สาร...สถาบันอยุธยาศึกษา ปีที่ 4 ฉบับที่ 2 มกราคม-มีนาคม 2557

Page 1


สาร..สถาบันอยุธยาศึกษา I ๑

สาร.. สถาบันอยุธยาศึกษา ปที่ ๔ ฉบับที่ ๒ มกราคม – มีนาคม ๒๕๕๗ เจาของ สถาบันอยุธยาศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา ๙๖ ถนนปรีดีพนมยงค อ.พระนครศรีอยุธยา จ.พระนครศรีอยุธยา ๑๓๐๐๐ โทรศัพท / โทรสาร ๐๓๕-๒๔๑-๔๐๗ เว็บไซต www.ayutthayastudies.aru.ac.th วัตถุประสงค การเผยแพร จํานวนที่พิมพ ที่ปรึกษา บรรณาธิการบริหาร ผูชวยบรรณาธิการบริหาร บรรณาธิการ ผูชวยบรรณาธิการ กองบรรณาธิการ ศิลปกรรม พิมพที่ ภาพปก

๑. เพื่อเผยแพรความรูดานวัฒนธรรมอยุธยา ๒. เพื่อประชาสัมพันธกิจกรรมของสถาบันอยุธยาศึกษา ปละ ๔ ฉบับ (ราย ๓ เดือน) ๕๐๐ เลม จิรศักดิ์ ชุมวรานนท รักษาราชการแทนอธิการบดีมหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา จงกล เฮงสุวรรณ กันยารัตน คงพร อุมาภรณ กลาหาญ สุรินทร ศรีสังขงาม พัฑร แตงพันธ สาธิยา ลายพิกุน ปทพงษ ชื่นบุญ อายุวัฒน คาผล อรอุมา โพธิ์จิ๋ว ณัฐฐิญา แกวแหวน ประภาพร แตงพันธ สายรุง กล่ําเพชร ศรีสุวรรณ ชวยโสภา พัฑร แตงพันธ โรงพิมพเทียนวัฒนาพริ้นทติ้ง ๑๖/๗ ถ.เดชาวุธ ต.หอรัตนไชย อ.พระนครศรีอยุธยา จ.พระนครศรีอยุธยา ๑๓๐๐๐ โทร. ๐๓๕-๒๔๑-๕๗๘, ๐๓๕-๒๔๓-๓๘๖ โทรสาร ๐๓๕-๓๒๓-๓๙๖ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัว เสด็จออกประทับ ณ รัตนสิงหาศน พระที่นั่งสรรเพชญปราสาท พระราชวังกรุงศรีอยุธยา


๒ I สาร..สถาบันอยุธยาศึกษา

บทบรรณาธิการ

ความโดดเด น ของ “พระนครศรี อ ยุธ ยา” ในฐานะ “กรุ ง ศรี อ ยุ ธ ยา” อดีตราชธานีของสยามนั้น ไดกลายเปนโลกทัศนสําคัญ ที่มีตอมุมมองและการรับรู ของสาธารณชนโดยทั่ วไป จนอาจเปนเหตุให ง านวิ ชาการดา น “อยุ ธยาศึ กษา” ละเลยหรือมองขามระยะเวลาสําคัญในชวง “หลังกรุงศรีอยุธยา” ซึ่งอาจเปนเหตุให ความเขาใจในบทบาทของอดีตราชธานีแหงนี้ ยังมีมุมที่ยังไมรับการศึกษาอีกมาก โดยเฉพาะชวงสมัย “มณฑลกรุงเกา” ซึ่งเปนชวงรอยตอสําคัญ ของการ พั ฒ นาราชอาณาจั ก รสยามสู “รั ฐ เขตแดน” ที่ เ ป น รากฐานสู ก ารเป น “รั ฐ ประชาธิ ป ไตย” ในเวลาต อ มา ดั ง นั้ น ในมุ ม มองหนึ่ ง อยุ ธ ยาจึ ง เป น ดั ง “สัญลักษณ” ที่ชนชั้นนําหรือชนชั้นปกครองใชเปน “เครื่องมือ” เพื่อวัตถุประสงค และความคาดหวังตางๆ หรืออยางนอยที่สุดคือ การใชอยุธยาในฐานะสัญลักษณของ “ความยิ่งใหญ” เพื่อรองรับยุคสมัย “ปจจุบัน” นั้นเอง บทความ “บทบาทของกรุงศรีอยุธยาที่ถูกระลึกใชในสมัยมณฑลกรุงเกา” ไดแสดงใหเห็นถึงอยุธยาในฐานะ “สัญลักษณ” ที่สื่อถึง “อุดมการณ” ของชนชั้นนํา ในกระแสการเปลี่ยนแปลงของกรุงรัตนโกสิน ทร ดวยมุมมอง หรือการประเมินคา “กรุงศรีอยุธยา” ในชวงเวลาและบทบาทที่แตกตางกัน


สาร..สถาบันอยุธยาศึกษา I ๓

บทความ “พระแสงราชศัสตรา : พระราชอาชญาเหนือแผนดินมณฑล กรุงเกา” ไดแสดงใหเห็นถึงบทบาทของพระแสงดาบฯในฐานะ “สัญลักษณ” ที่สื่อ ถึง “พระราชอํานาจ” รวมไปถึงลักษณะและการใชพระราชอํานาจ ในบริบทของ ราชอาณาจักรสยามที่มีการปฏิรูปใหมอยางมีนัยสําคัญ บทความ “สถานี รถไฟกรุงเกา : จากมณฑลสูราชอาณาจัก รสยาม” ได อ ธิ บายถึ ง การรถไฟระยะแรกในฐานะ “สั ญ ลัก ษณ ” ที่ เ ป น ภาพสะทอ นของ “นโยบาย” จากชนชั้ น นํ า ที่ พ ยายามผนวกความจํ า เป น ด า นการปกครอง ราชอาณาจักรในฐานะ “รัฐเขตแดน” เพื่อประโยชนในการพัฒนาประเทศ ภายใต ขอจํากัดที่มีอยูในชวงเวลานั้น ประวัติศาสตรสมัยหลังกรุงศรีอยุธยา โดยเฉพาะชวง “หลังกรุงศรีอยุธยา” ยังคงมีประเด็นที่นาสนใจรอการคนควาและวิจัย เพื่อการขยายขอบเขตทางวิชาการ ซึ่งเชื่อวาจะนําไปสูความเขาใจในความเปน “ไทย” ทั้งมุมมองทางประวัติศาสตรและ สมัยปจจุบัน รวมไปถึงการสรางความเขาใจในสิ่งที่เรากําลังประสบและเปนอยูไ ด อยางมีวิจารณญาณ สุรินทร ศรีสังขงาม


๔ I สาร..สถาบันอยุธยาศึกษา

สารบัญ หนา บทบรรณาธิการ

บทบาทของกรุงศรีอยุธยา ที่ถูกระลึกใชในสมัยมณฑลกรุงเกา

พระแสงราชศัสตรา : พระราชอาชญาเหนือแผนดินมณฑลกรุงเกา

๑๔

สถานีรถไฟกรุงเกา : จากมณฑลสูราชอาณาจักรสยาม

๒๔

ภาพเกาเลาอดีต

๓๒

จดหมายเหตุอยุธยาศึกษา

๓๓

อยุธยาศึกษาปริทัศน

๓๕

รอบรั้วเรือนไทย

๓๗

กิจกรรมของสถาบันอยุธยาศึกษา เมษายน – มิถุนายน ๒๕๕๗

๔๐


สาร..สถาบันอยุธยาศึกษา I ๕

บทบาทของกรุงศรีอยุธยา ที่ถูกระลึกใช ในสมัยมณฑลกรุงเก า พัฑร แตงพันธ * 0

นับเปนเรื่องปกติของสังคมแตละยุคสมัยที่จะมีการนําประวัติศาสตรกลับมา รับใชสังคมในปจจุบัน ดังตัวอยางที่เห็นไดชัดเจนคือ โครงการอนุรักษและพัฒนานคร ประวัติศาสตรเพื่อวัตถุประสงคหนึ่ง ในการประชาสัมพันธความรุงเรืองในอดีตของ ชาติ หรื อ อี ก ทางหนึ่ ง เพื่ อ สร า งรายได จ ากอุ ต สาหกรรมการท อ งเที่ ย ว เป น ต น เชนเดียวกันนี้ “อยุธยา” ก็มักถูกหยิบยกขึ้นมารับใชสังคมในสมัยมณฑลกรุงเกาอยู หลายประการ การที่ ร าชสํ า นั ก แห ง ต น กรุ ง รั ต นโกสิ น ทร ขนานนามอดี ต ราชธานี กรุงศรีอยุธยาวา “กรุงเกา” นั้นนับเปนตัวอยางที่สะทอนใหเห็นถึง การจํากัดฐานะ พิเศษของอยุธยา ที่เรียกขานวา “กรุง ” อันหมายถึง ราชธานี แทนคําวา “เมือง” สะทอนถึงบทบาทของอยุธยาที่ราชสํานักกรุงรัตนโกสินทรยังระลึกถึงในฐานะเมือง หลวงเกาของคนไทยอยูเสมอนั่นเอง กอปรกับสายสัมพันธทางวัฒนธรรมระหวางกรุง ศรีอยุธยากับกรุงรัตนโกสินทรที่ไมเคยขาดจากกัน หากแตยังเปนสายใยวัฒนธรรมที่ สง ตอจารีตประเพณี ขนบธรรมเนีย ม ศิลปกรรม สถาปต ยกรรม ตลอดจนตัวบท กฎหมายต า ง ๆ ที่ ร าชสํ า นั ก กรุ ง รั ต นโกสิ น ทร นํ า มาประยุ ก ต ใ ช อ ยู ต ลอดเวลา ประหนึ่งวาสองราชธานีนี้มีลมหายใจที่ตอเนื่องกัน * นักวิชาการศึกษา สถาบันอยุธยาศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา


๖ I สาร..สถาบันอยุธยาศึกษา

สายสัมพันธทางวัฒนธรรมระหวางกรุงศรีอยุธยากับกรุงรัตนโกสินทรเปน สิ่งจําเปนชนิดที่มิอาจแยกออกจากกันได เพราะยิ่งเขาสู “ยุคลาอาณานิคม” ที่ชาติ มหาอํ า นาจตะวั น ตกเข า มารุ ก รานบรรดารั ฐ ต า ง ๆ ในอุ ษ าคเนย ด ว ยเหตุ ผ ล นานาประการ อาทิ ขอกลาวหาที่วาดวยเรื่องความลาหลัง ความไมมีอารยธรรมที่ สามารถยื น ยั น ความเจริ ญ ในอดี ต ของชาติ ด ว ยเหตุ นี้ ทํ า ให ร าชสํ า นั ก แห ง กรุงรัตนโกสินทรยิ่งกระตือรือรนที่จะผูกพันตนเองเขากับอยุธยา เพราะสายสัมพันธที่ ต อ เนื่ อ งจากกรุ ง ศรี อ ยุ ธ ยามาสู ก รุ ง รั ต นโกสิ น ทร นั้ น ช ว ยสร า งความชอบธรรม ในการดํารงอยูของราชธานีที่มีอายุราว ๑๐๐ ปเศษของกรุงรัตนโกสินทร ใหสืบเนื่อง เปน ชนชาติ เดีย วกั น ดั ง เห็ นไดจากการเปลี่ย นแปลงวิเ ทโศบายตา ง ๆ ในรัช สมั ย พระบาทสมเด็จพระจอมเกลาเจาอยูหัว (รัชกาลที่ ๔ ) อันเปนแบบอยางในการนําเอาความหลังของราชธานีกรุงศรีอยุธยามาระลึก ใชเพื่อการธํารงอยูของชาติ เพราะเมื่อยางสูสมัยมณฑลกรุงเกา รัฐบาลแหงราชสํานัก กรุงรัตนโกสินทร ยังคงนําประวัติศาสตรอยุธยามาระลึกใชอยางตอเนื่อง ในโอกาส และสถานการณ ต า ง ๆ เช น การระลึ ก ถึ ง อยุ ธ ยาในฐานะที่ เ ป น ที่ ส ถิ ต แห ง ดวง พระวิ ญ ญาณบรรพกษั ต ริ ย ไ ทยบ า ง ในฐานะประวั ติ ศ าสตร แ ละโบราณคดี แหงชาติบาง และในฐานะรอยเทาทางประวัติศาสตรบาง ดังที่จะกลาวถึงตอไปนี้

อยุธยา ในฐานะที่สถิตแห งดวงพระวิญญาณบรรพกษัตริย ไทย สั ญ ญ าณที่ ส ะ ท อ น ถึ ง สายสั ม พั น ธ ที่ ท อ ดร ะ หว า ง ก รุ ง ศรี อยุ ธ ย า กับกรุง รัต นโกสิน ทร คื อการที่ พระมหากษัต ริย แห ง กรุง รั ตนโกสิน ทรท รงมีค วาม เคารพตอบรรพกษัตริยอยุธยาเสมือนประหนึ่ง เครือญาติ ดัง ธรรมเนียมที่พระเจา แผนดินแหงกรุงรัตนโกสินทรจะตองเสด็จมาบําเพ็ญพระราชกุศลที่กรุงเกาอยูทุก ๆ รัชกาล ๑ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัว (รัชกาลที่ ๕) ทรงเสด็จประพาส กรุงเกาอยูตลอดรัชสมัย ซึ่งนอกเหนือจากการเสด็จทอดพระเนตรสถานที่สําคัญทาง 1

กองจดหมายเหตุแหงชาติ. (๒๕๒๗). จดหมายเหตุพระราชพิธีรัชมัลคลาภิเษก ร.ศ.๑๒๖,๑๒๗. หนา ๗.


