนี้ เพื่อประโยชน์ในการ ขยายงานระหว่างพื้นที่ด้วยกันเอง (การขยายงานทางราบ) ระดับ เกณฑ์การประเมิน ๑ ปัจจัยนาเข้า ๑.๑ มีทีมงานที่ประกอบด้วย อสม. จนท.สธ. อปท. กานัน ผู้ใหญ่บ้าน และ กรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพ เป็นแกนนาในการพัฒนา ๑.๒ มีองค์ความรู้ เทคโนโลยีและเนื้อหาที่เกิดประโยชน์แก่สังคมโดยรวมและ ชุมชนยอมรับ ๒

ผลการประเมิน ระดับพื้นฐาน

กระบวนการจัดการนวตกรรมสุขภาพ ระดับพัฒนา ๒.๑ มีการถอดบทเรียนและการจัดการความรู้ในชุมชน ๒.๒ มีการสร้างและใช้แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ในการพัฒนาสุขภาพในชุมชน ๒.๓ มีนวตกรรมกระบวนการที่นาไปสู่การส่งเสริมสุขภาพและปูองกันโรคในชุมชน

กลุ่มงานสร้ างเสริมสุ ขภาพ

หน้ า ๔๐


Health Promotion. KALASIN PUBLIC HEALTH OFFICE.

ระดับ เกณฑ์การประเมิน ผลการประเมิน ๓ การพัฒนา นวตกรรมสุขภาพชุมชนและเตรียมโรงเรียนนวตกรรม ระดับดี ๓.๑ มีแผนงาน/โครงการด้านสุขภาพที่มีความสัมพันธ์เชื่อมโยง อย่างน้อย ๓ โครงการ ๓.๒ มีแนวคิดมุ่งพัฒนา/ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมของกลุ่มเปูาหมาย ๓.๓ มีการแสดงบทบาทของเจ้าหน้าที่สาธารณสุขกับ อสม. ในลักษณะเป็นเพื่อน ร่วมงาน/หุ้นส่วน ๓.๔ มีหัวข้อวิชาที่เป็นนวตกรรมสุขภาพและหัวข้ออื่นที่กาหนดโดยผู้สอน (ผู้ ถ่ายทอดความรู้) และผู้เรียน (ผู้รับการถ่ายทอด) ๔ กระบวนแลกเปลี่ยนเรียนรู้ของโรงเรียนนวตกรรม ระดับดีมาก ๔.๑ มีการถ่ายทอดความรู้ โดยองค์กรหรือทีมงานหรือบุคคลต้นแบบที่ประสบ ความสาเร็จในการพัฒนาหรือปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ๔.๒ มีผู้รับการถ่ายทอดที่มาจากพื้นที่ที่ต้องการพัฒนาและมีจุดมุ่งหมายหรือความ ต้องการที่ชัดเจน ๔.๓ มีหลักสูตรที่พัฒนา/ปรับปรุงได้ตามความต้องการของผู้เรียน ๔.๔ มีการจัดกิจกรรมเรียนรู้ในรูปแบบ การสาธิต/บรรยายที่เน้นการฝึกปฏิบัติ (ไม่ใช่บรรยายอย่างเดียว) ๕ ตัวชี้วัดความสาเร็จผลของการจัดกระบวนการเรียนรู้ ระดับดีเยี่ยม ๕.๑ ผู้ผ่านการเรียนรู้สามารถใช้ประสบการณ์ไปสร้างโครงการพัฒนาในชุมชนของ ตนเองได้ สรุปผลการประเมินโรงเรียนวัตกรรมสุขภาพชุมชน ปี ๒๕๕๔ ตาบล อาเภอ หมู่บ้าน พื้นฐาน พัฒนา ดี ดีมาก ดีเยี่ยม ต.ห้วยโพธิ์ อ.เมือง ม.๑๓, ๒, ๗ ต.โพนงาม อาเภอกมลาไสย ม.๕ ต.สามัคคี อ.ร่องคา บ้านนาเรียง ม.๑๒ ต.ดงพยุง อ.ดอนจาน บ้านคาหอม อ.นามน บ้านพัฒนาอนามัย ม.๔ ต.ยอดแกง ต.นาขาม อ.กุฉินารายณ์ บ้านคาอีหงส์ ต.ไค้นุ่น อ.ห้วยผึ้ง บ้านอุปรี ม.๓ ต.นาคู อ.นาคู บ้านนาคู ม.๑, ๑๒ ต.สงเปลือย อ.เขาวง บ้านดอนไม้คุ้ม ต.มหาไชย อ.สมเด็จ ทั้งตาบล ต.นาบอน อ.คาม่วง ทั้งตาบล ต.สาราญ อ.สามชัย ทั้งตาบล

กลุ่มงานสร้ างเสริมสุ ขภาพ

หน้ า ๔๑


Health Promotion. KALASIN PUBLIC HEALTH OFFICE.

หมู่บ้าน บ้านโคกใส ม.๕ บ้านโคกเครือ ๔ หมู้บ้าน บ้านน้อย หมู่ ๗ บ้านโคกเครือ บ้านกุดโดน

ตาบล ต.โนนแหลม ทอง ต.โคกเครือ ต.ดงสมบูรณ์ ต.โคกสะอาด ต.อุ่มเม่า ต.กุดโดน

อาเภอ อ.สหัสขันธ์

พื้นฐาน

พัฒนา

ดี

ดีมาก ดีเยี่ยม

อ.หนองกุงศรี อ.ท่าคันโท อ.ฆ้องชัย อ.ยางตลาด อ.ห้วยเม็ก

จุดด้อย หากพิจารณาในรายละเอียดของเกณฑ์การประเมิน พบว่าการถอดบทเรียนและการจัดการความรู้ใน ชุมชน ยังมีความสับสนและยังขาดทักษะ ในการดาเนินการ จึงควรนาไปเป็นขอพิจารณาในการพัฒนาในลาดับ ต่อไป แผนงานระดับจังหวัด ปี ๒๕๕๕ มอบหมายพื้นที่ดาเนินการ วัตถุประสงค์ ๑. เพื่อส่งเสริมและพัฒนาโรงเรียนนวตกรรมสุขภาพชุมชนต้นแบบ ในพื้นที่โรงพยาบาล ส่งเสริมสุขภาพตาบล ๒. เพื่อสร้างกระบวนการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ การจัดการสุขภาพ การดูแลสุขภาพด้วยตนเองของชุมชน เพื่อการส่งเสริมสุขภาพและการปูองกันโรค ๓. เพื่อให้เครือข่ายสุขภาพทุกระดับมีส่วนร่วมในการบริหารจัดการนวตกรรมสุขภาพในชุมชน แนวทางดาเนินการ/การดาเนินกิจกรรม ๑. อบรมการถอดบทเรียนนวตกรรมสุขภาพ โดย เป็น เจ้าหน้าที่ รพ.สต. แห่งละ ๑ คน และครูใน โรงเรียนนวตกรรมสุขภาพชุมชน จานวนแห่งละ ๒ คน ๒. ส่งเสริมจัดกิจกรรมการเรียนการสอนในโรงเรียนนวตกรรม ๓. ประกวดการถอดบทเรียน ๔. เผยแพร่องค์ความรู้และนวตกรรมสุขภาพที่อยู่ใน เกณฑ์ระดับดี เพื่อสร้างเสริมสุขภาพทั้งระดับ หน่วยงานและชุมชน ผ่านทางสถานีวิทยุชุมชนคนรักษ์สุขภาพ จังหวัดกาฬสินธุ์ FM ๑๐๐.๒๕ Mhz ๕. ติดตามประเมินผล

กลุ่มงานสร้ างเสริมสุ ขภาพ

หน้ า ๔๒


Health Promotion. KALASIN PUBLIC HEALTH OFFICE.

