สุขศึกษา ม.1

Page 69

กว่าเกณฑ์และสติปัญญาการเรียนรู้ซึ่งมักพบในชนบท โดยเฉพาะในถิ่นทุรกันดาร สาเหตุส�ำคัญคือ ขาด ความรู้ และมีความยากจน 3. Malnutrition and stunting ภาวะที่ร่างกายได้รับสารอาหารน้อยไปจากปกติส่งผล ให้การเจริญเติบโตทางด้านสรีระเจริญไม่เต็มที่จนก่อให้เกิดการแคระเกร็นของร่างกายขึ้น หรือตัวเตี้ยได้ 4. Obesity and other nutrition related chronic diseases ภาวะโภชนาการเกิน ที่ก่อให้เกิดโรคอ้วนและน�ำมาซึ่งโรคเรื้อรังต่างๆ เช่น โรคหลอดเลือดหัวใจ โรคความดันโลหิตสูง โรคเกาต์ โรคมะเร็งเต้านม, มดลูกในผู้หญิงและมะเร็งต่อมลูกหมากหรือมะเร็งล�ำไส้ใหญ่ในผู้ชาย นิ่วในถุงน�้ำดี ฟัน ผุ เป็นต้น รวมทั้งการก่อให้เกิดโรคทั้งทางร่างกายและทางจิตใจด้วย 5. Nutrition in relation to early pregnancy การที่ตั้งครรภ์เมื่ออยู่ในวัยรุ่นของหญิง พบภาวะขาดอาหารเนื่องจากขาดความรู้ท�ำให้รับประทานอาหารไม่เหมาะสมซึ่งจะส่งผลให้ผลิตน�้ำนมได้ น้อยและได้ทารกที่มีน�้ำหนักตัวต�่ำกว่าเกณฑ์ เป็นต้น 3.2 ภาวะน�้ำหนักเกินและโรคอ้วน การได้รับปริมาณอาหารที่มากเกินพอ การเคลื่อนไหวในการท�ำกิจกรรมต่างๆ ลดลง น�ำไป สู่ความเสี่ยงในการเกิดโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง ระดับโคเลสเตอรอลในเลือดสูง ปัญหาเกี่ยวกับ ข้อต่อและสุขภาพไม่ดี จากการศึกษาพบว่าถ้ามีภาวะน�้ำหนักเกินในวัยรุ่น ก็จะพบต่อเนื่องในวัยผู้ใหญ่ได้ และเป็นปัจจัยบ่งชี้ของการเกิดโรคต่างๆ ภาวะอวนเปนปจจัยเสีย่ งทีส่ าํ คัญตอการเกิดโรคไมต ดิ ตอ เรือ้ รัง ไดแ ก โรคเบาหวาน โรคหัวใจ ขาดเลือด หลอดเลือดสมอง เป็นต้น จากผลการศึกษาติดตามเด็กอวนไประยะยาว พบว่าหนึ่งในสามของ เด็กทีอ่ ว นในวัยกอ นเรียน และครึง่ หนึง่ ของเด็กอว นในวัยเรียนจะยังคงอ้วนเมือ่ เปน ผูใ หญ โดยเฉพาะวัยร ุน ที่อวนโอกาสที่จะเปนผูใหญอวนยิ่งสูงมาก กลายเปนปญหาสุขภาพที่บั่นทอนคุณภาพชีวิตและเปนภาระ คาใชจายในการรักษาพยาบาลในระยะยาว 3.3 วัยรุ่นที่เล่นกีฬา วัยรุน่ ทีเ่ ล่นกีฬาต้องการพลังงานสูงเป็นพิเศษ ซึง่ บางกรณีอาจจะส่งผลเสียแก่การเจริญเติบโต และสภาพจิตใจจนอาจท�ำให้มพี ฤติกรรมการบริโภคทีผ่ ดิ ปกติของวัยรุน่ กลุม่ นีไ้ ด้ และปริมาณแคลเซียมและ ธาตุเหล็กที่อาจไม่เพียงพอ ดังนั้นอาหารที่เลือกรับประทานควรได้รับการดูแลเป็นพิเศษว่าครบถ้วน เพียง พอและสร้างสมดุลแก่รา่ งกาย ควรเน้นเรือ่ งปริมาณคาร์โบไฮเดรตเพือ่ ให้ได้พลังงานและการดืม่ น�้ำ ทีเ่ พียง พอในช่วงเล่นกีฬา อาหารว่างที่รับประทานควรย่อย และสามารถดูดซึมได้ง่าย ควรมีการเสริม ทั้งปริมาณ แคลเซียมส�ำหรับสุขภาพกระดูกที่แข็งแรงและปริมาณธาตุเหล็กซึ่งในนักกีฬาหญิงถ้ารับไม่เพียงพออาจ กระทบต่อรอบเดือนได้

62


Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.