สาร..สถาบันอยุธยาศึกษา I ๗

ประวั ติ ศาสตร ตา ง ๆ แล ว บอ ยครั้ ง ที่ท รงทํ าพิ ธี สัง เวยอดี ตบรรพกษัต ริย อ ยุธ ยา ทั้ง ๓๓ พระองค โดยทรงจุดเทียนสักการะพรอมดวยเครื่องอุทิศถวาย บางคราว มีการจําแนกฐานะของเทียนตามพระเกียรติยศของกษัตริยอยุธยาแตละพระองค ประกอบดวย เทียนเล็ก เทียนใหญ เทียนเงิน เทียนทอง ตามลําดับฐานะ ๑ แสดงถึง กตเวทีจิตที่ทรงมีตอพระเจาแผนดินอยุธยาเสมอมา แมแตในวโรกาสที่พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัว ทรงครองราช สมบัติเปนเวลา ๔๐ ป เทากับสมเด็จพระรามาธิบดีที่ ๒ แหงกรุงศรีอยุธยาที่ขณะนั้น ถือวาเปนพระเจาแผนดินที่ครองราชยยืนยาวที่สุดในประวัติศาสตรของชาติ พระองค ก็ทรงมีความปติและ “เต็มพระราชหฤทัยจะใครทรงบําเพ็ญ พระราชกุศล” ๒ อุทิศ ถวายสมเด็จพระรามาธิบดีที่ ๒ และพระเจาแผนดินกรุงศรีอยุธยาทุกพระองค รวมถึง พระเจ า กรุ ง ธนบุ รี จึ ง ทรงมี พ ระบรมราชโองการให พ ระเจ า น อ งยาเธอ กรมหลวงดํ า รงราชานุ ภ าพ เสนาบดี ก ระทรวงมหาดไทย เป น แม ง านจั ด เตรี ย ม งานและสถานที่ไวอยางยิ่งใหญ โดยทรงเสด็จพระราชดําเนินมาบําเพ็ญพระราชกุศล รัชมงคลที่กรุงเกา ระหวางวันที่ ๒๙ พฤศจิกายน – ๓ ธันวาคม พ.ศ.๒๔๕๐ การบํ า เพ็ ญ พระราชกุ ศ ลสั ง เวยอดี ต มหาราชที่ พ ระราชวั ง ในกรุ ง เก า ไดปรากฏเปน ราชประเพณีของพระมหากษัตริยกรุง รัตนโกสินทรที่ ยึดถือสืบตอมา ดั ง ที่ พ ระบาทสมเด็ จ พระมงกุ ฎ เกล า เจ า อยู หั ว (รั ช กาลที่ ๖) พระบาทสมเด็ จ พระปกเกลาเจาอยูหัว (รัชกาลที่ ๗ ) และในรัชกาลตอ ๆ มาทุกพระองค ไดเสด็จมา บํ า เพ็ ญ พระราชกุ ศ ลสั ง เวยอดี ต มหาราชที่ ก รุ ง เก า ภายหลั ง จากพระราชพิ ธี บรมราชาภิเษกอันเปนพระราชพิธีสําคัญในการสถาปนาขึ้นเปนพระมหากษัตริย ๓ 2

3

4

ขาวเสดจประภาศกรุงเกาแลเสดจกลับจากบางปอิน. (๒๔๓๑, ๒ สิงหาคม). ราชกิจจานุเบกษา. เลม ๕ ตอนที่ ๑๓. หนา ๑๐๓-๑๐๔. ๒ ขาวเสด็จพระราชดําเนิรไปทรงบําเพ็ญพระราชกุศลรัชมงคลที่กรุงเกา. (๒๔๕๐, ๘ ธันวาคม). ราชกิจจานุเบกษา. เลม ๒๔ ตอนที่ ๓๖. หนา ๙๒๑-๙๒๗. ๓ การเฉลิมพระราชมณเฑียรพระราชวังบางปอิน แลการสังเวยอดีตะมหาราชาธิราช. (๒๔๕๓, ๑๑ ธันวาคม). ราชกิจจานุเบกษา. เลม ๒๗ หนา ๒๐๘๐-๒๐๘๙.


๘ I สาร..สถาบันอยุธยาศึกษา

แสดงใหเห็น วากรุงศรีอยุธยาที่แมจะลมสลายและมีสภาพยอยยับอยางไร อยุธยาก็ยังเปนสัญลักษณของที่สถิตแหง ดวงวิญ ญาณบรรพบุรุษของคนไทยที่ยัง มี ความเกี่ ย วเนื่ อ งผู ก พั น โดยความรู สึ ก ทางจิ ต ใจกั บ พระมหากษั ต ริ ย แ ละผู ค นใน สมัยรัตนโกสินทรอยูเสมอมา

อยุธยา ในฐานะประวัติศาสตร และโบราณคดีแห งชาติ การศึก ษาประวั ติศ าสตร และโบราณคดี นับ เป น หนทางหนึ่ ง ที่ ราชสํ านั ก กรุงรัตนโกสินทรนํามาใชเปนเครื่องยืนยันความ “ศิวิไลซ” หรือความรุงเรืองชานาน ของชาติ ในยุคที่ชาติมหาอํานาจตะวันตกกําลัง เขามารุกรานเอกราชของรัฐตาง ๆ ในอุษาคเนย โดยใชเหตุดานความปาเถื่อน ลาหลัง รวมถึงการไมมีประวัติศาสตรและ วัฒ นธรรม มาเป น ขอ อางในการเขายึ ดครอง นํามาซึ่ง ความกระตือ รือร น สื บค น ประวัติศาสตรและรองรอยทางโบราณคดีของบรรดาชนชั้นนําอยางมาก พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอย ูหัว ทรงมีความสนพระทัยในดาน ประวัติศาสตรและโบราณคดี ดังที่ทรงเสด็จประพาสโบราณสถานในเมืองกรุงเกาอยู หลายครั้ ง * โดยเฉพาะทรงโปรดที่ จ ะเสด็ จ ประพาสพระราชวั ง กรุ ง ศรี อ ยุ ธ ยา ทอดพระเนตรพระที่นั่งตาง ๆ รวมไปถึงการเสด็จทอดพระเนตรสถานที่สําคัญอื่น ๆ ทั้งในและนอกกรุง* * อาทิ วิหารพระมงคลบพิตร หอกลอง ศาลพระกาฬ วัดกุฎีดาว วัดอโยธยา วัดใหญ วัดหันตรา วัดภูเขาทอง เปนตน ๑ ทําใหชวงเวลานี้ ปรากฏงาน ศึกษาดานประวัติศาสตรและวัฒนธรรมเปนจํานวนมาก 5

6

7

* พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัว ทรงเสด็จทอดพระเนตรโบราณสถานในกรุงเกา หลายครั้ ง ทั้ ง ที่ เ สด็ จ ทอดพระเนตรโบราณสถานโดยเฉพาะ และเสด็ จ ทอดพระเนตร โบราณสถานระหวางการเสด็จทอดผาพระกฐิน หรือบําเพ็ญพระราชกุศล อาทิ ในพุทธศักราช ๒๔๓๑, ๒๔๔๒, ๒๔๔๕, ๒๔๔๗, ๒๔๔๘, ๒๔๕๐, เปนตน ** ในสมัยนั้นสังคมยังคงระลึกถึงอยุธยาในสถานะที่เปน “กรุงเกา” ๑ ขาวเสดจประภาศกรุงเกาแลเสดจกลับจากบางปอิน. (๒๔๓๑, ๒ สิงหาคม). ราชกิจจา นุเบกษา. เลม ๕ ตอนที่ ๑๓. หนา ๑๐๓-๑๐๔. และ ขาวเสด็จประพาศพระอารามตาง ๆ ใน กรุงเกา. (๒๔๔๗, ๑๘ ธันวาคม). ราชกิจจานุเบกษา. เลม ๒๐ ตอนที่ ๓๘. หนา ๖๘๓.


สาร..สถาบันอยุธยาศึกษา I ๙

นอกจากนี้ในรัชกาลของพระองคยังมีการริเริ่มการขุดคนทางโบราณคดีตาม วิทยาการตะวันตก ดังที่ทรงมีรับสั่งใหมีการขุดแตงสํารวจพระราชวังกรุง ศรีอยุธยา เพื่อเปนขอมูลหลักฐานทางโบราณคดีประกอบการศึกษาทางประวัติศาสตร เพื่อเปน เครื่องยืนยันความเปนปกแผนมั่นคง และเจริญรุงเรืองชานานของชาวสยาม ๑ รวมถึง การจั ด ตั้ ง โบราณคดี ส โมสร เพื่ อ เป น สถาบั น การศึ ก ษาทางประวั ติ ศ าสตร และโบราณคดีในชวงพระราชพิธีรัชมงคลที่กรุง เกา รวมถึง การประกาศสงวนที่ดิน ภายในเกาะเมืองกรุง เกาเพื่อสงวนรักษาโบราณสถาน โดยทรงมีพระราชดําริที่จะ ทําใหกรุงเกา เปนเมืองประวัติศาสตรของชาติ สําหรับตอนรับพระราชอาคันตุกะ ๒ ซึ่งในรัชกาลของพระองคไดทรงจัดการตอนรับแกรนด ดยุก บอริส วลาดิมิโรวิตซแหง รั ส เซี ย ใน พ.ศ. ๒๔๔๕ ๓ และจั ด การรั บ รอง ดุ ก โยฮั น อั ล เบรกต ผู ป กครอง รัฐบรันสวิก ของเยอรมนี และดัชเชสอิลิชาเบต พระชายา ณ โบราณสถานตาง ๆ ในกรุงเกา เมื่อ พ.ศ.๒๔๕๒ ๔ สมดังพระราชปณิธานของพระองค อันเปนสวนหนึ่งของการแสดงออกใหนานาชาติเห็นซึ่งความศิวิไลซในแบบ ฉบับของชนชาติไทย ซึ่งเปนชาติที่มีประวัติศาสตรและวัฒ นธรรมยาวนานตอเนื่อง จึงเปนสิ่งที่สะทอนใหเห็นวาอดีตของอยุธยาดํารงความเปนรากเหงาที่มิอาจตัดใหขาด จากกรุงรัตนโกสินทรไดเลย 8

9

1

0

11

อยุธยา ในฐานะรอยเท าทางประวัติศาสตร ราชสํ า นั กกรุ ง รั ต นโกสิ น ทร ได ใ ห การยอมรับ และยกย อ งกรุ ง ศรี อ ยุ ธ ยา ในฐานะอดี ต ราชธานี อั น รุ ง เรื อ งมาช า นาน ที่ มี ม หาราชและวี ร กษั ต รี ที่ ทรงพระปรี ช าสามารถ ปกป อ งและปกครองแผ น ดิ น ยาวนานถึ ง ๔๑๗ ป ๑

ประชุมพงศาวดารภาคที่ ๖๓. (๒๔๗๙). หนา ๑๔๙. เรื่องเดียวกัน. หนา ๑๕๓. ๓ การรับ อิส อิม บีเรียล ไฮเนส แกรนด ดยุก บอริส วลาดิมิโรวิตซ กรุงรัสเซีย. (๒๔๔๕, ๑ มิถุนายน). ราชกิจจานุเบกษา. เลม ๑๙. หนา ๑๔๓-๑๔๖. ๔ การรับดุกโยฮันอัลเบรกต ผูสําเร็จราชการเมืองบรันซวิก. (๒๔๕๒, ๖ มีนาคม). ราชกิจจานุเบกษา. เลม ๒๖. หนา ๒๕๘๖-๒๖๐๓. ๒


๑๐ I สาร..สถาบันอยุธยาศึกษา

ดวยเกียรติยศทั้งหลายที่บรรพกษัตริยแหงของกรุงศรีอยุธยาไดกระทําไวในกาลกอน ได ถู ก นํ า มาระลึ ก ใช เ สมื อ นเป น รอยเท าในอดี ต ที่ เ คยก า วไกล เป น หมุ ด หมายใน การปกครองแผน ดิน ของพระมหากษัตริยแหง กรุง รัตนโกสินทรใหกาวล้ํานําหนาสู ความสถาพรของบานเมืองสืบไป ดั ง ที่ บ รรดาข า หลวงเทศาภิ บ าลมณฑลกรุ ง เก า มั ก ใช เ กี ย รติ ย ศทาง ประวัติศาสตรทั้งหลาย เปนเครื่องยกยองและเชิดชูพระเกียรติ แกพระมหากษัตริย รั ช กาลต า ง ๆ เช น ในคราวที่ ก รมหมื่ น มรุ พ งษ ศิ ริ พั ฒ น ข า หลวงเทศาภิ บ าล สําเร็จราชการมณฑลกรุงเกา ไดทรงถวายไชยมงคลพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลา เจ า อยู หั ว ภายหลั ง จากที่ ท รงเสด็จ กลั บ จากการประพาสยุ โ รป ใน พ.ศ. ๒๔๔๐ โดยไดทรงยกยองที่พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัวเสด็จเยือนตางประเทศ เพื่อแสวงประโยชนแกราชการบานเมือง เปรียบดัง พระมหากษัตริยกรุง ศรีอยุธยา ๖ พระองค * ที่เคยเสด็จออกนอกพระราชอาณาเขตเพื่อประโยชนแหงราชอาณาจักร 12