พื้นที่ดาเนินการ /เป้าหมาย พัฒนาการการถอดบทเรียนนวตกรรมสุขภาพ ในปี ๒๕๕๕ จานวน ๑๘ แห่ง ลาดับ ตาบล อาเภอ ๑ ต.ห้วยโพธิ์ อ.เมือง ๒ ต.ยอดแกง อ.นามน ๓ ต.สามัคคี อ.ร่องคา ๔ ต.นาขาม อ.กุฉินารายณ์ ๕ ต.สงเปลือย อ.เขาวง ๖ ต.กุดโดน อ.ห้วยเม็ก ๗ ต.โนนแหลมทอง อ.สหัสขันธ์ ๘ ต.นาบอน อ.คาม่วง ๙ ต.ดงสมบูรณ์ อ.ท่าคันโท ๑๐ ต.โคกเครือ อ.หนองกุงศรี ๑๑ ต.มหาไชย อ.สมเด็จ ๑๒ ต.ไค้นุ่น อ.ห้วยผึ้ง ๑๓ ต.สาราญ อ.สามชัย ๑๔ ต.ดงพยุง อ.ดอนจาน ๑๕ ต.โคกสะอาด อ.ฆ้องชัย ๑๖ ต.อุ่มเม่า อ.ยางตลาด ๑๗ ต.โพนงาม อ.กมลาไสย ๑๘ ต.นาคู อ.นาคู เผยแพร่องค์ความรู้และนวตกรรมสุขภาพที่อยู่ใน เกณฑ์ระดับดี ในปี ๒๕๕๔ ลาดับ ๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๖

ตาบล ต.โพนงาม ต.ไค้นุ่น ต.นาคู ต.นาบอน ต.โนนแหลมทอง ต.อุ่มเม่า

กลุ่มงานสร้ างเสริมสุ ขภาพ

อาเภอ อ.กมลาไสย อ.ห้วยผึ้ง อ.นาคู อ.คาม่วง อ.สหัสขันธ์ อ.ยางตลาด

หน้ า ๔๓


Health Promotion. KALASIN PUBLIC HEALTH OFFICE.

บทบาท สสจ. -

การสนับสนุนวิชาการ การสร้างทีมพัฒนาโรงเรียนนวตกรรมระดับจังหวัด อาเภอ และตาบล การสื่อสารสร้างความเข้าใจในการดาเนินงาน การมีส่วนร่วมของ อสม.แกนนาชุมชน อปท.และภาคีอื่นๆ

บทบาท สสอ. / ร.พ./รพ.สต. กระบวนการในการวางแผนดาเนินการ ตั้งแต่ระดับอาเภอและตาบล ระบบการควบคุมกากับ การนิเทศ

กลุ่มงานสร้ างเสริมสุ ขภาพ

หน้ า ๔๔


Health Promotion. KALASIN PUBLIC HEALTH OFFICE.

ชื่อโครงการ : พัฒนารูปแบบการสร้างเสริมสุขภาพและสิ่งแวดล้อมในสถานที่ทางาน ผู้รับผิดชอบโครงการ ดร.ศิริชัย รินทราช, นายยุทธพล ภูเลื่อน, นางสาวนภัสวรรณ สนธินอก สถานการณ์ของแผนงานโครงการ ความสาคัญของปัญหา/ที่มา เนื่องจากปัญหาด้านสิ่งแวดล้อม การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิกาอากาศ (Climate Chang) ซึ่งเกิดจาก กิจกรรมของมนุษย์ทาให้เกิดปริมาณก๊าซเรือนกระจก (Greenhouse Gases) ส่งผลให้อุณหภูมิผิวโลกสูงขึ้น ที่เรียกว่าภาวะโลกร้อน นับวันจะทวีความรุนแรงมากขึ้น กรมอนามัยจึงมีนโยบายให้หน่วยงานสาธารณสุข เป็นต้นแบบในการดาเนินการลดโลกร้อน ด้วยกิจกรรม Green and Clean และประเมินผลด้วยโปรแกรม Carbon Footprint อีกทั้งการส่งเสริมให้หน่วยงานได้ส่งเสริมสุขภาพของบุคลากรภายใต้โครงการสถานที่ ทางานน่าอยู่ น่าทางาน Healthy Work place คือ สะอาด ปลอดภัย สิ่งแวดล้อมดี มีชีวิตชีวา จาก นโยบายดังกล่าว สานักงานสาธารณสุขจังหวัดกาฬสินธุ์ ได้ดาเนินการในปี ๒๕๕๔ ดังนี้ ๑. โครงการสถานบริการสาธารณสุขรวมใจรณรงค์ลดโลกร้อน มีสถานบริการสาธารณสุขผ่านเกณฑ์ จานวน ๑๒ แห่ง คิดเป็นร้อยละ ๗.๐๕ ๒. โครงการพัฒนาส้วมสาธารณะตามมาตรฐาน HAS พบว่าโรงพยาบาลทั่วไปและโรงพยาบาลชุมชน ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน HAS ร้อยละ ๑๐๐ ส่วนโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตาบล ผ่านเกณฑ์ มาตรฐาน HAS ร้อยละ ๓๑ จากจานวนทั้งหมด ๑๕๖ แห่ง ๓. โครงการสถานที่ทางานน่าอยู่น่าทางาน ได้ประเมินโรงพยาบาลที่เข้าร่วมโครงการ พบว่าผ่าน เกณฑ์รับรอง ๒ แห่ง ได้แก่โรงพยาบาลกาฬสินธุ์และโรงพยาบาลท่าคันโท ดังนั้น ในปี ๒๕๕๕ สานักงานสาธารณสุขจังหวัดกาฬสินธุ์ จึงได้บูรณาการทั้งสามโครงการเข้าร่วมกันภายใต้ชื่อ โครงการพัฒนารูปแบบการสร้างเสริมสุขภาพและสิ่งแวดล้อมในสถานที่ทางาน เพื่อเป็นการพัฒนาการทางาน เชิงบูรณาการและขยายผลสาเร็จในหน่วยงานสาธารณสุขและเป็นต้นแบบหน่วยงานสร้างเสริมสุขภาพสาหรับ เป็นตัวอย่างให้ชุมชนต่อไป จุดเด่น ๑. เป็นนโยบายของกระทรวงให้ความสาคัญ ๒. เป็นโครงการที่มีกิจกรรมการดาเนินการเป็นรูปธรรม สามารถประเมินผลงานได้อย่างชัดเจน จุดด้อย แผนงานระดับจังหวัดปี ๒๕๕๕ มอบหมายพื้นที่ดาเนินการ วัตถุประสงค์ของโครงการ ๑. วัตถุประสงค์ทั่วไป ๑.๑ เพื่อการบูรณาการโครงการด้านสิ่งแวดล้อมให้เอื้อต่อการสร้างเสริมสุขภาพของบุคลากรใน สถานที่ที่ทางานในสถานบริการสาธารณสุขและคนในชุมชน ๒. วัตถุประสงค์เฉพาะ

กลุ่มงานสร้ างเสริมสุ ขภาพ

หน้ า ๔๕


Health Promotion. KALASIN PUBLIC HEALTH OFFICE.

