CVCA_Thai_Version1

Page 67

คู่มือส่งเสริ มการวิ เคราะห์ขีดความสามารถและความเปราะบางทีเ่ สีย่ งต่อการเปลีย่ นแปลงภูมิอากาศ

การปรั บตัวต่ อการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศที่กาลังดาเนินการ: ตัวอย่ างเรื่ องการบูรณาการ ประเด็นการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศเข้ าไว้ ในการวางแผนอาเภอในประเทศกานา

ภาพอาวุโสในหมู่ บ้านบอกุ อาเภอมัมปรุ สี ตะวันออก ประเทศกานา ร่ วมกันพูดคุยหารื อเกี ่ยวกับผลกระทบ ต่างๆ จากการเปลี ่ยนแปลงสภาพภูมอากาศที ่มีต่อวิ ถี ชี วิตของพวกเขาและการดาเนิ นการแก้ไขปั ญหาต่างๆ ที ่ พวกเขากาลังทาอยู่

ในประเทศกานา องค์การแคร์ ฯ ทางานร่วมกับชุมชนท้ องถิ่นในการส่งเสริ มการบูรณาการประเด็นการ ปรับตัวต่อการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศไว้ ในแผนระยะกลาง (Medium Term Plan 2010-2015) สาหรับ อาเภอมัม ปรุ สี (Mamprusi) และอาเภอบอกุ (Bawku) ที่ ตงั ้ อยู่ในภาคเหนื อของประเทศกานา โดยใช้ กระบวนการ CVCA ทาให้ สามารถค้ นหาประเด็นปั ญหาต่างๆ ที่เป็ นความเปราะบางที่มีอยู่ในชุมชนเป้าหมาย โดยเน้ น หนักที่ ก ลุ่ม คนที่ มี ความเปราะบาง กระบวนการ CVCA ได้ แสดงให้ เ ห็น ถึง ผลกระทบจากการ เปลี่ยนแปลงภูมิอากาศที่เกิดขึ ้นในภูมิภาคนี ้ ปั ญหาหลักๆ ที่ชมุ ชนเป้าหมายเผชิญอยู่ที่ระบุได้ จากกระบวนการ นี ค้ ือ นา้ ท่วม ความแห้ ง แล้ ง และฝนตกที่ ไ ม่เป็ นไปตามแบบแผนปกติ การวิเคราะห์ ด้ว ยวิธี นีย้ ัง ได้ ข้อมูล เกี่ ยวกับสิ่งที่เป็ นความเปราะบางโดยเฉพาะของกลุ่มผู้หญิง ซึ่งมีภาระส่วนใหญ่เป็ นผู้รับผิดชอบดูแลความ เป็ นอยู่ที่ดีของครอบครัว ผู้หญิงมักจะถูกทอดทิ ้งให้ ล้าหลังกว่าผู้ชายที่ต้องออกไปหางานทาในท้ องถิ่นอื่นนอก ชุมชน ผู้หญิงเหล่านีไ้ ม่สามารถเข้ าถึงทรัพยากรที่สาคัญ เช่น ที่ดิน ได้ อย่างมัน่ คง ผลการวิเคราะห์ถกู นาไปใช้ เป็ นพื ้นฐานสาหรับการพัฒนาแผนปฏิบตั กิ ารของชุมชน ที่มีการกาหนดกิจกรรมเร่งด่วนเพื่อลดความเปราะบาง ที่เสี่ยงต่อการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศไว้ ในแผน โครงการนี ้มีแนวทางการทางานจากระดับล่างขึ ้นบนควบคูก่ บั การดาเนินงานจากระดับบนลงล่าง โดย เสริมสร้ างความสามารถของชุมชนให้ สามารถสื่อสารความต้ องการและความเร่งด่วนของพวกเขาให้ ผ้ มู ีอานาจ ในการตัด สิ น ใจได้ รับ ทราบ ขณะเดี ยวกัน โครงการก็ ทางานกับเจ้ า หน้ าที่ ระดับ อาเภอเพื่ อ ส่ง เสริ ม ให้ เกิ ด กระบวนการวางแผนแบบมีส่วนร่วม จุดมุ่งเน้ นที่โครงการให้ ความสาคัญเป็ นพิเศษคือ ทาให้ แน่ใจว่าผู้หญิงจะ ได้ มีบทบาทเป็ นผู้นาในการจัดการปกครองท้ องถิ่น โดยส่งเสริ มให้ กลุ่มผู้หญิงเข้ ามามีส่วนเกี่ยวข้ องในสภา พื ้นที่ (Area Council) และในองค์กรชุมชน รวมทังเสริ ้ มสร้ างให้ ผ้ หู ญิงมีความสามารถมากขึ ้น เพื่อให้ สามารถ ทางานเสริมสร้ างการเปลี่ยนแปลงเชิงนโยบายในประเด็นสิทธิของผู้หญิงได้ ดีขึ ้น


Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.