13

พร อ มทั้ ง ยั ง ทรงกลา วเปรี ย บพระปรีช าสามารถของสมเด็ จ พระนางเจ า เสาวภาผองศรี พระบรมราชินีนาถ* * ที่ทรงปฏิบัติหนาที่เปนผูสําเร็จราชการแทน พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัว ดังสมเด็จพระสุริโยทัยที่รวมกระทําศึก ชวยพระสวามีจนสิ้นพระชนมชีพ เปนตัวอยางที่สะทอนวา อยุธยา เปน ดังรอยเทา ทางประวัติศาสตร ดังที่ กรมหมื่นมรุพงษศิริพัฒน ทรงกลาววา 1 4

แมพระราชกฤษฎาภินิหารแหงโบราณมหากษัตริย ซึ่งไดทรงสามารถ ในการที่จะปองกันอิศรภาพ แลทํานุบํารุงสยามประเทศนี้ ไดมีมาแตปางกอน วิเศษเพียงใด พระราชกฤษฎาภินิหารอันวิเศษเชนนั้น หรือยิ่งกวานั้น ยอมพึง * ประกอบดวย สมเด็จพระบรมราชาธิราชที่ ๑ สมเด็จพระราเมศวร สมเด็จพระบรมราชาธิราชที่ ๒ สมเด็จพระไชยราชาธิราช สมเด็จพระนเรศวร และสมเด็จพระนารายณ ๑ คําถวายไชยมงคลของขาหลวงเทศาภิบาลมณฑลกรุงเกา. (๒๔๔๐, ๒๐ กุมภาพันธ). ราช กิจจานุเบกษา. เลม ๑๔ ตอนที่ ๔๗ หนา ๗๙๐ – ๗๙๔ ** สมเด็จพระศรีพัชรินทราบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปหลวง


สาร..สถาบันอยุธยาศึกษา I ๑๑ มีพึงเปนเห็นไดในยุกคภายหลัง ดังครั้งนี้ ความเจริญของกรุง สยามจึง ยังไม ๑ เสื่อมทราม 15

นอกจากนี้ยัง มีกรณี ของพระยาโบราณราชธานินทร ข าหลวงเทศาภิบาล มณฑลกรุงเกาคนที่ ๒ ไดกลาวถวายไชยมงคลเนื่องในพระราชพิธีรัชมงคลที่กรุงเกา โดยเปรียบเทียบพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัว กับบรรพมหากษัตริย กรุงศรีอยุธยาหลายพระองค ที่นอกจากจะเปรียบการครองราชยสมบัติอันเปนเวลา เทากับสมเด็จพระรามาธิบดีที่ ๒ แลว ยังเปรียบการปกปองอิศรภาพของประเทศให พนภัยสงครามลาอาณานิคมกับการปองกันราชอาณาจักรของวีรกษัตริยอยุธยาหลาย พระองค อาทิ สมเด็จพระนเรศวรมหาราช ตลอดจนเปรียบการปฏิรูปการปกครอง แ ล ะ ร ะ บ บ ศ า ล ยุ ติ ธ ร ร ม ใ น รั ช ส มั ย กั บ ส ม เ ด็ จ พ ร ะ บ ร ม ไ ต ร โ ล ก น า ถ และกษัตริยอยุธยาพระองคอื่น ๆ โดยใชสํานวนโวหารที่แสดงถึง เหตุ และผลทาง ประวัติศาสตรอันหนักแนนนานาประการ ๒ รวมถึ ง ในรั ช กาลต อ มาที่ พ ระยาโบราณราชธานิ น ทร ได ถ วายพระพร ไชยมงคลยกย องพระบาทสมเด็ จพระมงกุ ฎเกล าเจา อยู หัว โดยมีก ารเที ยบเคี ย ง การสืบพระบรมราชสันตติวงศโดยสวัสดิภาพ กับการขึ้นครองราชสมบัติของสมเด็จ พระบรมไตรโลกนาถ และสมเด็ จ พระนเรศวร โดยยกย อ งเป น กฤษฎาภิ นิ ห าร และเทิ ด ทู ล พระปรี ช าสามารถของพระบาทสมเด็ จ พระจุ ล จอมเกล า เจ า อยู หั ว พระชนกนาถ ที่ท รงมองการไกลในการสถาปนาพระบาทสมเด็ จพระมงกุฎเกล า เจาอยูหัวเปนองครัชทายาท ๓ 16

17

คําถวายไชยมงคลของขาหลวงเทศาภิบาลมณฑลกรุงเกา. (๒๔๔๐, ๒๐ กุมภาพันธ). ราชกิจจานุเบกษา. เลม ๑๔ ตอนที่ ๔๗ หนา ๗๙๐ – ๗๙๔ ๒ คําถวายไชยมงคลของขาราชการและราษฎรมณฑลกรุงเกา. (๒๔๕๐, ๘ ธันวาคม). ราชกิจจานุเบกษา. เลม ๒๔ ตอนที่ ๓๖. หนา ๙๒๘ - ๙๓๐ ๓ คําถวายไชยมงคลที่กรุงเกา วันที่ ๑ ธันวาคม ร.ศ.๑๒๙. (๒๔๕๓, ๑๑ ธันวาคม). ราชกิจจานุเบกษา. เลม ๒๗. หนา ๒๐๙๓ – ๒๐๙๖.


๑๒ I สาร..สถาบันอยุธยาศึกษา

ประเด็นนี้เหลานี้สะทอนวาอดีตของกรุงศรีอยุธยาอันมีอายุ ๔๑๗ ป ไดถูก นํ า มาระลึ ก ใช เ สมื อ นดั ง “รอยเท า ทางประวั ติ ศ าสตร ” ให สั ง คมไทยรุ น กรุ ง รัตนโกสินทรไดใชเปนหลักพรมแดนแหงความเจริญกาวหนาในอดีต ใหสังคมไทยยุค ที่สรางพระนครขึ้นใหมไ ดพัฒ นาบานเมืองขึ้นมาทัดเทียม และกาวล้ํารอยเทาของ กรุงศรีอยุธยาออกไป เพื่อความกาวหนาสถาพรของอาณาจักรสยาม และอีกประการ หนึ่ ง เพื่ อ ยกย อ งเชิ ด ชู พ ระบารมี และพระเกี ย รติ คุ ณ ของพระมหากษั ต ริ ย กรุงรัตนโกสินทร อันเปนวิธีการแสดงออกอยางหนึ่ง ถึงความจงรักภักดีของปวงชน ที่มีตอองคพระมหากษัตริยของสังคมในชวงเวลานั้น

ส งท าย บทบาทของอดีตแหงกรุงศรีอยุธยา ที่สังคมในสมัยรัตนโกสินทรระดับตาง ๆ ไดหยิบยกขึ้นมาใชเหลานี้ ทําใหราชสํานักมีความระลึกผูกพัน และเชิดชูสถานะของ กรุง เกาอยูตลอดเวลา ซึ่ง อาจสะทอนไดจากการที่พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกลา เจาอยูหัวทรงพระราชทานนามใหมของกรุงเกาวา จังหวัด “พระนครศรีอยุธยา” ซึ่ง ในการณอันนี้สมเด็จพระเจานองยาเธอ เจาฟากรมหลวงพิษณุโลกประชานารถ ทรง กลาวถึงสถานะที่แฝงอยูในนามจังหวัดวา ขาพเจามีความยินดีอีกขอหนึ่ง ที่นามจังหวัดนี้ไดเปลี่ยนชื่อเปนจังหวัด พระนครศรีอยุธยา ๆ นี้เปนนามอันศิริมงคล แลเปนนามที่ ๒ รองกรุงเทพ พระมหานคร จึงทําใหขาพเจารูสึกยินดีมาก แลเชื่อวาขาราชการแลราษฎร ๑ ในจังหวัดนี้ก็คงยินดีเชนกัน 18

นามของจังหวัดพระนครศรีอยุธยา จึงอาจเปนสัญลักษณที่ถือกําเนิดจาก บทบาทและสถานะพิเศษของจังหวัด ที่รัฐบาลแหงราชสํานักกรุงรัตนโกสินทรได ระลึกถือและตราฐานะไว เปนมิ่งมงคลอนุสรณปรากฏอยูทุกวันนี้ ๑

สํานักหอจดหมายเหตุแหงชาติ. เอกสารกระทรวงศึกษาธิการ. ศธ.๕๐.๑/๓๕. เรื่องรายงาน การเปดโรงเรียนจอมสุรางคอุปถัมภ จ.อยุธยา. (๓ กรกฎาคม – ๒๙ สิงหาคม ๒๔๖๒).


สาร..สถาบันอยุธยาศึกษา I ๑๓

บรรณานุกรม การรับดุกโยฮันอัลเบรกต ผูสําเร็จราชการเมืองบรันซวิก. (๒๔๕๒, ๖ มีนาคม). ราชกิจจานุเบกษา. เลม ๒๖. หนา ๒๕๘๖-๒๖๐๓. การรับ อิส อิม บีเรียล ไฮเนส แกรนด ดยุก บอริส วลาดิมิโรวิตซ กรุงรัสเซีย. (๒๔๔๕, ๑ มิถุนายน). ราชกิจจานุเบกษา. เลม ๑๙. หนา ๑๔๓-๑๔๖. การเฉลิมพระราชมณเฑียรพระราชวังบางปอิน แลการสังเวยอดีตะมหาราชาธิราช. (๒๔๕๓, ๑๑ ธันวาคม). ราชกิจจานุเบกษา. เลม ๒๗ หนาที่ ๒๐๘๐-๒๐๘๙. กองจดหมายเหตุแหงชาติ. (๒๕๒๗). จดหมายเหตุพระราชพิธีรัชมังคลาภิเษก ร.ศ.๑๒๖,๑๒๗. กรุงเทพฯ: กรมศิลปากร. ขาวเสด็จประพาศพระอารามตาง ๆ ในกรุงเกา. (๒๔๔๗, ๑๘ ธันวาคม). ราชกิจจานุเบกษา. เลม ๒๐ ตอนที่ ๓๘. หนา ๖๘๓. ขาวเสดจประภาศกรุงเกาแลเสดจกลับจากบางปอิน. (๒๔๓๑, ๒ สิงหาคม). ราชกิจจานุเบกษา. เลม ๕ ตอนที่ ๑๓. หนา ๑๐๓-๑๐๔. ขาวเสด็จพระราชดําเนิรไปทรงบําเพ็ญพระราชกุศลรัชมงคลที่กรุงเกา. (๒๔๕๐, ๘ ธันวาคม). ราชกิจจานุเบกษา. เลม ๒๔ ตอนที่ ๓๖. หนา ๙๒๑-๙๒๗. คําถวายไชยมงคลของขาราชการและราษฎรมณฑลกรุงเกา. (๒๔๕๐, ๘ ธันวาคม). ราชกิจจานุเบกษา. เลม ๒๔ ตอนที่ ๓๖. หนา ๙๒๘ – ๙๓๐. คําถวายไชยมงคลของขาหลวงเทศาภิบาลมณฑลกรุงเกา. (๒๔๔๐, ๒๐ กุมภาพันธ). ราชกิจจานุเบกษา. เลม ๑๔ ตอนที่ ๔๗ หนา ๗๙๐ – ๗๙๔. คําถวายไชยมงคลที่กรุงเกา วันที่ ๑ ธันวาคม ร.ศ.๑๒๙. (๒๔๕๓, ๑๑ ธันวาคม). ราชกิจจานุเบกษา. เลม ๒๗. หนา ๒๐๙๓ – ๒๐๙๖. ประชุมพงศาวดารภาคที่ ๖๓. (๒๔๗๙). กรุงเทพฯ: โสภณพิพรรฒธนากร. สํานักหอจดหมายเหตุแหงชาติ. เอกสารกระทรวงศึกษาธิการ. ศธ.๕๐.๑/๓๕. เรื่องรายงานการเปดโรงเรียนจอมสุรางคอุปถัมภ จ.อยุธยา. (๓ กรกฎาคม - ๒๙ สิงหาคม ๒๔๖๒).