๒.๑ เพื่อพัฒนาส้วมสาธารณะตามเกณฑ์มาตรฐาน HAS ในโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตาบลให้ครบ ร้อยละ ๑๐๐ ๒.๒ เพื่อพัฒนาสถานที่ทางานน่าอยู่น่าทางานในหน่วยงานสาธารณสุขจังหวัดกาฬสินธุ์ ๒.๓ เพื่อพัฒนาสถานบริการสาธารณสุขดาเนินกิจกรรมสาธารณสุขรณรงค์ลดโลกร้อนด้วยกลยุทธ์ Green and Clean ในจังหวัดกาฬสินธุ์ ให้ผ่านเกณฑ์ ร้อยละ ๕๐ ของสถานบริการสาธารณสุข แนวทางการดาเนินการ/การดาเนินกิจกรรม ๑. ประชุม เสวนาแนวทางขับเคลื่อนของภาคีเครือข่ายส้วมสาธารณะ เพื่อให้รพ.สต.ผ่านเกณฑ์ ๑๐๐ % ๒. ชี้แจงแนวทางการดาเนินงานและลงนามบันทึกความเข้าใจ ๒.๑ การประเมินส้วม HAS ๒.๒ การประเมินสถานบริการสาธารณสุข รณรงค์ลดโลกร้อนด้วยกิจกรรม GREEN and CLEAN และ วิเคราะห์ด้วยโปรแกรม Carbon Foot Print ๒.๓ การประเมิน Healthy Work Place ๓. แต่งตั้งอนุกรรมการ คณะกรรมการการประเมิน Healthy Work Place, ส้วม HAS, สาธารณสุขลดโลก ร้อน ระดับอาเภอและระดับจังหวัด ๔. จัดทาฐานข้อมูลบนเว็ปโฃต์เป็นการประเมินแบบเชิงลึก ๕. คณะกรรมการแต่ละอาเภอประเมินตนเองตามแบบประเมิน ๖. คณะกรรมการระดับอาเภอแจ้งผลการประเมินให้คณะกรรมการระดับจังหวัด ๗. คณะกรรมการประดับจังหวัดออกประเมินผลอาเภอ และสรุปผลการประเมิน ๘. มอบโล่และเงินรางวัลแก่สถานบริการที่ผ่านเกณฑ์ ๙. สรุปผลการดาเนินงาน ถอดบทเรียน หนังสือจัดการความรู้เรื่อง “การพัฒนารูปแบบการสร้างเสริมสุขภาพ และสิ่งแวดล้อมในสถานที่ทางาน จังหวัดกาฬสินธุ์” บทบาทสานักงานสาธารณสุขจังหวัดกาฬสินธุ์ ๑. จัดทาคาสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการดาเนินการ ๒. จัดประชุม เสวนาแนวทางการขับเคลื่อนของภาคีเครือข่าย ๓. สนับสนุน ส่งเสริมให้อาเภอดาเนินการ ๔. ออกประเมินรับรองตามเกณฑ์มาตรฐาน ๕. จัดพิธีมอบโล่รางวัลแก่สถานบริการที่ผ่านเกณฑ์ ๖. สรุปผลการดาเนินงาน ถอดบทเรียน บทบาทสานักงานงานสาธารณสุขอาเภอ/โรงพยาบาล ๑. ร่วมประชุม เสวนาแนวทางการดาเนินงาน ๒. พัฒนาสถานที่ทางานตามเกณฑ์ ๓. สนับสนุนงบประมาณ วัสดุ อุปกรณ์ในการพัฒนาตามเกณฑ์ ๔. ประเมินตนเองตามเกณฑ์ ๕. ปรับปรุงส่วนที่ขาด ๖. ขอรับการประเมินจากคณะกรรมการระดับจังหวัด ๗. สรุปผลการดาเนินการ

กลุ่มงานสร้ างเสริมสุ ขภาพ

หน้ า ๔๖


Health Promotion. KALASIN PUBLIC HEALTH OFFICE.

บทบาทโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตาบล ๑. พัฒนาสถานที่ทางานตามเกณฑ์ ๒. ขอรับการสนับสนุนงบประมาณ วัสดุ อุปกรณ์ จาก CUP และใช้เงินบารุงสถานบริการ ๓. ประเมินตนเองตามเกณฑ์ ๔. ปรับปรุงส่วนที่ขาด ๕. ขอรับการประเมินจากคณะกรรมการระดับอาเภอ สิ่งสนับสนุน ๑. งบประมาณดาเนินการ ๑.๑ ค่าจัดประชุมชี้แจงแนวทางการดาเนินงาน ๑.๒ ค่าเบี้ยเลี้ยงคณะอนุกรรมการประเมินระดับอาเภอ ๑.๓ ค่าตอบแทนคณะกรรมการระดับจังหวัด ๑.๔ ค่าจัดประชุมสรุปผลการดาเนินงาน ๑.๕ ค่าจัดทาโล่รางวัล ๑.๖ เงินรางวัลสุดยอดสถานบริการสร้างเสริมสุขภาพฯ ๑.๗ เงินรางวัลสุดยอดอาเภอที่พัฒนาส้วมรพ.สต.ผ่านเกณฑ์HAS ๑.๘ ค่าจัดทารูปเล่มถอดบทเรียน ๒. แผ่นพับ โปสเตอร์ เอกสารวิชาการ ตัวชี้วัด ผลผลิต/ผลลัพธ์ ๑. ส้วมสาธารณะในรพ.สต.ผ่าน เกณฑ์มาตรฐาน HAS ครบ ๑๐๐ % ๒. สถานที่ทางานน่าอยู่น่าทางาน Healthy Work Place ๓. สถานบริการสาธารณสุขร่วม โครงการมีการดาเนินกิจกรรม สาธารณสุขลดโลกร้อนด้วยกิจกรรม GREEN and CLEAN ๔. สร้างกระแสผ่านสื่อท้องถิ่นและ ขับเคลื่อนเป็นวาระของจังหวัด ๕. สร้างภาคีเครือข่ายสิ่งแวดล้อม

ตัวชี้วัด ค่าเปูาหมาย ระยะเวลา ร้อยละของส้วมสาธารณะที่ ร้อยละ ๑๐๐ ต.ค. ๕๔ – ก.ย. ๕๕ เข้าร่วมโครงการ ร้อยละสถานที่ทางานที่เข้า ร้อยละ ๗๐ ต.ค. ๕๔ – ก.ย. ๕๕ ร่วมโครงการผ่านเกณฑ์ ร้อยละสถานบริการ ร้อยละ ๖๐ ต.ค. ๕๔ – ก.ย. ๕๕ สาธารณสุขที่เข้าร่วมโครงการ ผ่านเกณฑ์ มีการลงนามบันทึกความ เข้าใจขับเคลื่อนโครงการ มีการจัดตั้งชมรมและสมาชิก เครือข่ายสิ่งแวดล้อมา

จานวน ๑ ครั้ง ต.ค. ๕๔ – ก.ย. ๕๕ จานวน ๒ ชมรม

ต.ค. ๕๔ – ก.ย. ๕๕

การติดตามประเมินผล ติดตามประเมินผลการดาเนินการโดยคณะกรรมการดาเนินการระดับอาเภอและระดับจังหวัด

กลุ่มงานสร้ างเสริมสุ ขภาพ

หน้ า ๔๗


Health Promotion. KALASIN PUBLIC HEALTH OFFICE.

