วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม ปีที่ 5 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2556

Page 58

เชิดชัย เลิศจิตรเลขา ออกัสติน สุกีโย ปิโตโย และนันทพล สุขสำ�ราญ

ศึกษาครูจูหลิง ปงกันมูล ครูจูหลิง ปงกันมูล เกิดเมื่อวันที่ 29 มีนาคม พ.ศ. 2522 เป็นบุตรคนเดียวของ นายสุน นางค�ำมี ปงกันมูล มีภูมิล�ำเนาอยู่ที่ ต.ปงน้อย อ.ดอยหลวง จ.เชียงราย บรรจุเข้า รับราชการโดยการสอบแข่งขันได้ในต�ำแหน่ง ครู ผู ้ ช ่ ว ยโรงเรี ย นบ้ า นกู จิ ง ลื อ ปะ อ�ำเภอ ระแงะ ส�ำนักงานเขตพื้นที่การศึกษานราธิวาส เขต 1 เมื่อวันที่ 11 ตุลาคม พ.ศ. 2548 วันที่ 19 พฤษภาคม 2549 เวลาประมาณ 12.30 น. ชาวบ้านได้ปิดล้อมจับตัว ครูจูหลิง ปงกันมูล พร้อมครูสินีนาฏ ถาวรสุข เป็นตัวประกันและ ท�ำร้ายร่างกายจนได้รับบาดเจ็บสาหัส หลัง จากนั้นเจ้าหน้าที่ได้เข้าไปช่วยเหลือน�ำตัวครู ทั้งสองคนส่งโรงพยาบาลระแงะ และได้ส่งตัว ต่อไปยังโรงพยาบาลนราธิวาสราชนครินทร์ อ�ำเภอเมืองนราธิวาส แต่เนื่องจากครูจูหลิง ปงกันมูล มีอาการบาดเจ็บอย่างสาหัส จึงได้ น�ำตัวส่งต่อไปยังโรงพยาบาลสงขลานครินทร์ อ�ำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา หลังเกิดเหตุเมื่อวันที่ 19 พฤษภาคม พ.ศ. 2549 แพทย์โรงพยาบาลสงขลานครินทร์ อ�ำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา พบว่า “ครู จูหลิง ปงกันมูล มีบาดแผลขนาดใหญ่โดยรอบ ศีรษะและล�ำคอ มีรอยช�้ำขนาดใหญ่ที่คอและ ด้านหลัง ตรวจด้วยเอกซเรย์คอมพิวเตอร์มี

การแตกร้าว และยุบตัวของกะโหลกศีรษะ สมองบวมมาก มีรอยช�้ำและเลือดออกที่ก้าน สมอง ได้ท�ำแผลและแก้ไขภาวะเกล็ดเลือด ต�่ำ และพยุงสัญญาณชีพซึ่งยังไม่ปกติ ต้องใช้ ยากระตุ้นหัวใจให้ท�ำงาน ใช้เครื่องช่วยหายใจ ตลอดเวลา เนื่ อ งจากไม่ ส ามารถหายใจได้ ม่านตาขยายมากไม่ตอบสนองต่อแสงซึ่งเป็น สัญญาณบ่งว่าสมองไม่ท�ำงาน” โรงพยาบาลสงขลานครินทร์ ได้ระดม แพทย์ผู้เชี่ยวชาญทุกสาขาที่เกี่ยวข้องรักษา ครูจูหลิงอย่างเต็มความสามารถ โดยเฉพาะ สมองที่ได้รับความกระทบกระเทือนอย่างมาก สมองบวมมีรอยช�้ำและเลือดออกที่ก้านสมอง แต่อย่างไรก็ดีจากข้อมูลที่ผู้เขียนได้พยายาม สืบค้นนั้นไม่มีหลักฐานใดทางการแพทย์ที่ระบุ ว่าหลังเกิดเหตุแพทย์ได้วินิจฉัยว่าครูจูหลิงได้ เสียชีวิตแล้ว เพราะได้รับการวินิจฉัยว่าสมอง ตาย ซึ่งในทางการแพทย์แล้วนั้นบุคคลที่ได้รับ การวินิจฉัยว่าสมองตาย หมายถึง การที่แกน สมองถูกท�ำลายจนสิ้นสุดการท�ำงานโดยสิ้น เชิงตลอดไปถือว่าบุคคลนั้นถึงแก่ความตาย ตามประกาศของแพทยสภา ลงวัน ที่ 30 มิถุนายน พ.ศ. 2532 เรื่อง “เกณฑ์การ วินิจฉัยสมองตาย” เมื่อใดจึงจะถือว่าผู้ป่วย มีอาการสมองตาย เช่น ต้องไม่รู้สึกตัวและ อยู่ในเครื่องช่วยหายใจ จะต้องมีข้อวินิจฉัย

ปีที่ 5 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2013/2556

53


Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.