๑๔ I สาร..สถาบันอยุธยาศึกษา

พระแสงราชศัสตรา : พระราชอาชญาเหนือแผ นดินมณฑลกรุงเก า ปทพงษ ชื่นบุญ * 19

พระแสงราชศัสตราประจํามณฑลกรุงเกา ปจจุบันเก็บรักษาไว ณ คลังจังหวัดพระนครศรีอยุธยา

พระแสงราชศัสตรา เปนเครื่องประกอบพระราชอิสริยยศที่สําคัญอยางหนึ่ง ที่ใชแสดงถึงพระราชอํานาจ และอาญาสิทธิ์สูงสุดในการปกครองแผนดิน รวมทั้งเปน เครื่องประกอบอยางหนึ่ง ในชุดเครื่องเบญจราชกกุธภัณฑ และใชในการประกอบ พระราชพิ ธี ที่ สํ า คั ญ อาทิ พระราชพิ ธี ถื อ น้ํ า พระพิ พั ฒ น สั ต ยา พระราชพิ ธี บ รม ราชาภิเษก คําวา “แสง” นอกจากจะมีความหมายถึงความสวางแลว ยังมีความหมาย รวมไปถึง อาวุธ ศัสตรา เครื่องมีคม ราชาศัพทใชวา “พระแสง” เชน พระแสงดาบ * นักวิชาการศึกษา สถาบันอยุธยาศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา


สาร..สถาบันอยุธยาศึกษา I ๑๕

พระแสงปน เปนตน ๑ สําหรับพระแสงราชศัสตราซึ่ง ถือวามีความสําคัญมากกวา พระแสงทั้งปวงคือ พระแสงขรรคชัยศรี ซึ่งมีหลักฐานปรากฏมาตั้งแตครั้งสมัยสุโขทัย 20

21

ยังมีพระแสงราชศัสตราอีกประเภทหนึ่งคือ “พระแสงดาบ” สันนิษฐานวา ธรรมเนียมที่พระมหากษัตริยทรงพระกรุณาโปรดเกลาฯ สถาปนาพระแสงดาบสําคัญ ประจํารัชกาลนั้น นาจะมีปรากฏมาแลวตั้งแตสมัยกรุงศรีอยุธยา ดังปรากฏหลักฐาน จากพระราชพงศาวดาร กรณี ที่ พ ระมหากษั ต ริ ย ท รงพระราชทานพระแสงดาบ อาญาสิ ท ธิ์ ให แ ก ผู ดํ า รงตํ า แหน ง แม ทั พ ในฐานะตั ว แทนผู ถื อ อํ า นาจแห ง พระมหากษั ตริ ย เป นการมอบหมายให ไ ปปฏิ บัติ ราชการแทนในการศึก สงคราม และสรางศักยภาพในการควบคุมกองทัพ แตประเด็นที่นาสนใจคือ แมทัพผูไ ดรับ พระราชทาน สามารถออกคํ าสั่ ง และมี อํา นาจสิ ทธิ์ข าดในการตั ดสิน ลงโทษไดถึ ง ขั้ น สู ง สุ ด คื อ การประหารชี วิ ต โดยไม ต อ งกราบบั ง คมทู ล ให ท ราบความก อ น แตภายหลังจากเสร็จสิ้นภารกิจแลวจะตองถวายคืนพระแสงราชศัสตราทันที ๓ ตอ มาในสมั ย รั ต นโกสิ น ทร ตั้ ง แต รั ชกาลที่ ๑ - ๓ ไดป รากฏธรรมเนี ย ม เพิ่มเติมคือ หากพระมหากษัตริยทรงโปรดแมทัพผูทําความดีความชอบคนใดเปน พิเศษ จะทรงพระราชทานพระแสงราชศัสตรานั้นใหเปนสิทธิ์ขาด แตตองถือวาเปน การพระราชทานเพื่ อ เป น บํ า เหน็ จ มิ ไ ด มี อ าญาสิ ท ธิ์ ห รื อ อํ า นาจในงานราชการ บ า นเมื อ งแต อ ย า งใด ๔ จนกระทั่ ง ในรั ช สมั ย ของพระบาทสมเด็ จ พระจอมเกล า เจาอยูหัว ทรงใหยกเลิกธรรมเนียมการพระราชทานเครื่องยศที่เปนเครื่องหมายแสดง เกียรติยศและบําเหน็จความชอบทั้งหมด พระแสงราชศัสตราที่ขาราชการผูมีความดี 22

2 3

ราชบัณฑิตยสถาน. (๒๕๕๖). พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๕๔ เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจาอยูห ัว เนื่องในโอกาสพระราชพิธีมหามงคลเฉลิม พระชนมพรรษา ๗ รอบ ๕ ธันวาคม ๒๕๕๔. หนา ๑๒๗๐. ๒ กรมศิลปากร. (๒๕๒๖). จารึกสมัยสุโขทัย. หนา ๖๓-๖๔. ๓ กองวรรณกรรมและประวัติศาสตร (๒๕๓๙). พระแสงราชศัสตราประจําเมือง. หนา ๖. ๔ เรื่องเดียวกัน. หนา ๕๒.


๑๖ I สาร..สถาบันอยุธยาศึกษา

ความชอบ เคยไดรับพระราชทานมาแตรัชกาลกอน ๆ จึงถูกลดบทบาทกลายเปนดาบ ประจําตระกูล ไมสามารถนํามาประกอบพิธีถือน้ําพระพิพัฒนสัตยาไดอีกตอไป

มณฑลกรุงเก า : มณฑลต นแบบ ครั้นถึงรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัว เกิดการปฏิรูปการ ปกครองครั้งใหญจาก “ระบบกินเมือง” ใหเปนการปกครองใน “ระบบเทศาภิบาล” ๑ โดยเปน การรวมอํานาจการบังคับบัญ ชาจากหัวเมืองทั้งปวง จัดตั้งใหเปน “มณฑล เทศาภิบาล” ขึ้น ตรงตอกระทรวงมหาดไทยแตเพียงกระทรวงเดียว เพราะระบบ กินเมืองแตเดิมนั้นเปนระบบที่ไมรัดกุม ยากตอการดูแลจากสวนกลาง บุคคลที่ไดรับ การแตง ตั้งใหเปนเจาเมือง หรือกรมการเมืองนั้นคุมอํานาจผลและประโยชนตาง ๆ ไวแตเพียงผูเดียว และมักจะประพฤติตนไปในทางทุจริตเสียเองเชน เปนหัวหนาซอง โจร สร า งความเดื อ ดร อ นให กั บ ประชาชนในท อ งถิ่ น จนมี คํ า เปรี ย บเปรยว า “เลี้ยงขโมยไวจับขโมย” ๒ กรุงเกาหรืออยุธยานั้น ก็ประสบปญหาดังกลาวเชนเดียวกัน ดังนั้นภายหลัง จากทรงพระกรุ ณ าโปรดเกล า ฯ ให มี ก ารจั ด ตั้ ง ระบบเทศาภิ บ าล ๓ มณฑลแรก คือ มณฑลพิษณุโลก มณฑลปราจีน บุรี และมณฑลราชบุรี ตอมาไดมีการรวมเอา ๔ หัวเมืองสําคัญคือ กรุงเกา อางทอง สระบุรี ลพบุรี เขามารวมการบริหารปกครอง ไวเปนมณฑล และตั้งที่วาการมณฑล ณ พระนครศรีอยุธยา เรียกรวมกันวา มณฑล กรุงเกา * เมื่อเดือนมกราคม พ.ศ.๒๔๓๘ (ร.ศ.๑๑๔) และโปรดเกลาฯ ใหพระเจานอง ยาเธอ พระเจ า บรมวงศ เ ธอ กรมหมื่ น มรุ พ งษ ศิ ริ พั ฒ น ดํ า รงตํ า แหน ง ข า หลวง เทศาภิบาลมณฑลกรุง เกาในระยะแรก ตอมาในป พ.ศ.๒๔๓๙ (ร.ศ.๑๑๕) จึงทรง 24

25

26

กรมพระยาดํารงราชานุภาพ,สมเด็จพระเจาบรมวงศเธอ. (๒๕๐๓). เทศาภิบาล. หนา ๖๕-๘๙. ๒ เรื่องเดียวกัน. หนา ๖๖. * เปลี่ยนชื่อเปนมณฑลอยุธยา ในสมัยรัชกาลที่ ๖


สาร..สถาบันอยุธยาศึกษา I ๑๗

พระกรุณาโปรดเกลาใหรวมเมือง พรหมบุรี อินทรบุรี สิงหบุรี เขากับมณฑลกรุงเกา รวมกับของเดิมเปนจํานวนทั้งสิ้น ๗ หัวเมือง ๑ เปนที่นาสังเกตวา มณฑลกรุงเกา นาจะเปนเมืองที่ไดรับการยกยองใหเปน พื้น ที่ทดลอง และเปนกรณีศึกษาระบบการปกครองแบบเทศาภิบ าล ที่อยูในสาย พระเนตรอยางใกลชิดของรัชกาลที่ ๕ มาโดยตลอด ดังทรงมีพระราชดํารัสเมื่อคราว เสด็จฯ มณฑลกรุงเกา เมื่อวันที่ ๒๐ กุมภาพันธ พ.ศ.๒๔๔๐ วา “...การหัวเมืองอัน มณฑลนี้นับวาเปนที่สําคัญ แลเปนที่ใกลซึ่งเราไดมาแลเห็นงาย...” ๒ การพัฒ นาใน มณฑลกรุงเกา ดานตางๆ ในเวลาตอมาจึงเกิดขึ้นอยางตอเนื่องเชน มีเสนทางรถไฟ จากกรุงเทพฯ มาถึงอยุธยา ทําใหการคมนาคมสะดวกรวดเร็วมากขึ้น มีโรงเรียนสตรี ประจํามณฑล การจัดตั้งศาล และการออกโฉนดที่ดินเปนครั้งแรก เปนตน 27

28

พระแสงราชศัสตราประจํามณฑล : แรกเริ่มที่มณฑลกรุงเก า นอกจากการวางแนวทางการปกครอง และหลักปฏิบัติของสวนราชการแลว รัชกาลที่ ๕ ทรงมีพระปรีชาสามารถอีกประการหนึ่ง ก็คือ การใชหลักจิตวิทยาใน การบริห ารปกครอง ทั้ ง นี้ เพื่ อให สอดคล องกับ การที่ไ ดท รงเริ่ม ดํา เนิ น นโยบาย การโยงอํานาจการบริหารราชการแผนดินเขาสูศูนยกลาง และคงไวซึ่งคําวาพระราช อํานาจแหงการบริหารปกครองของพระมหากษัตริย จึงทรงมีพระราชดําริที่จะฟนฟู ธรรมเนียมราชประเพณีบางประการที่ถูกยกเลิกไปเมื่อครั้งรัชกาลกอนกลับคืนมาใหม ธรรมเนีย มประการหนึ่ง ในจํ านวนนั้น คือการพระราชทานพระแสงราชศัสตราไว สําหรับประจํามณฑลและเมือง แตอยางไรก็ตาม พระองคทรงมีพระราชประสงค และแนวพระราชดํ า ริ บางประการที่ แ ตกต า งไปจากธรรมเนี ย มเดิ ม ใน การพระราชทานพระแสงราชศัสตราของบูรพกษัตริยองคกอน ๆ ๑

วุฒิชัย มูลศิลป และสมโชติ อองสกุล. (๒๕๒๔). มณฑลเทศาภิบาล : วิเคราะห เปรียบเทียบ. หนา ๙๒. ๒ พระราชดํารัสตอบขาหลวงเทศาภิบาลมณฑลกรุงเกา. (๒๔๔๐, ๒๐ กุมภาพันธ). ราชกิจจานุเบกษา. เลมที่ ๑๔ ตอนที่ ๔๗ . หนา ๗๙๔.