ชื่อโครงการพัฒนามาตรฐานงานสุขศึกษาในสถานบริการสาธารณสุข ผู้รับผิดชอบโครงการ นส.แอนนา แสบงบาล สถานการณ์ของแผนงานโครงการ การพัฒนาคุณภาพงานสุขศึกษาและพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพตามมาตรฐานงานสุขศึกษา เป็น กิจกรรมที่สนับสนุนให้การดาเนินงานของสถานบริการสาธารณสุขมีประสิทธิภาพเป็นระบบและมีคุณภาพ เป็น การดาเนินงานที่มุ่งให้ประชาชนเกิดการเรียนรู้ที่ดี มีทักษะที่ถูกต้อง เห็นความสาคัญของสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อ การมีสุขภาพดี มีจิตสานึกที่จะเข้ามามีส่วนร่วมเป็นเครือข่ายในการดูแลสุขภาพของตนเอง ครอบครัว และ ชุมชน จากการดาเนินการที่ผ่านมาพบว่าสถานบริการมีความพยายามที่จะพัฒนางานสุขศึกษาและพัฒนา พฤติกรรมสุขภาพ แต่ยังขาดความเข้าใจอย่างถ่องแท้ในการดาเนินงาน ต้องปรับวิธีคิดและความเข้าใจนิยาม ความหมายของคาว่าสุขศึกษาและความเชื่อมโยงขององค์ประกอบทั้ง ๑๐ ด้าน โดยจนท. ความสาคัญของปัญหา/ที่มา ผลการพัฒนามาตรฐานงานสุขศึกษาในรพ. จานวน ๑๔ แห่ง ผ่านการรับรองจากทีมภายนอก ๙ แห่ง คิดเป็นร้อยละ ๖๒.๒๘ (คงเหลือ ๕ แห่งคือรพร.กุฉิ นารายณ์ รพ.ยางตลาด รพ.ท่าคันโท รพ.ร่องคา รพ.สมเด็จ) (ปี ๒๕๕๔รพ.นามนและรพ.ห้วยผึ้งรับประเมินจากทีมภายนอก รพ.สมเด็จอยู่ระหว่างการประเมิน จากทีมภายใน) (ปี ๒๕๕๕ รพ.เขาวง กมลาไสย สหัสขันธ์และรพ.สต.ดงเมือง รับประเมินซ้าจากกองสุขศึกษาโดย สมาคมวิชาชีพสุขศึกษา) ผลการพัฒนามาตรฐานงานสุขศึกษาในรพ.สต.และรพ.ที่ผ่านการตรวจประเมินจากทีมภายในและรับ ประเมินจากทีมภายนอก จนถึงปี ๒๕๕๔ จานวน ๓๘ แห่ง คิดเป็นร้อยละ ๒๒.๓๕ ปี ๒๕๕๕ จานวนรพ./รพ.สต.ที่จะรับการประเมินรับรองจากทีมภายนอกจานวน ๕ แห่งคือ รพ. สมเด็จ รพ.สต.นามะเขือ รพ.สต.ดงอุดม รพ.สต.นาบอน รพ.สต.ตาดดงเค็ง ปี ๒๕๕๔ จัดประชุมเตรียมความพร้อมรับการประเมินให้รพ.สต. จานวน ๑๓ อาเภอ ๑๐๕ แห่ง คิดเป็นร้อยละ ๖๗.๓๐ วัตถุประสงค์ เพื่อสนับสนุนการดาเนินการสุขศึกษาและพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพของสถานบริการให้มี คุณภาพเข้าสู่มาตรฐาน แนวทางการดาเนินงาน/กิจกรรม ๑. จัดทาแผนพัฒนามาตรฐานงานสุขศึกษาของจังหวัดและแต่งตั้งคณะกรรมการพัฒนามาตรฐานงาน สุขศึกษา ๒. ประชุมคณะกรรมการ *เพื่อวางแผน/ร่างนโยบายสุขศึกษาและพฤติกรรมสุขภาพ ๓. เตรียมการประเมิน *สถานบริการทุกแห่งประเมินและพัฒนาตนเอง

กลุ่มงานสร้ างเสริมสุ ขภาพ

หน้ า ๔๘


Health Promotion. KALASIN PUBLIC HEALTH OFFICE.

- จานวนสถานบริการ(ทั้งปฐมภูมิและทุติยภูมิ ๓๕ แห่ง ขอรับการประเมินรับรองจากทีม ภายใน ๔. ประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ สร้างและพัฒนาศักยภาพเครือข่ายทีม สนับสนุนระดับอาเภอ(ทีม ประเมินภายใน) ทีมประเมินภายในจังหวัด ประเมินสถานบริการที่ผ่านระดับ ๓ (ดีมาก) เพื่อรอรับการ ประเมินภายนอก พื้นที่ดาเนินการ/เป้าหมาย ปี ๒๕๕๕ รพ.และรพ.สต.ทุกแห่งที่ยังไม่ผ่านการประเมินรับรองมาตรฐานงานสุขศึกษา ระดับ ๓ บทบาทสสจ. สนับสนุนด้านวิชาการ เครื่องมือ ทักษะ ออกตรวจประเมินรับรองโดยคณะกรรมการ บทบาทสสอ./รพ. จัดทาแผนพัฒนา ควบคุม กากับ เป็นพี่เลี้ยงคอยสนับสนุนช่วยเหลือและเชื่อมประสานระหว่าง พื้นที่กับจังหวัด รายงาน บทบาทรพ.สต. ประเมินตนเอง วางแผนพัฒนาให้ผ่านระดับ ๓ และเข้าสู่การตรวจประเมินรับรอง ตัวชี้วัด รายอาเภอ : รพ.สต. ผ่านการประเมินรับรองจากทีมภายในอย่างน้อยร้อยละ ๔๐ รพ. จานวน ๕ แห่ง ผ่านการประเมินรับรองจากทีมภายในจังหวัด

กลุ่มงานสร้ างเสริมสุ ขภาพ

หน้ า ๔๙


Health Promotion. KALASIN PUBLIC HEALTH OFFICE.

โครงการประชาสัมพันธ์สร้างเสริมสุขภาพ แผนงานระดับจังหวัด ปี ๒๕๕๕ วัตถุประสงค์ สร้างเครือข่ายประชาสัมพันธ์ แนวทางดาเนินการ จัดตั้งชมรมสื่อสารมวลชน พื้นที่ดาเนินการ ทุกอาเภอ บทบาท สสอ/รพ. - จัดตั้งชมรมสื่อสารมวลชนอาเภอละ ๑ แห่ง แต่งตั้ง คณะกรรมการ ประกอบด้วย เจ้าหน้าที่ สสอ. และรพ. สื่อมวลชน และผู้ที่สนใจ มีหน้าที่ เผยแพร่ข้อมูลข่าวสารด้านสาธารณสุข ให้ประชาชนรับทราบ สร้างภาพลักษณ์ที่ของหน่วยงานสาธารณสุข มีฐานข้อมูลสื่อมวลชน,วิทยุชุมชน,หอกระจายข่าว อื่นๆ สิ่งสนับสนุนจากจังหวัด - งบประมาณ อาเภอละ ๓,๐๐๐ บาท ในการจัดตั้งชมรม ตัวชี้วัด - มีชมรมสื่อสารมวลชนสาธารณสุขทุกอาเภอ ติดตามประเมินผล - ติดตามเยี่ยม เครือข่ายประชาสัมพันธ์ ชมรมสื่อสารมวลชนสาธารณสุข

...........................................................................................................

กลุ่มงานสร้ างเสริมสุ ขภาพ

หน้ า ๕๐


Health Promotion. KALASIN PUBLIC HEALTH OFFICE.

ชื่อโครงการโครงการพัฒนาองค์กรต้นแบบไร้พุง แบบบูรณาการยั่งยืน ปี ๒๕๕๕ หลักการและเหตุผล ด้วยสานักงานสาธารณสุขจังหวัดกาฬสินธุ์ มียุทธศาสตร์ที่จะดาเนินการเพื่อสร้างเสริมสุขภาพ สู่ศูนย์เรียนรู้องค์กรต้นแบบไร้พุง โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนา ผลิตและถ่ายทอดองค์ความรู้และเทคโนโลยี ผลักดันสร้างกระแสสังคมให้เกิดความตระหนักในการดูแลสุขภาพตนเองแบบยั่งยืน ตามหลักการ ๓ อ. ๒ ส. โดยสนับสนุนให้เครือข่ายดาเนินงานในการจัดกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพ ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมบริโภคด้าน อาหารและโภชนาการ และการใช้แรงกายที่เหมาะสม อันจะนาไปสู่การสร้างเสริมสุขภาพและลดปัจจัยเสี่ยง ต่อการเกิดโรควิถีชีวิต ปัจจุบันวิถีชวี ิตของวัยทางาน ได้เปลี่ยนแปลงไปมากโดยเฉพาะผู้อาศัยอยู่ในเขตเมืองเริ่มมีรูปแบบ การบริโภคอาหารต่างไปจากเดิม อันมีผลทาให้เกิดกลุ่มภาระโรค Metabolic diseases ขึ้น ได้แก่ โรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง โรคอ้วน ภาวะไขมันในเลือดสูง ทาให้เกิดโรคหลอดเลือดอุดตัน โรคหัวใจ มะเร็งและโรคอื่นๆเช่นโรคข้อ เพิ่มมากขึ้น ดังนั้นจึงจาเป็นต้องมีการส่งเสริมออกกาลังกายควบคู่กับการเฝูา ระวังติดตามทางโภชนาการและการจัดการด้านอารมณ์ สถานการณ์ ในปีงบประมาณ ๒๕๕๔ สานักงานสาธารณสุขจังหวัดกาฬสินธุ์ดาเนินการพัฒนาศักยภาพภาคี เครือข่ายองค์กรไร้พุง จานวน ๒๔ แห่ง พัฒนาเป็นองค์กรให้เป็นศูนย์การเรียนรู้องค์กรต้นแบบไร้พุง จานวน ๓ แห่ง ตัวชี้วัดและเป้าหมาย ปี ๒๕๕๕ ตัวชี้วัด จานวนองค์กรภาครัฐ/อปท.หรือเอกชนผ่านเกณฑ์ประเมินเป็น ศูนย์การเรียนรู้องค์กรต้นแบบไร้พุง

เป้าหมาย ๑๘ แห่ง (อาเภอ ละ ๑ แห่ง ขึ้นไป)

หมายเหตุ

พื้นที่ดาเนินการ ๑๘ อาเภอ จังหวัดกาฬสินธุ์ แนวทางการดาเนินงานองค์กรต้นแบบไร้พุง ๑. การสร้างนโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาพ .ในระดับองค์กร ๒. การสร้างสิ่งแวดล้อมที่ที่เอื้อต่อสุขภาพ ทั้งในปัจเจกบุคคล สถานที่ทางาน ๓. การสร้างเสริมกิจกรรมองค์กรให้เข้มแข็ง  พัฒนาขีดความสามารถปรับเลี่ยนพฤติกรรมของคนในองค์กร  ส่งเสริมสนับสนุนและเพิ่มศักยภาพองค์กรให้มีส่วนร่วมรับผิดชอบในการส่งเสริมสุขภาพ  ส่งเสริมกระบวนการ KM ความรู้และทักษะ สาหรับการดูแลตนเองด้านสุขภาพและการ พึ่งตนเอง  สร้างองค์ความรู้ ตามหลัก ๓ อ. ๒ ส.

กลุ่มงานสร้ างเสริมสุ ขภาพ

หน้ า ๕๑


Health Promotion. KALASIN PUBLIC HEALTH OFFICE.

 ส่งเสริมเมนูชูสุขภาพ เมนูไร้พุง ๒:๑:๑  ส่งเสริมการลดน้าตาล ไขมัน โซเดียม  สร้างกระสังคม เกิดความตระหนักในการดูแลสุขภาพตนเอง  สร้างคน องค์กรต้นแบบไร้พุง องค์กรสุขภาพดี  ส่งเสริมสนับสนุนการจัดกิจกรรมสร้างสุขภาพที่เน้นการมีสุขภาพแบบยั่งยืน ๔. การพัฒนาทักษะส่วนบุคคลให้มีพฤติกรรมการบริโภคและการใช้แรงกายที่เหมาะสมจน สามารถควบคุมตนเองได้ ๕. การมีคลินิก DPAC ในสถานบริการ ศูนย์การเรียนรู้องค์กรต้นแบบไร้พุง หมายถึง องค์กรที่จะต้องบรรลุเงื่อนไข(Criteria) ดังนี้ ก. มีองค์ประกอบการดาเนินงาน ดังนี้ ๑. มีคณะกรรมการรับผิดชอบการจัดการองค์กรสู่องค์กรไร้พุง ๒. มีนโยบายด้านการส่งเสริมการจัดการควบคุมน้าหนัก ๓. มีแผนการสร้างเสริมสุขภาพเพื่อลดอ้วนลดพุง ลดโรคไมติดต่อเรื้อรัง ๔. การสื่อสารประชาสมพันธ์ภายในองค์กร ๕. ร้อยละ ๘๐ ของบุคลากรในองค์กรประเมินรอบเอวด้วยตนเอง ๖. ร้อยละ ๖๐ ของบุคลากรในองค์กรมีรอบเอวปกติ (ชายรอบเอว น้อยกว่า ๙๐ ซม. และหญิงรอบเอว น้อยกว่า ๘๐ ซม.) ๗. องค์กรเป็นศูนย์เรียนรู้อย่างยั่งยืน  มีงบประมาณในการพัฒนาองค์กร  คิดเอง ทาเอง มีกิจกรรมอย่างต่อเนื่อง ข. องค์กรไร้พุง ต้องมีคุณลักษณะ ดังนี้  มีบุคลากร มากกว่า ๓๐ คนขึ้นไป  หัวหน้าผู้นาองค์กรสมัครใจและยินดีขับเคลื่อนองค์กรต้นแบบ บทบาทของโรงพยาบาล/สานักงานสาธารณสุขอาเภอ/รพ.สต. ๑. เป็นผู้ขับเคลื่อนองค์กรไร้พุงในระดับพื้นที่ ๒. พัฒนาให้เกิดศูนย์การเรียนรู้องค์กรต้นแบบไร้พุง ๓. ขยายผลสู่หมู่บ้านชุมชนไร้พุง ๔. รณรงค์สร้างกระแสคนกาฬสินธุ์ไร้พุง องค์กรไร้พุง ชุมชนไร้พุง กับภาคีเครือข่ายไร้พุง ๕. ประสานกับหัวหน้าหน่วยงานระดับอาเภอ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น องค์กรเอกชน และ ภาคประชาชน อสม. บทบาทของสานักงานสาธารณสุขจังหวัดกาฬสินธุ์ ๑. เป็นผู้ขับเคลื่อนองค์กรไร้พุงในภาพรวมระดับดับจังหวัด ๒. นิเทศงาน ควบคุมกากับ ติดตามประเมินผล ๓. สนับสนุนด้านวิชาการ

กลุ่มงานสร้ างเสริมสุ ขภาพ

หน้ า ๕๒


Health Promotion. KALASIN PUBLIC HEALTH OFFICE.