๑๘ I สาร..สถาบันอยุธยาศึกษา

ประเด็นที่นาสนใจ ประการแรก คือ การพระราชทานพระแสงราชศัสตราไว ประจํามณฑลและเมืองตาง ๆ นั้นเพื่อเปนสัญลักษณแทนพระองค และการคงไวซึ่ง พระราชอํานาจในการบริหารปกครองแผนดิน โดยผานสมุหเทศาภิบาลมณฑล หรือ ผูวาราชการเมือง ใหปฏิบัติราชการตางพระเนตรพระกรรณเทานั้น แตไมมีอํานาจ สิทธิ์ขาดในการลงโทษ หรือ ตัดสินประหารชีวิตผูใ ด เหมือนอยางเชนธรรมเนียม การพระราชทานพระแสงดาบอาญาสิทธิ์ ในอดีต อีก ตอไป หากวิเ คราะห ลงไปใน ประเด็น นี้ก็จะพบวา เปนการลดทอนฐานอํานาจเดิมของเจาเมืองในระบบกินเมือง ซึ่งทําใหผูบริสุทธิ์เปนจํานวนมากตองตกเปนจําเลย และถูกลงโทษโดยขาดการไตสวน อยางยุติธรรม รวมทั้ ง เพื่อ ใหสอดคลอ งกับ การจั ดตั้ง ศาลยุติ ธรรมเปน ครั้ง แรกใน รัชสมัยของพระองค ทําใหการชําระคดีความตาง ๆ รวดเร็ว และยุติธรรมกับทุกฝาย ประการที่ ส อง ใช สํ า หรั บ ในพิ ธี ถื อ น้ํ า พิ พั ฒ น สั ต ยาในหั ว เมื อ งต า งๆ เปนสําคัญ ซึ่ง แตเดิมใชกระบี่ หรือดาบ อันเปนเครื่องยศที่พระราชทานใหแกผูวา ราชการเมืองสําหรับแทงน้ําในพิธี ตอมาเมื่อมีการเลิกพระราชทานเครื่องยศในสมัย รัชกาลที่ ๔ แลว จึงไมมีอาวุธสําหรับใชประกอบพิธีถือน้ําพิพัฒนสัตยา ดวยเหตุนี้จึง ทํา ให เจ า เมือ งที่ อยู ใ นหัว เมื องห า งไกลออกไปจากเมื อ งหลวง ขาดความยํา เกรง ประกอบการทุจริ ตตา ง ๆ ทํา ใหป ระชาชนในท องถิ่ นเดื อดร อน หากวิเคราะหใ น ประเด็นนี้จะพบวา รัชกาลที่ ๕ ทรงเล็งเห็นความสําคัญในเรื่องของการถือน้ําพิพัฒน สั ต ยา ซึ่ ง เป น พิ ธี อั น ศั ก ดิ์ สิ ท ธิ์ ก ระทํ า สื บ ต อ กั น มาแต ค รั้ ง โบราณ เนื้ อ หา และคําสาปแชงตางๆ ที่ปรากฏอยูในโองการแชงน้ํา เปนจิตวิทยาที่สําคัญยิ่งตอการ ปกครอง ที่ทํ าใหข าราชการต างเกรงกลั วตอคํ าสาปแชง ที่ รุนแรงเหล านั้น เพราะ ถึงแมวาเริ่มมีวิทยาการจากตะวันตกเขามาแลว แตคนสยามในยุครัชกาลที่ ๕ นั้นก็ยัง มีความเชื่อเรื่องสิ่งเหนือธรรมชาติอยูมาก ดังนั้นเพื่อคงความศักดิ์สิทธิ์ตามประเพณี โบราณ การประกอบพิธีถือน้ําพิพัฒนสัตยาจึงตองสมบูรณ ครบถวน นั้นคือ การจุม พระแสงราชศัสตราลงไปในน้ําพิพัฒนสัตยา และใหขาราชการไดนํามาดื่มเพื่อแสดง ความจงรักภักดี ประการสุ ด ท า ย การพระราชทานพระแสงราชศั ส ตรา ไม ถื อ ว า เป น เครื่ อ งหมายแสดงเกี ย รติ ย ศและบํ า เหน็ จ ความชอบแก ผู ไ ด รั บ พระราชทาน


สาร..สถาบันอยุธยาศึกษา I ๑๙

เพราะเมื่อใดก็ตามที่พระองคเ สด็จ ฯ ไปประทับ แรมยั ง มณฑล หรือ เมืองที่ไ ดรั บ พระราชทานพระแสงราชศั สตรา สมุ หเทศาภิบ าลมณฑล หรื อผู วา ราชการเมือ ง จะตองทูลเกลาฯ ถวายพระแสงราชศัสตราประจําเมืองนั้น คืนไวประจําพระองค จนกระทั่งเมื่อจะเสด็จกลับ จึงพระราชทานคืนไวตามธรรมเนียมเดิม การพระราชทานพระแสงราชศั สตราประจําเมืองในสมัยรัชกาลที่ ๕ นั้ น หัวเมืองที่ไ ดรับพระราชทานกอน สวนใหญจะเปนเมืองบนเสนทางเสด็จพระราช ดําเนินตามลําน้ําเจาพระยา ครั้งสําคัญคือการเสด็จพระราชดําเนินมณฑลฝายเหนือ ปพ.ศ.๒๔๔๔ เนื่องจากทรงมีพระราชประสงคทอดพระเนตรภูมิประเทศ และตรวจ ราชการประกอบพระราชดําริเพื่อที่จะทรงทํานุบํารุงบานเมืองใหเจริญยิ่ง ขึ้นสืบไป โดยตลอดรัชกาลนั้น ทรงพระราชทานพระแสงราชศัสตราใหกับเมือ ง และมณฑล ตาง ๆ รวมทั้งสิ้น ๓๒ องค หลักฐานตามที่ปรากฏใน พระราชหัตถเลขาคราวเสด็จมณฑลฝายเหนือใน รัช กาลที่ ๕ ทรงพระราชทานพระแสงราชศัส ตราประจํา มณฑลและเมือ งต าง ๆ ชุดแรก จํานวน ๑๐ แหง และ มณฑลแรก ที่ทรงพระราชทานพระแสงราชศัสตรา คือ มณฑลกรุงเกา เมื่อวันที่ ๒๙ กันยายน พ.ศ.๒๔๔๔ โดยมี พระเจาบรมวงศเธอ กรมหมื่ น มรุ พ งษ ศิ ริ พั ฒ น สมุ ห เทศาภิ บ าลมณฑลกรุ ง เก า เข า รั บ พระราชทาน ณ พระราชวัง บางปะอิน ๑ ดังนั้น พระแสงราชศัสตราที่พระราชทานใหกับมณฑล กรุงเกา จึงมีฐานะเปนทั้งพระแสงราชศัสตราประจํามณฑล และพระแสงราชศัสตรา ประจําเมืองในคราวเดียวกัน 29

ลักษณะพระแสงราชศัสตราประจํามณฑลกรุงเก า ลักษณะของพระแสงราชศัสตราประจําเมืองทุกองค มีลักษณะเปนดาบไทย ที่ประดิษฐโดยฝมือชางทองหลวงในพระราชสํานัก ตีจากเหล็กกลาอยางดี มีขนาด ความยาว (รวมดาม) โดยประมาณ ๑๐๐ – ๑๑๐ เซนติเมตร บางองคชางทองหลวง ๑

พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัว. (๒๔๙๒). พระราชหัตถเลขาคราวเสด็จมณฑล ฝายเหนือในรัชกาลที่ ๕. หนา ๑-๔๙.


๒๐ I สาร..สถาบันอยุธยาศึกษา

จะจารึกระบุเนื้อทองไวที่ปลอกพระแสง * ดวย สวนลวดลายที่ดุนประดับบนปลอก พระแสงประจํามณฑล หรือเมืองแตละองคนั้น จะสะทองถึงวิถีชีวิตและภูมิประเทศ ในแต ล ะท อ งที่ แต จ ะมี ลั ก ษณะบางประการที่ แ ตกต า งกั น ระหว า ง พระแสง ราชศัสตราประจําเมือ ง กับพระแสงราชศัสตราประจํามณฑล กลาวคือ หากเป น เมืองสํา คัญ ที่เป น สถานที่ ตั้ง มณฑลเทศาภิบาล จะพระราชทานพระแสงดามทอง ฝกทองลงยาราชาวดี และมีคําจารึกที่พระแสงวา “พระแสงสําหรับมณฑล...” ถาเปน เมืองสามัญทั่วไป จะพระราชทานพระแสงดาบดามทองฝกทอง มีคําจารึกที่พระแสง ว า “พระแสงสํ า หรั บ เมื อ ง...” นอกจากนี้ จ ะมี เ ครื่ อ งประกอบคื อ บั น ไดแก ว หมอนรองพระแสง และพานแว น ฟ า สํ า หรั บ ในรั ช กาลป จ จุ บั น (รั ช กาลที่ ๙) มีการสรางพระพุทธนวราชบพิตร พระราชทานประกอบดวย 30

พานแวนฟาและบันไดแกว

ที่มา : กองวรรณกรรมและประวัติศาสตร. (๒๕๓๙). พระแสงราชศัสตรา ประจําเมือง. กรุงเทพฯ : กรมศิลปากร.

* ปลอกพระแสง คือสวนที่ทําเปนวงสําหรับสวมหรือรัดใบพระแสง ดูใน กองวรรณกรรมและ ประวัติศาสตร. (๒๕๓๙). พระแสงราชศัสตราประจําเมือง. หนา ๑๓๙.


สาร..สถาบันอยุธยาศึกษา I ๒๑

สําหรับพระแสงราชศัสตราประจํามณฑลกรุงเกานั้น มีลักษณะดามทองฝก ทองลงยาราชาวดี มีความยาวรวมทั้ง สิ้น ๑๐๗ ซม. ด ามยาว ๓๓ ซม. ใบทําจาก เหล็กกลาเนื้อมันวาวยาว ๖๗ ซม. ใบพระกวาง ๓.๕ ซม. จารึกขอความเหมือนกันทั้ง สองดา นว า “พระแสงสํ า หรับ มณฑลกรุ ง เก า ” ฝ ก พระแสงมี ค วามยาว ๗๔ ซม. ดุนลวดลายรูปกระทอมริมน้ํา ชาวนา วัวควาย คันไถ เรือกสวนไรนา สะทอนภาพวิถี ชีวิ ตกสิก รรมในเขตมณฑลกรุง เก าไดอ ยา งชั ดเจน ทอดบนบั นไดแกว หากมีก าร เคลื่อนยายเชน นําออกมาทําความสะอาด หรือนําขึ้นทูลเกลาถวาย จะยกขึ้นทอด วางบนหมอนรองพระแสง ในพานแวนฟา

พระแสงราชศัสตราประจํามณฑลกรุงเกา

จารึกบนพระแสงราชศัสตรา “พระแสงสําหรับมณฑลกรุงเกา”

ใบพระแสงที่ตีจากเหล็กกลา


๒๒ I สาร..สถาบันอยุธยาศึกษา

ฝกทองลงยาราชาวดี ดุนลวดลาย สะทอนภาพวิถีชีวิตกสิกรรมในเขตมณฑลกรุงเกา

ดามพระแสงหุมทองลงยาราชาวดี

สวนปลายยอดฝกทอง

ที่มา : กองวรรณกรรมและประวัติศาสตร. (๒๕๓๙). พระแสงราชศัสตรา ประจําเมือง. กรุงเทพฯ : กรมศิลปากร. ภายหลัง เมื่อมีการเปลี่ยนแปลงการปกครองมาเปนระบอบประชาธิปไตย ในป พ.ศ. ๒๔๗๕ แลว ในรัชกาลตอ ๆ มาก็ไมปรากฏวาทรงพระกรุณาโปรดเกลาฯ ใหมี การสถาปนาพระแสงสําคั ญ ประจํา รัช กาลอีกต อไป ๑ แมว ารัช กาลปจจุ บัน นี้ ทรงพระกรุ ณ าโปรดเก ล า ฯ ให มี ก ารฟ น ฟู ธ รร มเนี ย มโดย การสถาปน า และพระราชทานพระพุท ธนวราชบพิ ตรไวป ระจํา เมื องแทนพระแสงราชศั สตรา 3 1

กองวรรณกรรมและประวัติศาสตร. (๒๕๓๙). พระแสงราชศัสตราประจําเมือง. หนา ๕.


สาร..สถาบันอยุธยาศึกษา I ๒๓

ประจําพระองค แตธรรมเนียมการถวายพระแสงราชศัสตราประจําเมืองก็ยังคงต อง ยึดถือปฏิบัติอยูเชนเดิม โดยจะตองเก็บรักษาไวในคลังจังหวัดเทานั้น มีการทําความ สะอาดเปน ประจํา และควรมีพวงมาลัยสดคลองที่ดามจับเปนประจํา รวมถึง การ ทูลเกลาถวายองคพระมหากษัตริย ในวโรกาสที่ทรงเสด็จพระราชดําเนินมาประกอบ พระราชพิธีสําคัญ ถึงแมวาจะเสด็จโดยมิไดประทับแรมก็ตาม สิ่งเหลานี้ ลวนแลวแต สะทอนพระราชอํานาจในการปกครองแผนดินโดยชอบธรรมมาจนตราบเทาทุกวันนี้.

บรรณานุกรม กรมศิลปากร. (๒๕๒๖). จารึกสมัยสุโขทัย. กรุงเทพฯ: กรมศิลปากร. กองวรรณกรรมและประวัติศาสตร. (๒๕๓๙). พระแสงราชศัสตราประจําเมือง. กรุงเทพฯ: กรมศิลปากร. จุลจอมเกลาเจาอยูหัว, พระบาทสมเด็จพระ. (๒๔๙๒). พระราชหัตถเลขาคราว เสด็จมณฑลฝายเหนือในรัชกาลที่ ๕ นับในหนังสือเรื่องเที่ยวที่ตาง ๆ เปนภาคที่ ๕. พระนคร: มหามกุฏราชวิทยาลัย. ดํารงราชานุภาพ, สมเด็จพระเจาบรมวงศเธอ กรมพระยา. (๒๕๐๓). เทศาภิบาล. พระนคร: โรงพิมพรงุ เรืองธรรม. พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๕๔ เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จ พระเจาอยูหัว เนือ่ งในโอกาสพระราชพิธีมหามงคลเฉลิมพระ ชนมพรรษา ๗ รอบ ๕ ธันวาคม ๒๕๕๔. (๒๕๕๖). กรุงเทพฯ : ราชบัณฑิตยสถาน. พระราชดํารัสตอบขาหลวงเทศาภิบาลมณฑลกรุงเกา. (๒๔๔๐, ๒๐ กุมภาพันธ). ราชกิจจานุเบกษา. เลมที่ ๑๔ ตอนที่ ๔๗ . หนา ๗๙๔. วุฒิชัย มูลศิลป และสมโชติ อองสกุล. (๒๕๒๔). มณฑลเทศาภิบาล : วิเคราะห เปรียบเทียบ. กรุงเทพฯ: โรงพิมพแสงรุง การพิมพ.