๔. สนับสนุนประชาสัมพันธ์ สื่อ สิ่งพิมพ์ ๕. ร่วมรณรงค์สร้างกระแสคนกาฬสินธุ์ไร้พุง องค์กรไร้พุง ชุมชนไร้พุง กับภาคีเครือข่ายไร้พุง ๖. ประสานในระดับจังหวัด ท้องถิ่นจังหวัด ภาคเอกชน และตัวแทนภาคประชาชน อสม. แบบรายละเอียดตัวชี้วัด ( Template) องค์กรต้นแบบไร้พุง โครงการพัฒนาองค์กรต้นแบบไร้พุง แบบบูรณาการยั่งยืน ปี ๒๕๕๕ จังหวัดกาฬสินธุ์ ตัวชี้วัด เปูาหมาย คานิยาม

รายการข้อมูล ๑ สูตรการคานวณ วิธีการเก็บข้อมูล เครื่องมือที่ใช้เก็บข้อมูล ระยะเวลา (ความถี่ที่จดั เก็บ) แหล่งข้อมูล หน่วยงานเจ้าของตัวชี้วัด ผู้ประสานตัวชี้วัด

กลุ่มงานสร้ างเสริมสุ ขภาพ

องค์กรภาครัฐหรือเอกชน ผ่านเกณฑ์การประเมินเป็นศูนย์การเรียนรู้องค์กรต้นแบบไร้พุง อาเภอละ ๑ หน่วยงานขึ้นไป องค์กรภาครัฐ หรือ เอกชน ที่ผ่านเกณฑ์การประเมินเป็นศูนย์การเรียนรู้องค์กรต้นแบบไร้พุง มีองค์ประกอบการดาเนินงาน ดังนี้ ๑. มีคณะกรรมการรับผิดชอบการจัดการองค์กรไร้พุงเป็นศูนย์การเรียนรู้องค์กรต้นแบบ ไร้พุง ๒. มีนโยบายด้านการส่งเสริมการจัดการควบคุมน้าหนัก ๓. มีแผนงานสร้างเสริมสุขภาพเพื่อลดโรคอ้วนลงพุง ลดโรคไม่ติดต่อเรือ้ รัง ๔. มีการสื่อสารประชาสัมพันธ์เรื่องภัยเงียบของโรคอ้วนลงพุง ภายในองค์กร ๕. ร้อยละ ๘๐ ของบุคลากรขององค์กรภาครัฐ หรือ เอกชน ที่ทางานประจาอยู่ในที่ตั้งองค์กรได้มี การประเมินรอบเอวด้วยตนเอง ๖. ร้อยละ ๖๐ ของบุคลากรขององค์กรภาครัฐ หรือ เอกชน มีรอบเอวปกติ หากเป็นหญิงรอบเอว น้อยกว่า ๘๐ ซม. หากเป็นชายรอบเอวน้อยกว่า ๙๐ ซม. ๗. องค์กรเป็นศูนย์เรียนรู้อย่างยั่งยืนได้ โดยมีการบริหารจัดการ ดังนี้ ๗.๑ มีงบประมาณในการพัฒนาองค์กร ๗.๒ มีกิจกรรมที่ดาเนินการอย่างต่อเนื่อง คุณลักษณะขององค์กรภาครัฐ หรือเอกชน ที่สมัครเข้าร่วมเป็นศูนย์การเรียนรู้องค์กรต้นแบบไร้พุง มีดังนี้คือ ๑. องค์กรมีบุคลากรหรือพนักงาน ๓๐ คนขึ้นไป ๒. หัวหน้าผู้นาองค์กรสมัครใจที่จะเข้าร่วม และยินดีที่จะร่วมมือในการขับเคลื่อน ศูนย์การเรียนรู้องค์กรต้นแบบไร้พุงกับกรมอนามัย และสานักงานสาธารณสุขจังหวัด จานวนองค์กรภาครัฐ หรือเอกชน ที่ผ่านเกณฑ์การประเมินทั้ง ๗ องค์ประกอบ วิธีรายงาน ใช้ระบบรายงาน โดยสานักงานสาธารณสุขอาเภอ/โรงพยาบาลถึงสานักงานสาธารณสุขจังหวัด และ สานักงานสาธารณสุขจังหวัดรวบรวมรายงานและวิเคราะห์ผล ส่งถึง กระทรวง ภายใน เดือน กรกฎาคม ๒๕๕๕ ปีละ ๒ ครั้ง ดังนี้ ๑. พฤษภาคม ๒๕๕๕ ๒. กรกฏาคม ๒๕๕๕ สานักงานสาธารณสุขอาเภอ/โรงพยาบาลและสานักงานสาธารณสุขจังหวัด กลุ่มสร้างเสริมสุขภาพ สานักงานสาธารณสุขจังหวัด นายธนาเดช อัยวรรณ โทรศัพท์ ๐๔๓-๘๑๒๒๑๖

หน้ า ๕๓


Health Promotion. KALASIN PUBLIC HEALTH OFFICE.

ชื่อโครงการหลัก : พัฒนาระบบการจัดการข้อมูล และฐานความรู้งานสร้างเสริมสุขภาพ จังหวัดกาฬสินธุ์ หัวหน้าโครงการ : นางสาววิมลรัตน์ ภูผาสุข กลุ่มงานพัฒนายุทธศาสตร์สาธารณสุข ความสาคัญ หลักการและเหตุผล แผนการพัฒนาสาธารณสุขในอดีตจนถึงปัจจุบัน ได้มีแนวทางการพัฒนาปรับปรุงในส่วนความ ต้องการข้อมูลที่จะนาไปใช้ในหน่วยงานแต่ละระดับ นับตั้งแต่ระดับชุมชน หมู่บ้าน ตาบล อาเภอจนถึงระดับ จังหวัดและส่วนกลาง ดังนั้นการรายงานข้อมูลจึงมีแนวโน้มรายละเอียดที่แสดงถึงความต้องการจานวนมาก น้อยต่างกัน สาหรับข้อมูลที่หน่วยงานราชการในส่วนกลาง หรือระดับจังหวัดจะได้รับเป็นข้อมูลที่ใช้เพื่อการ บริหารจัดการ ในขณะที่สถานบริการหรือหน่วยปฏิบัติการมักมีความต้องการข้อมูลประกอบการตัดสินใจใน การปฏิบัติการ การจัดระบบข้อมูลข่าวสารในการจัดบริการ มีขึ้นเมื่อมีแนวคิดการปฏิรูประบบบริการปฐมภูมิเข้ามา ในจังหวัดกาฬสินธุ์ แนวคิดเรื่องเวชปฏิบัติครอบครัว ตลอดถึงแนวคิดการบริการแบบองค์รวม ต่อเนื่อง ผสมผสาน สถานบริการส่วนใหญ่ได้เล็งเห็นความสาคัญของการจัดการข้อมูลข่าวสาร จึงได้มีการปรับเปลี่ยน การจัดการข้อมูลข่าวสารในทุกอาเภอ เช่น การสารวจข้อมูลพื้นฐานในชุมชนที่รับผิดชอบ และพยายามเก็บ รวบรวมข้อมูลไว้ในแฟูมครอบครัว (Family File) เพื่อใช้ในการให้บริการที่ตอบสนองการบริการแบบองค์รวม ต่อเนื่อง ผสมผสาน และมีการนาคอมพิวเตอร์มาใช้มากขึ้น โดยใช้โปรแกรมสาเร็จรูปในการจัดเก็บ ประมวล วิเคราะห์ ข้อมูลเพื่อการติดตามควบคุมกากับงานหลากหลายโปรแกรม เช่น BasicPro, HCPro, HCIS เป็นต้น รวมทั้งการพยายามให้มีการเชื่อมโยงข้อมูลในส่วนต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องเข้ามา ประกอบกับทางส่วนกลางเองได้มี แนวคิดในการปรับระบบข้อมูลข่าวสาร โดยได้ยกเลิกระบบรายงานแบบเก่า และมุ่งพัฒนาระบบฐานข้อมูลที่ สามารถรองรับการนาข้อมูลไปใช้ประโยชน์ได้ทุกระดับ จึงได้มีการกาหนดชุดข้อมูลมาตรฐาน (Minimum Data Set) กระทรวงสาธารณสุขขึ้น โดยมีความเป็นมา เนื่องจากการปฏิรูประบบราชการและระบบสุขภาพ ทาให้กระทรวงสาธารณสุข ได้รับผลกระทบจากการปฏิรูปดังกล่าวไปด้วย จึงเป็นผลให้การดาเนินงานด้าน สุขภาพของประชาชนเปลี่ยนแปลงไปทุกระบบ ระบบข้อมูลข่าวสารสาธารณสุข ก็เป็นระบบหนึ่งที่จะต้อง ปรับเปลี่ยนให้สอดคล้องกับระบบใหญ่ เพื่อให้ได้มาซึ่งข้อมูลข่าวสารสาหรับใช้ในการกากับ ติดตาม และ ประเมินผล ด้านสุขภาพ ซึง่ องค์ประกอบของชุดข้อมูลมาตรฐาน (Minimum data Set) จากระบบ รายงานชุดข้อมูลมาตรฐานนี้ประกอบด้วย ๑. ชุดข้อมูลสถานะสุขภาพ ๒. ชุดข้อมูลการเฝูาระวัง ๓. ชุดข้อมูล หลักประกันสุขภาพ ๔. ชุดข้อมูลทรัพยากร ๕. ชุดข้อมูลการประเมินกิจกรรมผลการปฏิบัติงาน และ ๖. ชุด ข้อมูลที่จัดเก็บเฉพาะ ดังนั้นในการพัฒนาการจัดเก็บ การวิเคราะห์ การจัดการ เพื่อนาข้อมูลไปใช้ประโยชน์ จึงเป็นสิ่ง สาคัญยิ่งของการทางานโดยใช้ข้อมูลเป็นฐานคิด กลุ่มงานสร้างเสริมสุขภาพ สานักงานสาธารณสุขจังหวัด กาฬสินธุ์ ได้เห็นถึงความสาคัญจึงได้จัดทา “โครงการพัฒนาระบบการจัดการข้อมูลสร้างเสริมสุขภาพ จังหวัดกาฬสินธุ์” ขึ้น เพื่อเป็นการสร้างฐานข้อมูลของกลุ่มงานสร้างเสริมสุขภาพ และจัดการฐานความรู้ใน กลุ่มงานสร้างเสริมสุขภาพ มาใช้ประโยชน์ในการทางานทั้งระดับพื้นที่ และระดับจังหวัด และให้มีความ สอดคล้องกับสานักงานสาธารณสุขจังหวัดกาฬสินธุ์ และส่วนกลาง โดยมีโครงการรอง คือ โครงการอบรม เชิงปฏิบัติการ “การจัดทาเว็บไซต์ขององค์กรด้วย Google” เพื่อหางบประมาณมาพัฒนางานตามโครงการ ดังกล่าว ต่อไป

กลุ่มงานสร้ างเสริมสุ ขภาพ

หน้ า ๕๔


Health Promotion. KALASIN PUBLIC HEALTH OFFICE.

ความเชื่อมโยงและสอดคล้อง ตอบสนองยุทธศาสตร์สุขภาพจังหวัดกาฬสินธุ์ ตอบสนองยุทธศาสตร์กลุ่มงาสนสร้างเสริมสุขภาพ เปูาประสงค์ที่ ๑๒ มีระบบสุขภาพบนฐานความรู้ กลยุทธ์ ที่ ๘ พัฒนาระบบการจัดการฐานข้อมูลด้าน ด้วยการจัดความรู้ อย่างมีเหตุผล สร้างเสริมสุขภาพ

วัตถุประสงค์ของโครงการ ๑. เพื่อวิเคราะห์สถานการณ์การระบบข้อมูล และจัดทาระบบฐานข้อมูลของงานสร้างเสริมสุขภาพ ๒. เพือ่ จัดทาระบบฐานความรู้ในงานสร้างเสริมสุขภาพ สานักงานสาธารณสุขจังหวัดกาฬสินธุ์ ขอบเขตโครงการ ประเด็น กลุ่มเปูาหมายผู้รับประโยชน์จาก โครงการ

ขอบเขตโครงการ ๑. ผู้บริหารหน่วยงานสาธารณสุขในระดับจังหวัด และอาเภอ ๒. บุคลากรสาธารณสุขที่รับผิดชอบทุกงาน ของกลุ่มงานสร้างเสริม สุขภาพทั้งระดับจังหวัด และระดับอาเภอ ๓. องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น สถานศึกษา พื้นที่เปูาหมาย ๑. เปูาหมายการทางานพัฒนาระบบข้อมูล ประกอบด้วย แบ่งเป็น ๒ เปูาหมาย ๑.๑ โรงพยาบาลทุกแห่ง จานวน ๑๔ แห่ง ๑. เป้าหมายพัฒนางาน ๑.๒ สานักงานสาธารณสุขอาเภอ จานวน ๑๘ อาเภอ ๒. เป้าหมายหางบประมาณจาก ๑.๓ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตาบล จานวน ๑๕๖ แห่ง องค์กรภายนอก ๑.๔ กลุ่มงานสร้างเสริมสุขภาพ สสจ.กาฬสินธุ์ ๒. เปูาหมายจัดหางบประมาณจากหน่วยงานภายนอก เพื่อนามา พัฒนางานระบบฐานข้อมูล กลุ่มงานสร้างเสริมสุขภาพ ๒.๑ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ๒.๒ สถานศึกษา ๒.๓ หน่วยงานราชการ ๒.๔ เอกชน ๒.๕ ฯลฯ

กลุ่มงานสร้ างเสริมสุ ขภาพ

หน้ า ๕๕


Health Promotion. KALASIN PUBLIC HEALTH OFFICE.

ขั้นตอนและกระบวนการหลักในการดาเนินโครงการ (ระบุความเชื่อมโยงเป็นกระบวนการตามหลักการ P-D-C-A-S โดยแสดงเป็น) กิจกรรม สสจ.

ผู้รับผิดชอบ คปสอ. รพ. สสอ.

๑. กาหนดขอบเขตและ แนวทาง กรอบการทางาน ๒. จัดตั้งทีมคณะกรรมการ

๓. พัฒนาระบบฐานข้อมูล และ การจัดการฐานความรู้ ด้านงาน สร้างเสริมสุขภาพ

กรอบการดาเนินงาน สอ. ๑. แต่งตั้งคณะทางาน ๒. ประชุมภาคีเครือข่าย ทางาน เพื่อกาหนดกรอบ และแนวทางการทางาน ๑. จัดตั้งทีม คณะทางาน ระดับจังหวัด ๒. จัดตั้งทีม คณะทางาน ระดับอาเภอ ๑. อบรมเชิงปฏิบัติการ พัฒนาระบบฐานข้อมูล ๒. อบรมเชิงปฏิบัติการ ระบบการจัดการ ฐานความรู้ งานสร้างเสริม สุขภาพ ๓. การประเมินผล

ผลผลิตและผลลัพธ์ของโครงการ ผลผลิต (ผลที่เกิดขึ้นขณะทาโครงการ) ๑. มีระบบฐานข้อมูล (Data Set) ที่นาสู่การบริหาร จั ด การ การใช้ ป ระโยชน์ ด้ า นสร้ า งเสริ ม สุ ข ภาพ เพื่ อ ให้ เ อื้ อ ต่ อ การพั ฒ นาระบบสุ ข ภาพของจั ง หวั ด กาฬสินธุ์ ๒. มีระบบการสร้างฐานความรู้ ในงานสร้างเสริม สุขภาพ ของกลุ่มงานสร้างเสริมสุขภาพ สานักงานสาธารณสุขจังหวัดกาฬสินธุ์ ๓. บุ คลากรได้รั บการพัฒ นาศักยภาพในการจัดการ ฐานข้ อ มู ล ด้ า นสาธารณสุ ข ในประเด็ น การส่ ง เสริ ม สุขภาพ

กลุ่มงานสร้ างเสริมสุ ขภาพ

ผลลัพธ์(ผลที่เกิดหลังเสร็จสิ้นโครงการ) ๑. มีระบบฐานข้อมูล (Data Set) ที่นาสู่การบริหาร จัดการ การใช้ประโยชน์ ด้านสร้างเสริมสุขภาพ เพื่อให้ เอื้อต่อการพัฒนาระบบสุขภาพของจังหวัดกาฬสินธุ์ ๒. มีระบบการสร้างฐานความรู้ ในงานสร้างเสริม สุ ข ภาพ ของกลุ่ ม งานสร้ า งเสริ ม สุ ข ภาพ ส านั ก งานสาธารณสุขจังหวัดกาฬสินธุ์ ๓. เครือข่ายข้อมูล พัฒนางานด้านสร้างเสริมสุขภาพ ๔. กระบวนการพัฒนาข้อมูลสร้างเสริมสุขภาพอย่าง ต่อเนื่อง

หน้ า ๕๖


Health Promotion. KALASIN PUBLIC HEALTH OFFICE.