๒๔ I สาร..สถาบันอยุธยาศึกษา

สถานีรถไฟกรุงเก า : จากมณฑลสู ราชอาณาจักรสยาม สุรินทร ศรีสังขงาม * 32

สถานีรถไฟกรุงเกา ที่มา: สถานีรถไฟกรุงเกา. (ม.ป.ป.) (ภาพนิ่ง). กรุงเทพฯ: หอจดหมายเหตุแหงชาติ.

การรับรูของชาวสยามที่มีตอ “รถไฟ” อยางจริง จัง คงเริ่มเกิดขึ้น ในชว ง รั ช กาลพระบาทสมเด็ จ พระจอมเกล า เจ า อยู หั ว เมื่ อ ป พ.ศ.๒๓๙๘ โดยรั ฐ บาล ของประเทศอังกฤษมอบหมายใหเซอรจอหน เบาวริง (Sir John Bowring) อัญเชิญ พระราชสาส น และเครื่ องราชบรรณาการ เพื่ อทู ล เกลา ฯ ถวายแด รั ชกาลที่ ๔ * รองผูอ ํานวยการสถาบันอยุธยาศึกษา และอาจารยประจําสาขาศิลปกรรม คณะมนุษยศาสตร และสังคมศาสตร มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา.


สาร..สถาบันอยุธยาศึกษา I ๒๕

โดยหนึ่ง ในเครื่องราชบรรณาการเหลานั้นมี “รถไฟจําลอง” ยอสวนจากของจริง ประกอบดวยรถจักรไอน้ําชนิดมีปลองสูงและรถพวง สามารถวิ่งบนรางดวยแรงไอน้ํา ไดเชนเดียวกับรถไฟจริงที่ใชอยูในประเทศอังกฤษ ๑ รวมอยูดวย ต อ มาในป พ.ศ.๒๔๐๐ พระบาทสมเด็ จ พระจอมเกล า เจ า อยู หั ว ทรงมี พระราชประสงค ที่ จ ะส ง พระราชสาส น และเครื่ อ งราชบรรณาการออกไปเจริ ญ พระราชไมตรีกับประเทศอังกฤษ จึงไดทรงพระกรุณาโปรดเกลาฯ แตงตั้งใหพระยา มนตรีสุริยวงศ (ชุม บุนนาค) เปนราชทูต ใหเจาหมื่นสรรเพชรภักดี (เพ็ง เพ็ญกุล) เป น อุ ป ทู ต ให จ มื่ น มณเฑี ย รพิ ทั ก ษ (ด ว ง) เป น ตรี ทู ต และให ห ม อ มราโชทั ย (ม.ร.ว. กระตาย อิศรางกูร) เปนลาม พรอมดวยคณะผูติดตามอีก ๒๗ คน เดินทาง เจริญ พระราชไมตรีกับประเทศอัง กฤษ เมื่ อคณะราชฑูต เดินทางกลั บมาถึ ง สยาม หมอมราโชทัย (ม.ร.ว.กระต าย อิศ รางกูร ) ไดแ ตง หนัง สื อชื่อ “นิราศลอนดอน” โดยมีความตอนหนึ่งบรรยายวา 33

เศราอารมณลมเอเขนกนอน เสียงหลอดกูหวูหวอลูกลอหมุน ชางเร็วรวดยวดยิ่งวิ่งสุดใจ

สักยามเศษจึงไดจรขึ้นรถไฟ เหมือนมีบุญเหาะลิ่วปลิวไปได เห็นอะไรวับวูดไู มทันฯ ๒ 34

ซึ่ ง นิ ร าศลอนดอนนี้ เ องคงเป น จุ ด เริ่ ม ต น ที่ ทํ า ให ค นจํ า นวนหนึ่ ง ได รู จั ก และจิ น ตนาการถึ ง รถไฟอย า งน า ตื่ น ใจ จนถึ ง รั ช สมั ย ของพระบาทสมเด็ จ พระจุลจอมเกลาเจาอยูหัว จึงทรงมีพระราชดําริเห็นวารัฐบาลสยาม ควรมีการสราง ทางรถไฟเพื่อเชื่อมการคมนาคมระหวางหัวเมืองตางๆ และจะเปนการดีที่รัฐบาล

เจาพระยาทิพากรวงศ. (๒๕๐๔). พระราชพงศาวดารกรุงรัตนโกสินทร รัชกาลที่ ๔ เลม ๑. หนา ๑๓๐-๑๓๓. ๒ กระตาย อิศรางกูร ณ อยุธยา. (๒๕๐๘). นิราศลอนดอน และจดหมายเหตุเรื่องราวทูตไทย ไปประเทศอังกฤษในรัชกาลที่ ๔ ของหมอมราโชทัย. หนา ๒๓.


๒๖ I สาร..สถาบันอยุธยาศึกษา

สยามจะได เ ข า มาบริ ห ารและปกครอง “มณฑลทางภาคเหนื อ ” อย า งเป น อันหนึ่งอันเดียวกัน ดัง นั้น จึง ทรงพระกรุณาโปรดเกลาฯ ใหพระเจานองยาเธอเจาฟากรมขุ น นริศรานุวัตติวงษ เมื่อครั้งดํารงตําแหนงเสนาบดีกระทรวงโยธาธิการใหจัดสรางทาง รถไฟสายเหนือขึ้น โดยใหมีการสํารวจเสนทางเพื่อกอสรางทางรถไฟในป พ.ศ.๒๔๓๐ และไดมอบหมายใหเซอรแอนดรู คลาก (Sir Andrew Clark) และบริษัทปนชารด แมกทักการด โลเธอร (Messrs. Punchard, Mac Taggart, Lowther & Co.) ซึ่งเปนบริษัทชาวอังกฤษเปนผูดําเนินการสํารวจหาเสนทางเพื่อสรางทางรถไฟจาก กรุงเทพฯ ไปทางทิศเหนือโดยผาน “กรุงเกา” (จังหวัดพระนครศรีอยุธยา) ลพบุรี อุตรดิตถ เชียงใหมไปถึงเชียงแสน ดวยเหตุดังนี้ในวันที่ ๒๙ ธันวาคม ร.ศ.๑๐๘ (พ.ศ.๒๔๓๒) พระบาทสมเด็จ พระจุ ล จอมเกล า เจ า อยู หั ว จึ ง ทรงพระกรุ ณ าโปรดเกล า ฯ ให จั ด ตั้ ง “กระทรวง โยธาธิการ” ขึ้นเพื่อทําหนาที่ดูแลการจัดสรางอาคารหนวยงานตางๆ รวมไปถึงการ สร า งทางรถไฟนี้ ด ว ย ซึ่ ง ในครั้ ง นั้ น กระทรวงโยธาธิ ก าร ประกอบด ว ย ๓ กรม คือ กรมรถไฟ กรมไปรษณียและโทรเลข และกรมโยธาตามลําดับ โดยกรมรถไฟนั้ น จั ด ตั้ ง ขึ้ น เมื่ อ เดื อ นตุ ล าคม ร.ศ.๑๐๙ (พ.ศ.๒๔๓๓) มีพระเจานองยาเธอเจาฟากรมขุนนริศรานุวัตติวงศ ทรงเปนเสนาบดี และนายเค. เบ็ทเก (K.Bethge) วิศวกรชาวเยอรมันเปนเจากรมรถไฟ การก อ สร า งทางรถไฟ สายกรุ ง เทพฯ-นครราชสีม า ดํ าเนิ นการมาอย า ง ตอเนื่อง และในวัน ที่ ๒๖ มีน าคม ร.ศ.๑๑๕ (พ.ศ.๒๔๓๙) พระบาทสมเด็จ พระ จุลจอมเกลาเจาอยูหัวจึงเสด็จพระราชดําเนินพรอมดวยสมเด็จพระศรีพัชรินทราบรม ราชินีนาถประกอบพระราชพิธีเปดการเดินรถไฟระหวางสถานีกรุงเทพฯ ถึงสถานีกรุง เกา ระยะทางรวม ๗๑ กิโลเมตร ในระยะแรกเดินขบวนรถขึ้นลองวันละ ๔ ขบวน ผานสถานีรวม ๙ สถานี คือ สถานีกรุงเทพฯ สถานีบางซื่อ สถานีหลักสี่ สถานีหลัก


สาร..สถาบันอยุธยาศึกษา I ๒๗

หก สถานีคลองรังสิต สถานีเชียงราก สถานีเชียงรากนอย สถานีบางปะอิน และสถานี กรุงเกา ๑ 35

สถานีรถไฟ สถานีกรุงเก า สถานีรถไฟกรุงเกา “หลังแรก” สรางขึ้นเมื่อ พ.ศ. ๒๔๓๙ เมื่อแรกสรางเปน อาคารไมจากหลักฐานภาพเกาทําใหทราบวาเปนอาคารไม ๒ ชั้น โดยชั้นลางเปนโถง ชานชาลา ชั้น บนอาจใชเปนที่พักนายสถานีหรือ นายชางรถไฟ หลัง จากนั้นสภาพ สถานีรถไฟคงมีการชํารุดและเสียหายตามลําดับ จึงไดรับการสรางใหมเปนอาคารกอ อิฐ ออกแบบโดยสถาปนิกชาวอิตาลี คือ นายอัลเฟรโด ริกัซซี (Alfredo Rigazzi) ออกแบบไวเมื่อ พ.ศ.๒๔๖๓ ๒ ในสมัยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกลาเจาอยูหัว ซึ่ง เปนอาคารหลังที่ใชมาจนถึงปจจุบัน สถานี ร ถไฟอยุ ธ ยาตั้ ง อยู น อกเกาะเมื อ งฝ ง ตะวั น ออก ริ ม แม น้ํ า ป า สั ก หางจากสถานีกรุงเทพฯ เปนระยะทาง ๗๑.๐๘ กิโลเมตร โดยสถานีที่ตั้งขนานไปตาม แนวยาวของรางรถไฟ มีชานชาลาจํานวน ๓ ชานชาลา ผังอาคารแบงเปน ๓ สวน คือ สวนมุขหนาอาคาร, สวนอาคารสถานี และสวนโถงชานชาลา สวนมุขหนาอาคาร เปนผังรูปสี่เหลี่ยมผืนผาขนาด ๒๕.๐๐ x ๓.๔๐ เมตร แบงเปน ๕ ชวงเสา ชวงเสาละ ๕.๐๐ เมตร ดานหนามีบันไดทางขึ้นอาคาร ๓ ทาง สวนอาคารสถานี เปนผังรูปสี่เหลี่ยมผืนผาขนาด ๔๕.๐๐ x ๑๐.๕๐ เมตร แบงเปน ๙ ชวงเสา ชวงเสาละ ๕.๐๐ เมตร ลึก ๑๐.๕๐ เมตร พื้นที่ใชสอยแบงเปน ๓ สวน สวนแรกประกอบดวย หองพักคอยสําหรับผูโดยสารรถไฟชั้นที่ ๑ และ ๒, หองเก็บของ หองน้ํา และสวนบริการเครื่องดื่ม สวนกลางอาคารประกอบดวยสวน ทํางานของนายสถานี แบงเปน หองนายสถานี สํานักงาน หองขายตั๋ว หองสงโทรเลข หองเก็บกระเปา และสวนสุดทายเปนหองโถงพักคอยสําหรับผูโดยสารรถไฟชั้น ๓ 36

ประกาศกระทรวงโยธาธิการ แผนกกรมรถไฟ. (๒๔๓๙, ๑๖ มีนาคม). ราชกิจจานุเบกษา . เลมที่ ๑๔ หนาที่ ๑๔-๑๖. ๒ อัลเฟรโด ริกัชชี. (๒๔๖๓). แบบพิมพเขียวสถานีรถไฟอยุธยา. หนา ๔๙๒ - ๔๙๓.


๒๘ I สาร..สถาบันอยุธยาศึกษา

สถานีรถไฟอยุธยา ที่มา: สถานีรถไฟอยุธยา. (๒๕๕๗). (ภาพนิ่ง). พระนครศรีอยุธยา: สถาบันอยุธยาศึกษา.

ส ว นโถงชานชาลา เป น ผั ง รู ป สี่ เ หลี่ ย มผื น ผ า ต อ กั บ ส ว นอาคารสถานี แบงเปน ๙ ชวงเสา ชวงเสาละ ๕.๐๐ เมตร ลึก ๘.๐๐ เมตร เปนโถงโลงสําหรับเปน ที่พักคอยรถไฟ อาคารสถานีรถไฟอยุธยาเปน อาคารชั้น เดียวรูปแบบสถาปต ยกรรมแบบ “นีโอคลาสสิค (Neoclassicism)” ซึ่งไดมีการตัดทอนรายละเอียดของการตกแตง ลงอย า งเหมาะสม ด า นหน า ของอาคารสถานี มี มุ ข หน า ยาว ๒๕.๐๐ เมตร สูง ๔.๓๐ เมตร (จากพื้นถึง ฝาเพดาน) มุขหน าเปน ระเบี ยงโล ง สูง จากพื้น ถึง คาน หลังคา ๓.๒๐ เมตร หลังคาเปนคอนกรีตแบน (flat slab) เสาเซาะรองประดับหัวเสา ดว ยปู น ป น ส ว นอาคารสถานี มี ป ระตูท างเข าอยู ต รงกับ บั น ได หลั ง คาสถานี ท รง ปนหยามุงกระเบื้องลอนคูซึ่งยังคงเปนลักษณะของอาคารที่ปรากฏอยูจนถึงปจจุบัน


สาร..สถาบันอยุธยาศึกษา I ๒๙

โถงชานชาลา สถานีรถไฟอยุธยา ที่มา: สถานีร ถไฟอยุธยา. (๒๕๕๗). (ภาพนิ่ง). พระนครศรีอยุธยา: สถาบันอยุธยา ศึกษา. และ คายัค. (๒๕๕๓, ๑ กันยายน). นั่งรถไฟไปปนจักรยาน@อยุธยา. สืบคนเมื่อ ๑๗ มีนาคม ๒๕๕๗, จาก www.pantip.com

การรถไฟ ราชอาณาจักรสยาม และการพัฒนามณฑลกรุงเก า ความสนใจตอการรถไฟของรัฐบาลสยาม เกิดขึ้นอยางจริงจังในชวงระหวาง พ.ศ ๒๔๒๖ – ๒๔๒๘ เมื่อประเทศอังกฤษยื่นขออนุญาตเพื่อสรางทางสถานีรถไฟ ผานเมืองระแหง (จังหวัดตาก) สําหรับเปนเสนทางการเชื่อมตอจากประเทศอินเดียถึง ประเทศจีน แตรัฐบาลสยามปฏิเสธเพราะอาจจะมีผลอยางยิ่งตอความมั่นคงดานการ ปกครองของมณฑลฝายเหนือ และอาจกระทบกับความสัมพันธระหวางประเทศใน ขณะนั้น ประ เด็ น สํ า คั ญ อยู ที่ ว า ก ารว าง เส นทางร ถไฟ ขอ งรั ฐบาลสยาม มีความสัมพันธเปนอยางยิ่งกับโครงสรางของการปกครอง “ระบบมณฑล” ในชวง เวลานั้น ซึ่งนอกจากการรถไฟจะมีประโยชนในทางการคมนาคมขนสงแลว ทางรถไฟ ยัง เปรียบเสมือนเปน “สัญ ลักษณ” แสดงขอบเขต และอํานาจการปกครองทาง รัฐ ในฐานะ “ราชอาณาจักรสยาม” อยางแทจริงดวย โดยเฉพาะในช ว งสมั ย “มณฑลกรุ ง เก า ” ทางการรถไฟถู ก ออกแบบ และวางเสนทางตรงสูเกาะเมืองอยุธยา โดยประชิดนอกเกาะเมืองฝงทิศตะวันออก ซึ่งเปนที่ตั้งของชุมชนและยานสําคัญทางเศรษฐกิจของเกาะเมือง กอนเบี่ยงเสนทาง


๓๐ I สาร..สถาบันอยุธยาศึกษา

แยกไปทางบานภาชี และลพบุรีตามลําดับ แมวาในระยะเวลานั้นจะยัง มีผูสนใจใช บริการโดยสารทางรถไฟไมมากนัก เนื่องจากเชื่อวาการเดินทางดวยเรือยังสะดวกและ ถูกกวา ตอในปพ.ศ. ๒๔๔๘ ไดมีการสราง “กองพลทหารราบที่ ๓” ขึ้นบริเวณฝง ตะวั นตกขอ งเกาะ เมื อ ง ติ ด ริ ม แม น้ํ า เจ า พร ะยา ในครั้ งนี้ ได มี การตั ด “ถนนเดชาวุ ธ ” ๑ เชื่ อ มต อ ระหว า งกองพลทหารฯ ตั ดตรงถึ ง เกาะเมื อ งด า นทิ ศ ตะวันออก และสถานีรถไฟกรุงเกาตามลําดับ จะดวยเปนวัตถุประสงคหลักหรือผล พลอยไดก็ตาม การตัดถนนจากสถานีรถไฟผานกลางเกาะเมืองไปจนถึงกองพลทหาร ซึ่งอยูปลายสุดดานทิศตะวันตก ไดมีผลการอยางมากตอการกระจายความเจริญและ รองรั บ การพั ฒ นาที่ กํ า ลั ง จะเกิ ด ขึ้ น ใน “มณฑลกรุ ง เก า ” และ “จั ง หวั ด พระนครศรีอยุธยา” ในเวลาตอมาอยางมีนัยสําคัญ อยางนอยที่สุด การพัฒนาหรือการกําหนดโยบายของรัฐในอดีต สามารถ เป นเครื่อ งสะทอ นให เห็ น ความพยายามของภาครัฐ ที่จ ะทํา ให น โยบายตา งๆเกิ ด ประโยชนสูงสุดตอ “พื้นที่” ภายใตขอจํากัดที่เปนอยู ณ ชวงเวลานั้น และไดเปน เครื่องยืน ยัน ที่ดีที่สุดที่ทําใหเราไดเห็น ถึงความความลมเหลวบางประการของ รัฐ ในช ว งเวลาต อ มาที่ อ อกนโยบายโดยไม คํ า นึ ง ถึ ง ประโยชน สู ง สุ ด ของคนในพื้ น ที่ พระนครศรีอยุธยาดังเชน การยกยองและขึ้นทะเบียนอยุธยาในฐานะ “มรดกโลก” และหลั ง จากนั้ น ไม น าน กลั บ ออกนโยบายในการจั ด ตั้ ง “นิ ค มอุ ต สาหกรรม” ขึ้นบนพื้นที่ใกลเคียงอยางไมนาเชื่อ

เกื้อกูล ยืนยงคอนันต. (๒๕๒๙). ความเปลี่ยนแปลงภายในเกาะเมืองพระนครศรีอยุธยา ระหวาง พ.ศ.๒๔๓๘-๒๕๐๐. กรุงเทพฯ: สถาบันไทยคดีศึกษา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร.


สาร..สถาบันอยุธยาศึกษา I ๓๑

การวางเสนทางรถไฟสูเกาะเมืองอยุธยา แผนผังเสนทางรถไฟสูอยุธยา (๒๕๕๗). (แผนผัง). พระนครศรีอยุธยา: สถาบันอยุธยาศึกษา

บรรณานุกรม กระตาย อิศรางกูร ณ อยุธยา. (๒๕๐๘). นิราศลอนดอน และจดหมายเหตุ เรื่องราวทูตไทยไปประเทศอังกฤษในรัชกาลที่ ๔ ของหมอมราโชทัย. กรุงเทพฯ : คลังวิทยา. เกื้อกูล ยืนยงคอนันต. (๒๕๒๙). ความเปลี่ยนแปลงภายในเกาะเมือง พระนครศรีอยุธยา ระหวาง พ.ศ.๒๔๓๘-๒๕๐๐. กรุงเทพฯ: สถาบันไทยคดีศึกษา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร. เจาพระยาทิพากรวงศ. (๒๕๐๔). พระราชพงศาวดารกรุงรัตนโกสินทร รัชกาลที่ ๔ เลม ๑. พระนคร: องคการคาของคุรุสภา. ประกาศกระทรวงโยธาธิการ แผนกกรมรถไฟ. (๒๔๓๙, ๑๖ มีนาคม). ราชกิจจานุเบกษา . เลมที่ ๑๔ หนาที่ ๑๔-๑๖. อัลเฟรโด ริกัชชี. (๒๔๖๓). แบบพิมพเขียวสถานีรถไฟอยุธยา. ม.ป.ท.: การรถไฟ แหงประเทศไทย.


๓๒ I สาร..สถาบันอยุธยาศึกษา

ภาพเก าเล าอดีต พัฑร แตงพันธ * 38

พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล าเจ าอยู หัว เสด็จออกประทับ ณ รัตนสิงหาศน พระที่นั่งสรรเพชญ ปราสาท พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัว ทรงเสด็จบําเพ็ญ พระราชกุศล รัชมงคลที่พระราชวัง กรุงศรีอยุธยา ระหวางวันที่ ๒๙ พฤศจิกายน – ๓ ธันวาคม พ.ศ.๒๔๕๐ เนื่องในวโรกาสที่พระองค ทรงครองราชยสมบัติเปนระยะเวลา ๔๐ ป เทากับสมเด็จพระรามาธิบดีที่ ๒ แหงกรุง ศรีอยุธยา พระองคจึงทรง “เต็มพระราช หฤทัยจะใครทรงบําเพ็ญพระราชกุศล” อุทิศถวายสมเด็จพระรามาธิบดีที่ ๒ และพระ เจาแผนดินกรุงศรีอยุธยาทุกพระองค รวมทั้งพระเจากรุงธนบุรี * นักวิชาการศึกษา สถาบันอยุธยาศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา


สาร..สถาบันอยุธยาศึกษา I ๓๓

จดหมายเหตุอยุธยาศึกษา มกราคม - มีนาคม ๒๕๕๗

มกราคม วันขึ้นป ใหม ที่พระนครศรีอยุธยา มกราคม ๒๕๕๗ ช ว งเทศกาลป ใ หม มี ป ระชาชนเดิ น ทางเข า มาท อ งเที่ ย วในจั ง หวั ด พระนครศรี อ ยุ ธ ยาจํ า นวนมาก เพื่ อ กราบไหว สิ่ ง ศั ก ดิ์ สิ ท ธิ์ เ พื่ อ เป น สิ ริ ม งคล ทํ า ให ก ารจราจรหนาแน น โดยเฉพาะวั ด พนั ญ เชิ ง วรวิ ห าร วั ด ใหญ ชั ย มงคล วัดไชยวัฒนาราม.

กุมภาพันธ บรรยากาศงานตรุษจีน ๑ - ๖ กุมภาพันธ ๒๕๕๗ “งานตรุ ษ จี น กรุ ง เก า อยุ ธ ยามหา มงคล” จัดขึ้นที่บริเวณหนาสํานักงานเทศบาล นครพระนครศรีอยุธยา และถนนนเรศวรทั้ง สาย มี ก ารจั ด เวที ก ารแสดงกิ จ กรรมต า ง ๆ อยางสวยงาม โดยมีการประดับประดาโคมไฟ ตลอดสาย มี พิ ธี ไ หว เ ทพเจ า ๑๐๘ ศาลเจ า การประกวดมิสไชนีส การแสดงเชิดสิงโตและ มังกร การออกรานอาหารอรอยอยุธยาและมี ร า นจํ า หน า ยเสื้ อ ผ า และ สิ น ค า ต า ง ๆ บรรยากาศเปนไปอยางคึกคัก.

บรรยากาศเทศกาลตรุษจีน ในเขตเทศบาลนครพระนครศรีอยุธยา


๓๔ I สาร..สถาบันอยุธยาศึกษา

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู แทนราษฎร ๒ กุมภาพันธ ๒๕๕๗ ทามกลางกระแสทางการเมืองอันรอนแรง และมีการคัดคานการเลือกตั้งอยู ในหลายเขตของประเทศ แต ก ารเลื อ กตั้ ง สมาชิ ก สภาผู แ ทนราษฎรในจั ง หวั ด พระนครศรีอยุธยา เมื่อวันที่ ๒ กุมภาพันธ ๒๕๕๗ กลับเปนไปดวยความเรียบรอย โดยมี ผู ม าใช สิ ท ธิ ๓๑๙,๕๖๙ คน จากผู มี สิ ท ธิ ทั้ ง หมด ๖๒๘,๑๓๙ คน คิ ด เป น รอยละ ๕๐.๘๘

มีนาคม งานไหว ครูมวยไทยนายขนมต ม ๑๓ - ๒๑ มีนาคม ๒๕๕๗ จังหวัดพระนครศรีอยุธยารวมกับการทองเที่ยวแหงประเทศไทยสํานักงาน พระนครศรีอยุธยา จัดงานระลึกถึงวีรชนไทยนายขนมตม ประจําป ๒๕๕๗ ที่สนาม กีฬากลางจังหวัดพระนครศรีอยุธยา และพิธีไหวครู และครอบครูมวยที่วัดมหาธาตุ เพื่อรําลึกถึงนายขนมตมนักมวยไทยในประวัติศาสตร และสงเสริมการทองเที่ยวของ จังหวัด ซึ่งมีนักมวยตางชาติเขารวมกิจกรรมนี้เกือบ ๑,๐๐๐ คนจาก ๖๐ ประเทศ.