รายละเอียดกิจกรรมโครงการ ผลผลิต

ระยะเวลา

กระบวนงาน / กิจกรรมหลัก

ผู้รับผิดชอบ หน่วย ครั้ง/วัน

จานวน ๑ ครั้ง/๑ วัน/

๑. วิเคราะห์สถานการณ์ กาหนด ขอบเขต พื้นที่เปูาหมาย การจัดระบบ ข้อมูล Data Set ของกลุ่มงานสร้าง เสริมสุขภาพ ๒. แต่งตั้งคณะทางานพัฒนาระบบ ครั้ง ๑ ครั้ง ฐานข้อมูลสารสนเทศด้านงานสร้างเสริม สุขภาพ ระดับจังหวัด และระดับอาเภอ กิจกรรมที่ได้รับงบประมาณจากสสจ. ครั้ง/วัน/คน ๑ ครั้ง/๒ ปี ๒๕๕๕ วัน/ ๗๒ ๓. จัดประชุมเชิงปฏิบัติการเครือข่าย คน เปูาหมาย (อาเภอละ โรงพยาบาล,สสอ. และ รพ.สต ๔ คน) ๓.๑ วิเคราะห์ ประเภทของข้อมู ล ทุกงานของกลุ่มงานสร้างเสริมสุขภาพ การจัดเก็บ ระบบไหลเวียนข้อมูล แนว ทางการสร้ า งระบบฐานข้ อ มู ล เพื่ อ น าไปใช้ ป ระโยชน์ ให้ ต รงกั บ ความ ต้องการผู้ใช้ข้อมูล ระดับจังหวัด และ ระดับอาเภอ กิจกรรมหางบประมาณหน่วยงาน ครัง้ /วัน/คน ๑ ครั้ง/๒ ภายนอก วัน/๑๐๐ ๔. จัดทาโครงการย่อย : โครงการอบรม คน เชิงปฏิบัติการ “การจัดทาเว็บไซต์ของ องค์กรด้วย Google” หมายเหตุ : เป็นโครงการหา งบประมาณสนับสนุนการทางาน จาก หน่วยงานภายนอก ๔.๒ ประมาณการค่าลงทะเบียน ผู้เข้า อบรมบุคคลภายนอก เพื่อนามาพัฒนา งานระบบฐานข้อมูลงานสร้างเสริม สุขภาพ ๕. นางบประมาณค่าลงทะเบียน บุคคลภายนอก ตามโครงการ ข้อที่ นามาใช้เพื่อดาเนินการ ดังนี้ ๕.๑ จ้างเหมาลูกจ้างโครงการ ระยะเวลา ๑.๕ ปี (๑๘ เดือน) โครงการ

กลุ่มงานสร้ างเสริมสุ ขภาพ

เริ่มต้น ธ.ค.๕๔

สิ้นสุด ธ.ค.๕๔

ธ.ค.๕๔

ธ.ค.๕๔

ธ.ค. ๕๔

ธ.ค. ๕๔

ดร.ศิริชัย รินทะราช น.ส. นภัสวรรณ สนธินอก นายธีรวุฒิ วรโคตร ดร.ศิริชัย รินทะราช น.ส. นภัสวรรณ สนธินอก นายธีรวุฒิ วรโคตร ดร.ศิริชัย รินทะราช น.ส.นภัสวรรณ สนธินอก นายธีรวุฒิ วรโคตร นายบุญส่ง โยแก้ว

กพ.๕๕

กพ.๕๕

ดร.ศิริชัย รินทะราช น.ส. นภัสวรรณ สนธินอก นายธีรวุฒิ วรโคตร นายบุญส่ง โยแก้ว

ดร.ศิริชัย รินทะราช น.ส. นภัสวรรณ สนธินอก นายธีรวุฒิ วรโคตร

คน

๑๐๐

กพ.๕๕

กพ.๕๕

คน

มี.ค. ๕๕

ส.ค. ๕๖

ดร.ศิริชัย รินทะราช น.ส. นภัสวรรณ สนธินอก นายธีรวุฒิ วรโคตร นายบุญส่ง โยแก้ว

หน้ า ๕๗


Health Promotion. KALASIN PUBLIC HEALTH OFFICE.

ผลผลิต

ระยะเวลา

กระบวนงาน / กิจกรรมหลัก

ผู้รับผิดชอบ หน่วย

ต่อเนื่อง ๑ ปี ครึ่ง เพื่อ ๕.๑.๑ จัดทาระบบโปรแกรม ระบบฐานข้อมูล ทุกงานของกลุ่มงาน สร้างเสริมสุขภาพ ๕.๑.๒ จัดทาระบบฐานความรู้ ด้วยการสร้าง ห้องสมุดงานสร้างเสริม สุขภาพด้วยระบบ E-Book ประกอบด้วยทุกงานในกลุ่มงานสร้าง เสริมสุขภาพ ๕.๑.๓ ดูแลระบบฐานข้อมูล ดูแลระบบ ห้องสมุดฐานความรู้ กลุ่ม งานสร้างเสริมสุขภาพ ๖. จัดอบรมเชิงปฏิบัติการเครือข่ายด้าน สาธารณสุข ในจังหวัดกาฬสินธุ์ คน/วัน/ครั้ง ๖.๑ การบันทึกระบบฐานข้อมูล ๖.๒ การวิเคราะห์ข้อมูล ๖.๓ การนาข้อมูลไปใช้ประโยชน์ ๖.๔ การจัดทาฐานความรู้ด้านงาน สร้ างเส ริ ม สุ ข ภ าพ แ ละ อั บ โห ล ด (Upload) บนระบบ Web Site ห้องสมุดกลุ่มงานสร้างเสริมสุขภาพ โดย เครือข่ายระดับอาเภอ และระดับตาบล ๗. ประเมินผล และจัดการความรู้ ๗.๑ ประเมินผลด้วยแบบสอบถาม ๗. ประเมินผล และจัดการความรู้ ๗.๒ จัดทาเอกสารจัดการความรู้ เรื่อง “การพัฒนาระบบฐานข้อมูลด้าน ส่งเสริมสุขภาพ จังหวัดกาฬสินธุ”์

กลุ่มงานสร้ างเสริมสุ ขภาพ

จานวน

๑๐๐/๒/ ๑

เริ่มต้น

เม.ย ๕๕

สิ้นสุด

เม.ย ๕๕

ชุด

๑๐๐ ชุด

กย.๕๕

กย.๕๕

เล่ม

๑๐๐

กย.๕๕

กย.๕๕

ดร.ศิริชัย รินทะราช น.ส. นภัสวรรณ สนธินอก นายธีรวุฒิ วรโคตร นายบุญส่ง โยแก้ว

ดร.ศิริชัย รินทะราช น.ส. นภัสวรรณ สนธินอก นายธีรวุฒิ วรโคตร นายบุญส่ง โยแก้ว ดร.ศิริชัย รินทะราช น.ส. นภัสวรรณ สนธินอก นายธีรวุฒิ วรโคตร นายบุญส่ง โยแก้ว

หน้ า ๕๘


Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.