วันช างไทย ๑๓ มีนาคม ๒๕๕๗ ทุ ก วั น ที่ ๑๓ มี น าคมของทุ ก ป ซึ่ ง ถื อ เป น วั น ช า งไทย หมู บ า นช า ง เพนียดหลวง ต.สวนพริก จ.พระนครศรีอยุธยา พรอมดวยหนวยงานที่เกี่ยวของ จัด กิจกรรมการรําลึกถึง ชาง ซึ่งเปนสัตวสัญ ลักษณคูบานคูเมืองของไทย โดยมีพิธีไหว ศาลปะกํา ทําบุญอุทิศสวนกุศลใหกับชางที่ตาย และเลี้ยงอาหารชาง. สืบคนเหตุการณสําคัญของจังหวัดพระนครศรีอยุธยาไดที่ศูนยขอมูลอยุธยาศึกษา

งานจดหมายเหตุจังหวัดพระนครศรีอยุธยา สถาบันอยุธยาศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา


สาร..สถาบันอยุธยาศึกษา I ๓๕

อยุธยาศึกษาปริทัศน สุรินทร ศรีสังขงาม * 39

เวทีกลางแจ งสถาบันอยุธยาศึกษา : แนวคิดการออกแบบและแนวทางสร างสรรค เวทีกลางแจง สถาบันอยุธยาศึกษา กอสรางเมื่อ พ.ศ. ๒๕๔๗ เพื่อเปนเวที สําหรับจัดการแสดง ณ บริเวณลานวัฒนธรรมดานขางอาคารเรือนไทยของสถาบันฯ ไดดํ าเนิน การออกแบบตกแต ง ใหม เมื่ อเดือนธัน วาคม พ.ศ. ๒๕๕๖ เพื่ อเปน การ ปรั บ ปรุ ง รู ป ลั ก ษณ และเสริ ม บรรยากาศลานวั ฒ นธรรม ให มี เ อกลั ก ษณ ข อง “วัฒนธรรมอยุธยา” ยิ่งขึ้น * รองผูอ ํานวยการสถาบันอยุธยาศึกษา และอาจารยประจําสาขาศิลปกรรม คณะมนุษยศาสตร และสังคมศาสตร มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา.


๓๖ I สาร..สถาบันอยุธยาศึกษา

แนวคิดทางการออกแบบ “เงาสะทอนแหงวัฒนธรรมอยุธยา” กลาวคือฉากเวทีเปรียบเสมือนกําแพง พระนคร ที่รองรับเงาจากแสงตะวันแหงวัฒนธรรม ทอดผานอาคารสถาปตยกรรมอัน รุงเรือง ปรากฏเปนเงาเสมือนเมื่อครั้งกรุงศรีอยุธยาราชธานี เปนรองรอยแหงอุดมคติ และจินตนาการ แหงอดีตและวัฒนธรรมอยุธยา โครงสี ใชโครงสีลอแบบจากกําแพงพระนครฯ สีขาว เงาพาดผานสีเทา และประตูสี น้ําตาลแดง กอใหเกิดความรูสึกสงบและหยุดนิ่ง เพื่อใหเปนฉากรองรับการแสดง วัฒนธรรมอยางงดงาม การตกแตง ใชกระบวนการแบบจิตรกรรม สีอะคริลิคน้ําบนผนังซีเมนต *** ขอขอบคุณนักศึกษาวิชาศิลปกรรมที่รวมมือรวมใจสรางสรรคฉากเวทีจนสําเร็จ


สาร..สถาบันอยุธยาศึกษา I ๓๗

รอบรั้วเรือนไทย สายรุง กล่ําเพชร * 40

ระหว า งเดื อ นมกราคม - มี น าคม ๒๕๕๗ สถาบั น อยุ ธ ยาศึ ก ษา ได จั ด กิจกรรมตาง ๆ เพื่อเชิดชูและสงเสริมการประยุกตใชขอมูลทางวัฒนธรรมอยุธยาเพื่อ การพัฒนาสังคมอยางยั่งยืน อาทิ

กิจกรรมค ายเยาวชนอาสานําเที่ยวทางวัฒนธรรม วันที่ ๙ – ๑๐ มกราคม ๒๕๕๗

สถาบันอยุธยาศึกษาไดจัดกิจกรรมคายเยาวชนอาสานําเที่ยวทางวัฒนธรรม โดยมีวัตถุประสงคเพื่อฝกอบรมใหเยาวชนในทองถิ่นมีความรูเกี่ยวกับศิลปวัฒนธรรม อยุ ธ ยา เพื่ อ เสริ มสร า ง พื้ น ฐานสู วิ ช าชี พ มั ค คุ เทศก ท อง ถิ่ นขอ ง จั ง หวั ด พระนครศรีอยุธยา ซึ่ง เปนแหลง ทองเที่ยวทางดานวัฒนธรรมที่สําคัญ ของประเทศ โดยกิจกรรมครั้งนี้มีผูสนใจเขารวมอบรมเปนจํานวนทั้งสิ้น ๓๐ คน

การอบรมเชิงปฏิบัติการ “การวิจัยทางประวัติศาสตร ท องถิ่น” วันที่ ๘ - ๙ กุมภาพันธ ๒๕๕๗ สถาบั น อยุ ธ ยาศึ ก ษาได จั ด กิ จ กรรมอบรมเชิ ง ปฏิ บั ติ ก ารการวิ จั ย ทาง ประวั ติศาสตร ทองถิ่น กรณีศึ กษาจัง หวัดพระนครศรี อยุธ ยา ซึ่ ง ได รับเกียรติจาก ศาสตราจารย พิ เ ศษ ดร. ศรี ศั ก ร วั ล ลิ โ ภดม นั ก วิ ช าการด า นมานุ ษ ยวิ ท ยา บรรยายพิ เศษเรื่อ ง “ภู มิวัฒ นธรรม หัว ใจของการศึกษาประวัติ ศาสตรท องถิ่น ” รวมทั้งคุณสุดารา สุจฉายา นักวิชาการจากมูลนิธิเล็ก-ประไพ วิริยพันธ บรรยายเรื่อง “วิธีการเก็บขอมูลประวัติศาสตรทองถิ่น” และนายพัฑร แตงพันธ นักวิชาการประจํา สถาบั น อยุ ธ ยาศึ ก ษา ได บ รรยายเรื่ อ ง “ข อ มู ล เบื้ อ งต น เกี่ ย วกั บ ตลาดหั ว รอ และเกาะลอย” * เจาหนาที่บริหารงานทั่วไป สถาบันอยุธยาศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา


๓๘ I สาร..สถาบันอยุธยาศึกษา

กิจกรรมนี้ไ ดนําผูเขาอบรมลงสํารวจพื้นที่บริเวณตลาดหัวรอและเกาะลอย เพื่ อนํ า ขอ มู ลจากการสํ า รวจมานํา เสนอ โดยมี ศาสตราจารย พิ เศษ ดร. ศรีศั ก ร วัล ลิโ ภดม เป น วิท ยากรให คํา แนะนํา และขอ คิ ดเห็น ในการศึ ก ษาประวั ติศ าสตร ทองถิ่น พรอมกันนี้สถาบันอยุธยาศึกษายังไดเชิญชวนผูเขาอบรม รวมเขียนบทความ ดา นประวัติ ศาสตรท องถิ่น เพื่ อตี พิม พล งวารสารอยุธ ยาศึ กษา อัน เป น การสร า ง เครือขายทางวิชาการระหวางสถาบันอยุธยาศึกษากับสถาบันการศึกษาตาง ๆ ตอไป

การอบรมหลักสูตรระยะสั้นงานศิลป ถิ่นกรุงเก า (ครั้งที่ ๒) เรื่องภูมิป ญญาจากงานแทงหยวก วันที่ ๑ มีนาคม ๒๕๕๗

สถาบันอยุธยาศึกษา จัดอบรมหลักสูตรระยะสั้นเรื่องภูมิปญญาจากงานแทง หยวก เพื่อเปนการอนุรักษสืบสานมรดกทางวัฒนธรรมและภูมิปญญาของชาติ โดยมี อาจารยสุวิทย ชูชีพ ภูมิปญญาแทงหยวกรุนสุดทาย ยานวัดปาโค เปนวิทยากรในครั้ง นี้ กิจกรรมครั้งนี้มีผูสนใจเขารวมอบรมเปนจํานวนทั้งสิ้น ๖๐ คน

โครงการอบรมพัฒนาครูผู สอนศิลปะ (ทัศนศิลป ) วันที่ ๖ - ๘ มีนาคม ๒๕๕๗

สถาบันอยุธยาศึกษาไดจัดโครงการอบรมพัฒนาครูผูสอนศิลปะ (ทัศนศิลป) ให แ ก ค รู ที่ ส อนทั ศ นศิ ล ป ในระดั บ ประถมศึ ก ษา และมั ธ ยมศึ ก ษา ซึ่ ง มี วุ ฒิ ท าง การศึกษา สาขาทัศ นศิ ลป หรื อสาขาศิ ลปกรรม จํ านวน ๕๐ คน ณ หอ งประชุ ม ตนโมก มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา โดยวัตถุประสงคของการจัดงานเพื่อ พัฒนาครูผูสอนทัศนศิลป ใหมีความรูมีทักษะ และเจตคติที่ดีในการสอนศิลปะเห็น คุณคาและความงามของศิลปะดานทัศนศิลป


สาร..สถาบันอยุธยาศึกษา I ๓๙

การจัดประชุม ร างเกณฑ การสร างมาตรฐานด านการสร างสรรค ผลงานทาง ดนตรีและนาฏศิลป วันที่ ๑๐ มีนาคม ๒๕๕๗

สถาบัน อยุธยาศึกษา ไดจัดประชุม รางเกณฑการสรางมาตรฐานดานการ สรางสรรคผลงานทางดนตรีและนาฏศิลป ณ หองประชุมสถาบันอยุธยาศึกษา โดย ไดรั บเกีย รติ จาก ดร.สุข สัน ติ แวงวรรณ หั วหนา ภาควิ ชานาฏศิล ปไ ทย วิ ทยาลั ย นาฏศิล ปอางทอง มาเปนวิ ทยากรในครั้ ง นี้ โดยไดมีก ารแลกเปลี่ย นความคิดเห็ น ระหวางผูเขารวมประชุม และมีขอสรุป คือ กําหนดใหสรางเกณฑมาตรฐานสําหรับ การแสดงพื้ น บ า นภาคกลาง “เพลงเรื อ ” โดยสถาบั น อยุ ธ ยาศึ ก ษาจะได นํ า รายละเอียดและขอสรุปจากการประชุมในครั้ง นี้ นําเสนอในการประชุมครั้ง ตอไป ในวันที่ ๒๐ มีนาคม ๒๕๕๗ ณ หองประชุมตนโมก อาคารบรรณราชนครินทร

การอบรมเชิงปฏิบัติการ “ทูตวัฒนธรรมท องถิ่น” วันที่ ๑๓ – ๑๔ มีนาคม ๒๕๕๗

สถาบันอยุธยาศึกษาไดจัดอบรมเชิงปฏิบัติการ “ทูตวัฒนธรรมทองถิ่น” โดย มีวัตถุประสงคเพื่อสงเสริมการเรียนรูดานวัฒนธรรมทองถิ่นอยุธยา สงเสริมการบูรณา การดานการสืบสานภูมิปญ ญาทองถิ่น รวมทั้ง เปนการสรางเครือขายเฝาระวังทาง วัฒนธรรมของจังหวัดพระนครศรีอยุธยา ตลอดจนเปนการปลูกจิตสํานึกใหเยาวชน และบุคลากรในทองถิ่นไดตระหนักในคุณคาของความงามตามวิถีไทย กิจกรรมครั้งนี้ มีผูสนใจเขารวมอบรมเปนจํานวนทั้งสิ้น ๕๐ คน


40 I สาร..สถาบันอยุธยาศึกษา

กิจกรรมของสถาบันอยุธยาศึกษา เมษายน - มิถุนายน ๒๕๕๗ วันที่ ๒-๔ เมษายน ๒๕๕๗ ๒๖ เมษายน ๒๕๕๗ ๑๕ พฤษภาคม ๒๕๕๗

กิจกรรม

สถานที่

กิจกรรมอนุรักษสืบสานศิลปวัฒนธรรมไทย (วันอนุรักษมรดกไทย)

สถาบันอยุธยาศึกษา

กิจกรรมอบรมหลักสูตรระยะสั้นงานศิลปถิ่น กรุงเกา เรื่อง เครื่องหอม

สถาบันอยุธยาศึกษา

กิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การจัดการ สภาพแวดลอมทางวัฒนธรรมนคร ประวัติศาสตรพระนครศรีอยุธยา

สถาบันอยุธยาศึกษา

ขอเชิญผู สนใจเสนอบทความ เพื่อตีพิมพ ในวารสารอยุธยาศึกษา ฉบับที่ ๖ / ๒๕๕๗ ขอกําหนดผลงานวิชาการ บทความทางวิชาการ มีเนื้อหาเกี่ยวกับจังหวัดพระนครศรีอยุธยา ในชวงมณฑลกรุงเกา, รวมสมัย หรือประวัติศาสตรทองถิ่น โดยเปนบทความที่ยังไมเคยตีพิมพเผยแพรมากอน บทความ มีค วามยาวพร อมภาพประกอบ ไม เ กิน ๑๕ หน า กระดาษ A4 ส ง ตน ฉบั บ บทความภายใน วันที่ ๑ พฤษภาคม ๒๕๕๗ และตนฉบับจะตองผานการประเมินคุณภาพโดยผูทรงคุณวุฒิ สอบถามข อมูล เพิ่มเติมไดที่ คุ ณพัฑร แตงพันธ ฝา ยวิช าการ สถาบันอยุธยาศึกษา มห าวิ ท ยาลั ยร าช ภั ฏ พร ะ นค ร ศรี อ ยุ ธ ยา โ ทร ศั พ ท / โ ทร ส าร ๐๓๕-๒๔๑-๔๐๗ E-mail: ayutthayastudy@yahoo.co.th



Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.